Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู...

36
แบบจําลองกระบวนการสื่อสาร Communication Arts

Transcript of Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู...

Page 1: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

แบบจําลองกระบวนการสื่อสาร

Communication Arts

Page 2: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

แบบจําลองกระบวนการสื่อสาร หมายถึง

การอธิบาย ความจริงหรือขอเท็จจริงอยางงาย โดยใชรูปแสดง

องคประกอบและความสัมพันธขององคประกอบเหลาน้ัน(McQuail,

& Windahl,1981)

ความพยายามในการสรางหรือทําใหเห็นถึงความสัมพันธ

ของสิ่งของ หรือแรงดั ยที่กําลังศึกษาในรูปของสัญลักษณ ภาพ หรือ

สิ่งที่มีตัวตนมองเห็นได(Barnlund อางถึงใน ธนวดี บุญลือ, 2546,

477)

สรุป การใชสัญลักษณเพ่ืออธิบายถึงกระบวนการ โครงสราง

หนาที่ และความสัมพันธขององคประกอบตาง ๆ ในกระบวนการ

ส่ือสารซึ่งมีความเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงอยางตอเน่ืองใหเห็น

เปนรูปธรรมที่ชัดเจนข้ึน

ความหมายของ “แบบจําลองกระบวนการส่ือสาร”

Page 3: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

1. แบบจําลองชวยใหผูศึกษาสามารถรวบรวมความคิด

กําหนดคําถามในการวิจัย และคาดเดาหรือทํานายเหตุการณ

ตาง ๆ ในการศึกษากระบวนการสื่อสารไดชัดเจนยิ่งขึ้น

ประโยชนของแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

Page 4: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

2. แบบจําลองทําหนาที่อธิบายธรรมชาติของการส่ือสาร

เน่ืองจากการส่ือสารมีลักษณะเปนพลวัต (dynamic) มีการ

เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยางตอเน่ืองตลอดเวลา ไมหยุดน่ิง

และเปนนามธรรมจับตองไมได

Shramm model

แบบจําลองสรางข้ึนเพ่ือเลียนแบบปรากฏการณการส่ือสาร

ที่เกิดข้ึนจริงเพื่อการอธิบายใหเขาใจไดงายข้ึน

ประโยชนของแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

Page 5: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

3 . แบบจําลองชวยให ผู ศึกษาเขาใจองคประกอบ

และความสัมพันธขององคประกอบแตละองคประกอบใน

กระบวนการสื่อสารไดชัดเจนขึ้น

4 . แ บ บ จํ า ล อ ง ช ว ย ใ ห ผู ศึ ก ษ า กํ า ห น ด ข อ บ เ ข ต

หรือเลือกศึกษาเฉพาะองคประกอบใดองคประกอบหนึ่ง

ในกระบวนการสื่อสารไดตามความสนใจ

ประโยชนของแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

S - M - C - R

Page 6: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

1. แมวาแบบจําลองกระบวนการสื่อสารเปนการอธิบาย

กระบวนการที่สลับซับซอนใหเขาใจไดงายขึ้น

แตแบบจําลองไมสามารถนําเสนอสาระสําคัญ เชน

บริบทของการสื่อสาร หรือปฏิกิริยาตอบกลับระหวาง

คูสื่อสารในสถานการณจริงลงในแบบจําลองได

ขอจํากัดของแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

บริบทของการส่ือสาร

เชน สถานการณ, สถานที่,

เนื้อหา, อากาศ,อารมณ,

เวลา, วัตถปุระสงคที่แทจริง

Page 7: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

2 . แบบจําลองอาจกอให เ กิดการบิดเบือนการรับรู เ ร่ือง

กระบวนการสื่อสารได เน่ืองจากแบบจําลองจะพยายามอธิบายโดย

ทําใหกระบวนการส่ือสารหยุดน่ิง(static) เพ่ือความสะดวกใน

การศึกษา แตกระบวนการสื่อสารจริงน้ันมีลักษณะเปนพลวัต ไม

หยุดน่ิง

ดังน้ันแบบจําลองจึงไมสามารถถายทอดลักษณะที่ชัดเจน

ของปฏิสัมพันธที่ตอเน่ืองและสงผลซึ่งกันและกันของแตละ

องคประกอบในกระบวนการสื่อสารได

ขอจํากัดของแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

Page 8: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

3. แบบจําลองกระบวนการส่ือสารเกิดข้ึนจากสมมุติฐานใน

การศึกษากระบวนการส่ือสารของมนุษยตามความสนใจหรือ

จุดเนนของผูสรางแบบจําลองแตละคน

พึงระลึกไวเสมอวาการศึกษาแบบจําลองเพ่ือใหเขาใจอยางถอง

แทและเกิดประโยชนน้ัน ผูศึกษาจึงตองพยายามคนหาสมมุติฐาน

ที่ซอนอยูในแบบจําลองแตละแบบควบคูกันไปดวย

ขอจํากัดของแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

แบบจําลองการตดิตอส่ือสารของแชนนอน และวีเวอร

Page 9: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

“ไมมีแบบจําลองแบบใดที่ดีและสมบูรณที่สุด”

