บทที่ 3 Basic Of Physiological

44
Face book : Tuk Diving อาจารย์ ฐาพล สมสกุล (.ตุ ๊ก)

description

 

Transcript of บทที่ 3 Basic Of Physiological

Page 1: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

Face book : Tuk Diving

อาจารย์ ฐาพล สมสกุล (อ.ตุ๊ก)

Page 2: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

ความสาํคญัของการศึกษาสรีรวิทยา

พฤติกรรมของมนุษยม์ีความสมัพนัธ์

กบัระบบสรีรวิทยาโดยตรง

ชีววิทยาและจิตวิทยาจึงเป็นศาสตรท์ี่เกี่ยว

สมัพนัธก์นั

ระบบของอวยัวะมีการทาํงานอย่างสมดลุกนั

ระบบภายในร่างกาย

กบัสิ่งแวดล้อมภายนอก ต่างกม็ีอิทธิพลต่อกนั

Page 3: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

๑. ระบบประสาท (Nervous System)

ควบคมุอวยัวะ เป็นศนูยก์ลางความรู้สึกนึกคิด

๒. ระบบต่อม (Gland System)

มีผลต่อการเติบโต พฤติกรรมและบคุลิกภาพ

๓. ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System)

การเคลื่อนไหวของร่างกาย

ระบบการทาํงานของร่างกาย

ที่ส่งผลต่อพฤติกรรม

Page 4: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

แบง่เป็น 2 ส่วน ได้แก่

๑. เซลลป์ระสาท(Nerve Cell) ประกอบด้วย

Axon ใยส่งความรู้สึกออกจาก cell body

Dendrite ใยรบัความรู้สึกเข้าสู่ cell body

๒. เส้นประสาท(Motor Nerve Fibers) ใยประสาท

ทาํหน้าที่นําสญัญาณจาก receptors เข้าสู่ระบบ

ประสาทส่วนกลาง

โครงสร้างของระบบประสาท

Page 5: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

ภาพที่ แสดงส่วนประกอบของเซลล์ได้แก่ ตวัเซลล์ เดนไดรต์ แอกซอน และ

ซแินปส์

Page 6: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

รวบรวมข้อมลู ทัง้จากภายนอกและภายใน

ร่างกาย (sensory function) นําส่งข้อมลูไปยงั

ระบบประสาทกลางเพื่อทาํการวิเคราะหข์้อมลู

เพื่อให้มีการตอบสนองที่เหมาะสมและสัง่งาน

ไปยงัระบบต่างๆเช่น กล้ามเนื้อ ต่อมต่าง ๆ หรือ

อวยัวะอื่นๆ ให้มีการตอบสนอง

ระบบประสาทแบง่เป็น ๒ ประเภท

๑. ระบบประสาท (Nervous System)

Page 7: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

๑. ประสาทส่วนกลาง Central Nervous System

๒. ประสาทส่วนปลาย Peripheral Nervous System

สมอง (Brain)

ไขสันหลัง (Spinal Cord)

ประสาทรับสัมผัส (Somatic System)

ประสาทอัตโนมัต ิ

ประเภทระบบประสาท (Nervous System)

Page 8: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

๒. ประสาทส่วนปลาย Peripheral Nervous System

๒.๑ ระบบประสาทรับสัมผัส (Somatic System)

๒.๒ ระบบประสาทอัตโนมัต ิแบ่งเป็น ๒ ระบบ

๒.๒.๑ ระบบประสาทซมิพาเธตกิ

๒.๒.๒ ระบบประสาทพาราซมิพาเธตกิ

ประเภทระบบประสาท (Nervous System)

Page 9: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

แบ่งเป็น 3 ส่วน

1. Forebrain

2. Midbrain3. Hindbrain

1. Central Nervous System ประเภทระบบประสาท

Page 10: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

1. Forebrain ประกอบด้วย1.1 Cerebrum มีขนาดใหญ่ที่สุด มีรอยหยัก

เป็นจาํนวนมาก แบ่งเป็น ๒ ซีก คือ ซ้าย ขวา

1.2 Thalamus

1.3 Hypothalamus

1.4 Limbic system

1. Central Nervous System ประเภทระบบประสาท

Page 11: บทที่ 3  Basic Of  Physiological
Page 12: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