การศึกษาแบบจําลองการสื่อสารเพียงแบบเดียวจะไมชวยให

ผูศึกษาเขาใจกระบวนการสื่อสารไดอยางชัดเจน เน่ืองจากผูสราง

แบบจําลองแตละคนตางก็มีจุดเนนหรือจุดสนใจและมุมมองที่มีตอ

กระบวนการส่ือสารที่แตกตางกันไป ดังน้ันการศึกษาแบบจําลอง

หลาย แบบจําลองจะชวยใหผูศึกษาเห็นภาพของกระบวนการ

สื่อสารไดแจมชัดข้ึน

ขอสรุปในการศึกษาแบบจําลองกระบวนการสื่อสาร

Page 10: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

อริสโตเติล ชาวกรีก(384-322 ปกอนคริสตกาล)

อธิบายวาการสื่อสารเกิดข้ึนเมื่อ ผูพูด สรางสาร หรือเรียบเรียง

ความคิดท่ีตองการสื่อสารในรูปของ คําพูด แลวสงไปยัง ผูฟง ท้ังน้ีโดยผูพูด

มีเจตนาในการโนมนาวใจ โดยใหความสําคัญตอการพูดในท่ีสาธารณะ

และชุมชนเปนท่ีมาของวิชาวาทศิลป(Rhetoric)

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของอริสโตเติล

ผูพูด

speaker

คําพูด

speech

ผูฟง

audience

แมวาแบบจําลองจะมุงเนนการพูดเพื่อโนมนาวใจ และเปนแบบจําลองการ

สื่อสารทางเดียวก็ตามแตเปนแบบจําลองคลาสสิกตนแบบของแบบจําลองใน

ปจจุบัน เน่ืองจากองคประกอบท่ีเสนอไวถูกนํามาประยุกตใชเปนองคประกอบ

หลักในแบบจําลองการสื่อสารทุกแบบจําลองในรูปของ ผูสงสาร สาร และ ผูรับ

สาร

3 องคประกอบ

Page 11: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

วิ ธีการโนมนาวใจท่ีมีประสิทธิภาพ

ประกอบดวย

1 . บุคลิกท่ีนาเชื่อถือของผูพูดใน

จิตใจหรือมุมมองของผูฟง(Ethos) คือ ความรู

จริง มีคุณธรรม จริงใจ ปรารถนาดีตอผูฟง

2. เขาใจอารมณและทัศนคติของ

ผูฟง (Pathos) เพื่อเลือกถอยคําท่ีเหมาะสม

สําหรับผูฟง

3 . เ รี ย บ เ รี ย ง วิ ธี ก า ร พู ด คํ า พู ด

(Logos) โดยใชขอเท็จจริงเหตุผล หลักฐาน

และตรรกวิทยามาใชประกอบการพูด

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของอริสโตเติล

Page 12: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

ค.ศ. 1948 แฮโรลด ดี ลาสเวลล (Harold D. Lasswell)

นักรัฐศาสตรผูมีความสนใจเร่ืองการสื่อสาร ไดศึกษา

ประเด็นเก่ียวกับประสิทธิผลของการใชสื่อเ พ่ือการ

โฆษณาชวนเชื่อทางการเมืองของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา

ในชวงสงครามโลกคร้ังที่ 2 และนําเสนอมุมมองของการ

ส่ือสารเชิงรัฐศาสตร โดยใหขอเสนอแนะวาวิธีการ

วิเคราะหและอธิบายกระบวนการสื่อสารที่ดีที่สุดคือการ

ตอบคําถามงาย ๆ ดังน้ี

“ใคร พูด อะไร / ผาน สื่อใด/ ถึง ใคร / เพื่อ ใหเกิดผลอะไร”

“Who says what / in which channel / to whom / with what effect.”