2. Midbrain เชื่อมกับ Cerebrum เป็นสถานีรับส่ง

ความรู้สึก ไปยังสมองส่วนหน้า

3. Hindbrain

3.1 Cerebellum ประสานการทาํงานของ

กล้ามเนือ้ต่าง ๆ เช่น มือและขาประสานกัน

3.2 Medulla ตดิไขสันหลัง ควบคุมระบบ

ประสาทอัตโนมัต ิเช่น หายใจ ควบคุมความดัน

3.3 Pons

1. Central Nervous System Brainประเภทระบบ ฯ

Page 13: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

การทาํงานของสมอง

Page 14: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

เป็นทางเดนิของกระแสประสาทที่ตดิต่อระหว่าง

ไขสันหลังและสมอง มีความยาวประมาณ ๑๘ นิว้

ไขสันหลัง บรรจุอยู่ในโพรงกระดกูสันหลัง มี

ทัง้หมด ๓๑ ปล้อง ทาํหน้าที่รับส่งความรู้สึกผ่านไปยังสมอง เป็น

ศูนย์กลางของระบบปฏกิริิยาสะท้อน(Reflex action)

1.Central Nervous System

ไขสันหลัง (Spinal Cord)

ประเภทระบบประสาท

Page 15: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

ภาพ

แสดงระบบประสาท

ส่วนกลาง

Page 16: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

๒.๑ ระบบประสาทรับสัมผัส (Somatic System)

๒.๒ ระบบประสาทอัตโนมัต ิแบ่งเป็น ๒ ระบบ

๒.๒.๑ ระบบประสาทซมิพาเธตกิ

๒.๒.๒ ระบบประสาทพาราซมิพาเธตกิ

ประเภทระบบประสาท 2. Peripheral Nervous System

Page 17: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

ทาํหน้าที่รับและนําความรู้สึกเข้าสู่ระบบประสาท

ส่วนกลางไปยังหน่วยปฏบิตังิาน ซึ่งประกอบด้วย

หน่วยรับความรู้สึกและอวัยวะรับสัมผัส

๒.๑ ระบบประสาทรับสัมผัส (Somatic)

๒.๒ ระบบประสาทอัตโนมัต ิแบ่งเป็น ๒ ระบบ

2 .Peripheral Nervous Systemประเภทระบบประสาท

Page 18: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

2. Peripheral Nervous System

๒.๑ ระบบประสาทรับสัมผัส (Somatic)

อยู่ภายใต้อาํนาจจติใจ ควบคุมกล้ามเนือ้

และรับสัมผัสสิ่งเร้า ซึ่งแบ่งเป็น ๒ ลักษณะ

๑. อวัยวะสัมผัสเฉพาะด้าน ตา ห ูจมูก ลิน้

๒. อวัยวะสัมผัสทั่วไป คือ การสัมผัสทาง

ผิวหนัง หรือความรู้สึกต่าง ๆ จากการสัมผัส

ระบบนีม้ีอทิธิพลต่ออารมณ์ เจตคติ

ประเภทระบบประสาท

Page 19: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

๑. นัยน์ตา (Eye)

- ตารับสัมผัสสิ่งเร้าที่มีลักษณะเป็นคลื่นแสงที่

กระทบวัตถุ แล้วสะท้อนเข้าสู่นัยน์ตา

- เซลประสาทที่ตา จะเปลี่ยนคลื่นแสงเป็น

กระแสประสาทส่งไปยังสมองส่วนที่ควบคุมการ

มองเหน็

2 .Peripheral Nervous System

๒.๑ ระบบประสาทรับสัมผัส (Somatic)

ประเภทระบบประสาท

Page 20: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

๑.๑ กระจกตา (cornea) เป็น

ส่วนหนึ่งของตาดาํ ทาํให้แสง ที่

สะท้อนจากวัตถุผ่านเข้าสู่เลนส์

ตา (lens) ไปตกที่จอตา (retina)

๑.๒ ม่านตา (iris) ประกอบด้วยเซลล์เมด็สีทาํให้ม่านตาของ

มนุษย์มีสีที่แตกต่างกัน

๑.๓ แก้วตาหรือเลนส์ตา (lens) มีหน้าที่รับแสงที่สะท้อนจาก

วัตถุ แล้วโฟกัสภาพที่ได้รับมา เพื่อให้ไปตกที่จอรับภาพ

ถ้าวัตถุอยู่ไกล เลนส์จะปรับตัวให้มีลักษณะบาง

ถ้าวัตถุอยู่ใกล้ เลนส์กจ็ะนูนและหนา

Page 21: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

การได้ยนิเสียงของคนเราจะเกดิขึน้เมื่อวัตถุเกดิ

การสั่นสะเทอืนและส่งเป็นคลื่นเสียงออกมาเข้า

สู่ช่องห ูและสมองจงึแปลความหมายอีกครัง้ว่า

เสียงที่ได้ยนินัน้เป็นเสียงอะไร

๒. ห ู(Ear)