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแฮรโรลด ดี ลาสเวลล

Page 13: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

สรุปไดวา ในทรรศนะของลาสเวลลนั้น การส่ือสารประกอบดวย

องคประกอบ 5 องคประกอบ ไดแก ผูสงสาร สาร ส่ือ ผูรับสาร และผล

ของการสื่อสาร

ผูสงสาร

(ใคร)

สื่อ

(ผานสื่อใด)

ผลของการสื่อสาร

(เพื่อใหเกิดผลอะไร)สาร

(พูดอะไร)

ผูรับสาร

(ถึงใคร)

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของลาสเวลล (The Lasswell model)

ท่ีมา : ปรมะ สตะเวทิน, 2546, หนา 46

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแฮรโรลด ดี ลาสเวลล

• คลายกับแนวคิดของอริสโตเติล

• เปนกระบวนการแบบเอกวิถี(one-way Process)

• เพ่ิมตัวแปร “ชองสาร” (Channel) ขยายขอบเขตจากการใชคําพูดไปสู

การใชส่ือประเภทอื่น

• ขยายขอบเขตแนวคิดเกี่ยวกับผลที่เกิดจากการส่ือสาร (outcome/effects)

Page 14: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

คล็อด อี แชนนอน และ วอรเรน วีเวอร

(Shannon, & Weawer,1949)

“แบบจําลองทฤษฎีขาวสาร” (Information theory) เปน

แบบจําลองการสื่อสารที่ใชอธิบายกระบวนการสื่อสารของ

เก่ียวกับอิเล็กทรอนิกส จากการที่แชนนอนเคยเปนวิศกร

ของบริษัท เบลเทเลโฟน (BELL TELPHONE)และภายหลัง

ถูกนํามาใชในการอธิบายกระบวนการสื่อสารของมนุษย

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชนนอน และ วีเวอร

Page 15: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

แหลง

ขาวสาร

(Source)

เครื่องรับ

สัญญาณ

(Receiver)

สารเครื่องสง

สัญญาณ

(Transmitter)

สัญญาณ

สงสัญญาณ

รับสาร

จุดหมาย

ปลายทาง

(Destination)

สิ่งรบกวน

(Noise)

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชนนอน และ วีเวอร

แหลงขาวจะเลือกสารที่ตองการสง (Desire Message) จากทั้งหมดที่เปนไปได (A set of possible

message) ประกอบดวย ภาษา ภาพ ดนตรี โดยเคร่ืองสงสัญญาณ (Transmitter) จะแปลงสาร

(Message) เปนสัญญาณเพื่อสงผานชองทางการสื่อสาร (Communication Channel) ที่เหมาะสมกับ

เคร่ืองรับสัญญาณ(Receiver) ซ่ึงจะแปลงสัญญาณกลับมาเปนสารเพื่อสงตอไปยังจุดหมายปลายทาง

(Destination) ซ่ึงในขณะที่สงสัญญาณอาจเกิดสิ่งรบกวนหรืออุปกสรรคในการสื่อสาร(Noise source)

Page 16: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชนนอน และ วีเวอร

แนวคิดของแชนนอน และ วีเวอร

1.ประสิทธิภาพของการสื่อสาร ขึ้นอยูกับทั้ง 6 องคประกอบของการสื่อสาร ไดแก ผูสงสาร เครื่องสงสัญญาณ สัญญาณ เครื่องรับ

สัญญาณหรือผูรับสาร จุดหมายปลายทาง รวมทั้งสิ่งรบกวนหรือ

อุปสรรคในการสื่อสาร

2. ปญหาหรืออุปสรรคของการสื่อสาร

2.1 ดานเทคนิค คือ ความถูกตองและความชัดเจนของสัญลักษณและสัญญาณ

2.2 ดานความหมาย คือ การแปลความหมายหรือ

ความเขาใจที่ไมตรงกันระหวางผูรับและผูสง

Page 17: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชนนอน และ วีเวอร

แนวคิดของแชนนอน และ วีเวอร (ตอ)

2.3 ปญหาดานประสิทธิผลของการสื่อสาร คือ ความสอดคลองระหวางความคาดหวังของผูสงสารและผลที่เกิดขึ้จริงผูรับ

สาร

3. สิ่งรบกวนหรืออุปสรรคในการสื่อสาร

3.1 สิ่งรบกวนทางกายภาพ เชน สภาพแวดลอม อากาศ เสียงรบกวน

3.2 สิ่งรบกวนทางจิตใจ เชน อารมณ ความรูสึก

• คลายกับแนวคิดของอริสโตเติล

• เปนกระบวนการแบบเอกวิถี(one-way Process)