2.Peripheral Nervous System

๒.๑ ระบบประสาทรับสัมผัส (Somatic)

ประเภทระบบประสาท

Page 22: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

* ส่วนประกอบสาํคัญของห ู*

๑. หชูัน้นอก (external ear)

-ใบห ูช่องห ูและชัน้ใน

สุดได้แก่เยื่อแก้วห ู

- เมื่อคลื่นเสียงผ่านเข้า

ช่องหไูปกระทบเยื่อแก้วห ู

ทาํให้เยื่อแก้วหเูกดิการ

สั่นสะเทอืนเพื่อส่งคลื่น

เสียงนัน้ไปยังหชูัน้ต่อไป

Page 23: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

* ส่วนประกอบสาํคัญของห ู*

๒. หชูัน้กลาง (middle ear)

ช่องเลก็ๆ ตดิกับลาํคอ

เรียกว่าอูสตาเชียน (Eustachian)

ทาํหน้าที่ปรับความกดดนัของ

อากาศระหว่างภายในกับ

ภายนอกหใูห้เท่ากัน

ประกอบด้วยกระดกู ๓ ชิน้ทาํ

หน้าที่รับคลื่นเสียงที่ส่งมาจาก

เยื่อแก้วหเูพื่อส่งต่อไปยังหชูัน้ใน

Page 24: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

* ส่วนประกอบสาํคัญของห ู*

๓. หชูัน้ใน (inner ear)

คล้ายหอยโข่ง ประกอบด้วย

ของเหลวและเส้นประสาท คลื่น

เสียงจะทาํให้ของเหลวกระเพื่อม

เป็นคลื่นซึ่งจะมีเซลล์ประสาทรับ

ความรู้สกึทาํหน้าที่เปลี่ยนคลื่น

เสียงเป็นกระแสประสาท เพื่อ

ส่งไปยังสมอง ทาํให้เกดิการได้

ยนิเสียง

Page 25: บทที่ 3  Basic Of  Physiological
Page 26: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

หตูงึ หอูือ้ หหูนวก อาจเกดิจากการได้รับอุบตัเิหตุ

หรือเป็นผลจากเชือ้ไวรัสบางชนิดที่ทาํให้เยื่อแก้วหถูกู

ทาํลาย จนไม่สามารถส่งคลื่นเสียงไปยังหชูัน้กลางและ

ชัน้ในได้

การได้รับความสั่นสะเทอืนจากคลื่นเสียงที่มีความ

ดงัเกนิกว่าระดบั 90 เดซเิบล เป็นเวลานานเกนิไป

เมื่อบุคคลอายุมากขึน้ ทาํให้การได้ยนิบกพร่อง

Page 27: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

การได้กลิ่นเกดิจากการทาํ

ปฏกิริิยาทางเคมีของสิ่งเร้า

ภายในช่องจมูกจะมีขน

จมูกประกอบไปด้วยเยื่อ

บางๆ และมีเซลล์ประสาท

เมื่อกลิ่นถกูสูดเข้าไปเซลล์

ประสาทจะแปลงกลิ่นให้เป็น

กระแสประสาทเพื่อส่งไปยัง

สมองเขตควบคุมการได้กลิ่น

ทาํให้รู้สกึว่าได้กลิ่น

๓. จมูก (nose)

๑.๒.๑ ประสาทรับสัมผัส

Page 28: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

รสพืน้ฐานมีอยู่ ๔ รส

เคม็ หวาน เปรีย้ว ขม

ตุ่มรับรสเลก็ ๆ บน

ลิน้เรียกว่า พาพลิลา

ภายในจะมีเซลล์ประสาท

คล้ายเส้นขนมัดรวมกัน

เป็นตุ่ม ตายและเกดิใหม่

ได้ตลอดเวลา และจะมี

ปริมาณลดลงเรื่อยๆ เมื่อ

อายุมากขึน้

๔. ลิน้ (Gustatory)

Page 29: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

เป็นอวัยวะรับสัมผัสที่รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าคือ แรงกด

ความร้อน ความเยน็ ความเจบ็ปวด

ใต้ผิวหนังประกอบด้วยเซลล์ประสาทรับความรู้สึก ซึ่งจะมี

มากน้อยไม่เท่ากัน จงึทาํให้แต่ละส่วนของร่างกายจงึมีจุดที่ไว

ต่อการรับสัมผัสได้ดีแตกต่างกัน

บริเวณปลายนิว้และริมฝีปากจะไวต่อการรับสัมผัส

มากกว่าบริเวณฝ่าเท้าและหลังเท้า

แบ่งออกได้เป็น 3 ชัน้ คือ

๒.๑ ระบบประสาทรับสัมผัส (Somatic)

Page 30: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

๑. ผิวหนังชัน้นอกสุดหรือ

หนังกาํพร้า (Epidermis)

ประกอบด้วยเซลล์ผิวหนัง

ที่เรียงตวัซ้อนกันเป็นชัน้ๆ

โดยเซลล์ชัน้บนสุดจะตาย

และหลุดลอกออกไปก่อน

เซลล์ใหม่ชัน้ล่างจงึเลื่อน

ขึน้มาแทนที่ ผิวหนัง

ชัน้นอกนีย้ังประกอบด้วย

เซลล์เมด็สี

Page 31: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

๒. ผิวหนังชัน้ใน (Dermis)

หรือหนังแท้ ประกอบไป

ด้วยเนือ้เยื่อ เส้นใย เส้น

โลหติ เส้นปลายประสาท

ต่อมเหงื่อ รูขุมขน และต่อม

ไขมัน

Page 32: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

๓. ชัน้ไขมัน (Sub

Cuteness Fat)

เป็นชัน้ล่างสุด อยู่ตดิ

กับส่วนที่เป็นกล้ามเนือ้

ชัน้นีป้ระกอบไปด้วย

ไขมัน พงัผืด เส้นเลือด

ฝอยในบางส่วนของ

ร่างกาย

Page 33: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

2.Peripheral Nervous System

๒.๒ ระบบประสาทอัตโนมัติ

ทาํงานนอกอาํนาจจติใจ คือทาํงานอัตโนมัต ิ

มีศูนย์กลางควบคุมอยู่ในสมองและไขสันหลัง

แบ่งเป็น ๒ ระบบย่อย

๒.๒.๑ ระบบประสาทซมิพาเธตกิ

๒.๒.๒ ระบบประสาทพาราซมิพาเธตกิ

ประเภทระบบประสาท

Page 34: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

สมอง

Brian

ไขสันหลงั

Spinal cord

ระบบประสาทอตัโนมตัิ

Autonomic NS

ระบบประสาทสัมผสั

Somatic NS

Parasympathetic NS

การทาํงานของกล้ามเนือ้เรียบ

กล้ามเนือ้หัวใจ และต่อมต่าง ๆ

Sympathetic NS

ฮอร์โมน อะดรีนาลนี

ความดนัโลหิต

ระบบประสาทส่วนนอก

Peripheral nervous system

ระบบประสาทส่วนกลาง

Central nervous system

ระบบประสาท

Nervous system

ภาพแสดงโครงสร้างของระบบประสาททีเ่ป็นกลไกสําคญัของพฤตกิรรม

Page 35: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

ประกอบด้วยเซลล์พเิศษที่สามารถสร้างสาร

เหลวที่มีคุณสมบตัทิางเคมี เพื่อรักษาสภาพสมดุล

ของร่างกาย มีอิทธิพลต่อการเตบิโต พฤตกิรรมและ

บุคลิกภาพ ต่อมในร่างกายแบ่งเป็น ๒ ชนิด

๒. ระบบต่อม (Glands)

ต่อมมีท่อ

ต่อมไร้ท่อ

Page 36: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

๒.๑ ต่อมมีท่อ๒. ระบบต่อม (Glands)

ผลิตสารเคมีที่เป็นของเหลว ไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

ต่อมมีท่อมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด โดยแต่ละต่อมทาํหน้าที่