• เสนอความคิดเรื่อง สัญญาณและส่ิงรบกวน

• แยกสัญญาณกับสารออกจากกัน

Page 18: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

วิลเบอร แชรมม (Wilbur Schramm) ไดนําเสนอ

แนวคิดแบบจําลองกระบวนการส่ือสารไวหลาย

รูปแบบ (Schramm, 1954, pp. 3-26) ตีพิพมใน

บทความชื่อ “How communication works” ในป

ค.ศ. 1954

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของวิลเบอร แชรมม

เปลี่ยนการมองกระบวนการส่ือสารแบบเสนตรง (linear view)

เปนการมองเชิงปฏิสัมพันธ (interactive view) พัฒนาการทาง

ความคิดดังกลาวปรากฏในแบบจําลองทั้ง 3 แบบ ดังตอไปน้ี

Page 19: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

ตามแนวความคิดของแชรมม กระบวนการสื่อสารประกอบดวยผู

สงสาร (source) ผูเขารหัส (encoder) สัญญาณ (signal) ผูถอดรหัส

(decoder) และผูรับสาร (destination) ซึ่งมีความสัมพันธกันดังน้ี

source destinationsignal

ผูสงสาร ผูเขารหัส สัญญาณ ผูถอดรหัส ผูรับสาร

encoder decoder

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของวิลเบอร แชรมม

ผูเขารหัส คือ บุคคลหรือเคร่ืองมือซึ่งทําหนาท่ีในการเปลี่ยนความคิด ความรูสึก

หรือสิ่งท่ีตองการสงใหอยูในรูปของสัญญาณ

ผูถอดรหัส คือ บุคคลหรือเคร่ืองมือซึ่งทําหนาท่ีเปลี่ยนสัญญาณใหเปนความคิด

ความรูสึก หรือสิ่งท่ีตองการสง โดยอาศัยการตีความ(Interpret/Interpretรืเ)

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารแบบท่ี 1

Page 20: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

ในแบบจําลองกระบวนการส่ือสารแบบที่ 2 แชรมมไดนําเสนอ

แนวคิดเพิ่มเติมจากแบบจําลองกระบวนการสื่อสารแบบที่ 1 ดังน้ี

2.1 แนวคิดเร่ืองขอบเขตประสบการณ (field of experience)

ผูสงสารและผูรับสารจะประสบความสําเร็จในการส่ือสารหรือการสราง

ความเขาใจระหวางกันไดมากหรือนอยเพียงไร ข้ึนอยูกับวาบุคคลทั้ง

สองมีประสบการณรวมกันในเรื่องที่กําลังสื่อสารมากหรือนอยเพียงไร

2.2 ผูสงสารกับผูเขารหัสสาร และผูรับสารกับผูถอดรหัสสาร

จะเปนบุคคลคนเดียวกัน คือ เม่ือสงสารตองเขารหัสสัญญาณในรูปของ

ภาษาและเม่ือถอดสัญญาณก็ตองถอดจากภาษามาในรูปของสารที่

เขาใจได

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของวิลเบอร แชรมม

Page 21: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

ขอบเขตประสบการณ

field of experience

ขอบเขตประสบการณ

field of experience

ผูสงสาร

source ผูเขารหัส

encoder

ผูรับสาร

destination

ผูถอดรหัส

decoder

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของวิลเบอร แชรมม

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารแบบท่ี 2

Page 22: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

แบบจําลองน้ี แชรมมสรางข้ึนโดยอาศัยแบบจําลองซึ่งชารลส

อี ออสกูดคิดคนไว แลวมาขยายความและนําเสนอในป ค.ศ.1954

แบบจําลองน้ีแตกตางจากแบบจําลองกอนหนาน้ี เน่ืองจาก

เปลี่ยนมุมมองกระบวนการส่ือสารจากแบบจําลองเชิงเสนตรงมาเปน

แบบจําลองแบบวงกลมหรือแบบจําลองเชิงปฏิสัมพันธ

ตามแบบจําลองน้ี การส่ือสารคือกิจกรรมที่เกิดจากปฏิสัมพันธ

ระหวางผูสงสารและผูรับสาร

นอกจากน้ันแบบจําลองน้ียังแสดงถึงแนวคิดเร่ืองปฏิกิริยา

ตอบกลับ (feedback) ระหวางคูสื่อสารซึ่งถือเปนแนวคิดสําคัญใน

พฤติกรรมการสื่อสารของมนุษยดวย

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของวิลเบอร แชรมมและชารลส อี ออสกูด