ผลิตสารต่างชนิดกัน ได้แก่

๑ ต่อมนํา้ลาย

๒ ต่อมเหงื่อ

๓ ต่อมนํา้ตา

๔ ต่อมใต้ผิวหนัง

๕ ต่อมนํา้นม

Page 37: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

๒.๒ ต่อมไร้ท่อ๒. ระบบต่อม

ไม่มีท่อผลติสารเคมี อาศัยการดดูซมึผ่านกระแสหติ

โดยตรง สารเคมีนีเ้รียกว่า ฮอร์โมน ซึ่งมีอทิธิพลต่อ

ร่างกายและพฤตกิรรมอย่างมาก ฮอร์โมนจะรักษาความ

สมดุลของร่างกายให้คงที่ โดยมีหน้าที่สาํคัญ

๑. ควบคุมระบบพลังงานของร่างกายรักษา

๒. ควบคุมปริมาณนํา้และเกลือแร่ในร่างกาย

๓. ควบคุมการเจริญเตบิโตของร่างกาย

๔. ควบคุมระบบสืบพนัธ์และต่อมนํา้นม

Page 38: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

การทาํงานของกล้ามเนือ้ ต้องสัมพนัธ์กับระบบ

อื่น ๆ

ระบบกล้ามเนือ้ เป็นระบบหลักที่ช่วยให้ร่างกาย

เกดิการเคลื่อนไหว

กล้ามเนือ้ของร่างกายแบ่งได้เป็น ๓ ประเภท

๓.๑ กล้ามเนือ้หวัใจ (Cardiac Muscles)

๓.๒ กล้ามเนือ้ลาย

๓.๓ กล้ามเนือ้เรียบ

๓. ระบบกล้ามเนือ้

Page 39: บทที่ 3  Basic Of  Physiological
Page 40: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

เป็นกล้ามเนือ้พเิศษที่จะพบเฉพาะบริเวณ

หวัใจเท่านัน้

การทาํงานของกล้ามเนือ้หวัใจจะถูกควบคุม

โดยระบบประสาทอัตโนมัต ิปฏบิตัติามคาํสั่งของ

สมอง

ทาํงานด้วยการยืดและหดตวัเพยีงอย่างเดยีว

เพื่อสูบฉีดโลหติ และจะหดตวัเป็นจงัหวะเดียวกัน

ไปตลอดชีวติ อยู่นอกอาํนาจจติใจ

๓.๑ กล้ามเนือ้หวัใจ (Cardiac Muscles)

Page 41: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

ประกอบด้วยเส้นใยเลก็ ๆ ปรากฏอยู่บริเวณแขน

และขาเป็นส่วนใหญ่

คนที่ออกกาํลังเสมอเส้นใยกล้ามเนือ้จะโตขึน้ และ

หนาขึน้ แต่จาํนวนไม่เพิ่มขึน้

มีหน้าที่เคลื่อนไหวร่างกายที่ข้อต่อต่างๆ ควบคุม

การขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ มีประมาณ ๔๐%

อยู่ในอาํนาจจติใจภายใต้การควบคุมของระบบ

ประสาทส่วนกลาง

๓.๒ กล้ามเนือ้ลาย (Striated Muscles)

Page 42: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

บุอยู่ที่อวัยวะต่างๆภายในของร่างกายมีหน้าที่

ควบคุมการทาํงานของอวัยวะย่อยอาหารอวัยวะสืบ

พนัธ์ หลอดลม หลอดอาหาร ลาํไส้ มดลูก

กระเพาะปัสสาวะ เป็นต้น

อยู่นอกอาํนาจจติใจแต่อยู่ภายใต้การควบคุม

ของระบบประสาทอัตโนมัติ

๓.๓ กล้ามเนือ้เรียบ (Smooth Muscles)

Page 43: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

สรีรวทิยา เป็นการศกึษาการทาํงานของระบบ

ต่างๆ ในร่างกายของมนุษย์ที่ส่งผลต่อพฤตกิรรม

ซึ่งระบบต่าง ๆ จะต้องทาํงานประสาน

สัมพนัธ์กัน

การที่ร่างกายจะแสดงพฤตกิรรมใด ๆ ได้นัน้

จะต้องอาศัยระบบกล้ามเนือ้ซึ่งจะช่วยให้ร่างกาย

เกดิการเคลื่อนไหว

Page 44: บทที่ 3  Basic Of  Physiological

แต่การที่ร่างกายจะรับรู้ถงึสิ่งเร้าต่างๆ ที่มา

กระตุ้นแล้วเกดิการสั่งการให้กล้ามเนือ้หดและ

คลายตวั เพื่อแสดงปฏกิริิยาตอบสนองต่อสิ่งเร้า

ได้นัน้จาํเป็นต้องอาศัยระบบประสาทเป็นตวัสั่งการ

ฮอร์โมนที่ถูกผลิตจากต่อมไร้ท่อทัง้หลาย จะ

ช่วยให้การทาํงานของร่างกายเป็นไปตามปกติ

การแสดงพฤตกิรรมของมนุษย์ทัง้หลายจะ

เป็นเช่นไร ส่วนหนึ่งมาจากความสมบรูณ์ หรือ

ความบกพร่องในการทาํงานของระบบทัง้หลาย