Page 23: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

สาร

สาร

ผูเขารหัสสาร

ผูถอดรหัสสาร

ผูแปลความหมายสาร

ผูแปลความหมายสาร

ผูถอดรหัสสาร

ผูเขารหัสสาร

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของวิลเบอร แชรมมและชารลส อี ออสกูด

Page 24: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

เดวิด เค เบอรโล (Berlo, 1960) พิมพเผยแพร

หนังสือชื่อ “The process of communication”

ในป ค .ศ .1960 เ พ่ืออธิบายถึงทฤษฎีวาดวย

กระบวนการส่ือสารของมนุษย และนําเสนอ

แ บ บ จํ า ล อ ง อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก า ร ส่ื อ ส า ร

ซึ่งประกอบดวยองคประกอบสําคัญ 4 ไดแก

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของเดวิด เค เบอรโล

- ผูสงสาร (communication source)

- สาร (message)

- ชองสาร (channel)

- ผูรับสาร (receiver)

ดังน้ันแบบจําลองกระบวนการส่ือสารน้ีจึงมีชื่อเรียกอีกชื่อวา

SMCR Model

Page 25: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

เน้ือหา รหัส

แบบจําลองกระบวนการสื่อสาร SMCR ของเดวิด เค เบอรโล

ที่มา : Berlo, 1960, p.70

Presenter
Presentation Notes
วัฒนธรรม ระบบสังคม ความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสาร R ผู้รับสาร ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสารสสารสารสาร S ผู้ส่งสาร M สาร C ช่องสาร ส่วน ประกอบ     เนื้อหา การจัดสาร     รหัส โครง สร้าง วัฒนธรรม ระบบสังคม           ความรู้ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น �
Page 26: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

แบบจําลองกระบวนการสื่อสาร SMCR ของเดวิด เค เบอรโล

ผูสงสาร (Communication Source)

1.ทักษะในการสื่อสาร(Communication Skill) 5 ประการ

ไดแก ทักษะการเขารหัส การเขียนและการพูด และทักษะการถอดรหัส

2 ประการ คือการอานและการฟง และทักษะที่ 5 คือ การคิดและใชเหตุผล

2. ทัศนคติ (Attitudes) ทัศนคติตอตนเอง ตอเรื่องหรือประเด็น

และทัศนคติตอผูรับสาร

3. ความรู (Knowledge) ความรูเก่ียวกับผูรับสาร ประเด็น วิธีเลือก

ชองทาง ทัศนคติ สงผลตอประสิทธิภาพในกระบวนการสือ่สาร

4. ระบบสังคม (Social System) อิทธิพลของสังคมที่มีผลตอ

พฤติกรรมการสื่อสาร

5. วัฒนธรรม (Culture) ขนบธรรมเนียมประเพณี คานิยมและความ

เชื่อ

Presenter
Presentation Notes
วัฒนธรรม ระบบสังคม ความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสาร R ผู้รับสาร ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสารสสารสารสาร S ผู้ส่งสาร M สาร C ช่องสาร ส่วน ประกอบ     เนื้อหา การจัดสาร     รหัส โครง สร้าง วัฒนธรรม ระบบสังคม           ความรู้ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น �
Page 27: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

แบบจําลองกระบวนการสื่อสาร SMCR ของเดวิด เค เบอรโล

สาร (Message) คือผลผลิตของการเขารหัส

1.รหัสของสาร (Message Code) กลุมของสัญลักษณที่ใชแทนหรือ

หมายถึงสิ่งางๆได เชน ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาทาทาง รูปภาพ ดนตรี

ประกอบดวย 2 สวน

1.1 สวนประกอบยอย (Elements) ไดแก พยัญชนะ สระ วรรณยุกต

1.2 โครสราง (Structure) คือ การนําสวนประกอบยอยมารวม

2. เนื้อหาของสาร(Content) คือ ขอความที่ตองการส่ือความหมายแก

ผูรับสาร

2.1 สวนประกอบยอย (Elements) ไดแก กลุมคําที่ยังไมไดเรียบ

เรียงโครงสราง

2.2 โครสราง (Structure) คือ การเรียงลําดับของคําตามหลัก

ไวยากรณ

Presenter
Presentation Notes
วัฒนธรรม ระบบสังคม ความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสาร R ผู้รับสาร ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสารสสารสารสาร S ผู้ส่งสาร M สาร C ช่องสาร ส่วน ประกอบ     เนื้อหา การจัดสาร     รหัส โครง สร้าง วัฒนธรรม ระบบสังคม           ความรู้ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น �
Page 28: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

แบบจําลองกระบวนการสื่อสาร SMCR ของเดวิด เค เบอรโล

3. การเลือกและจัดลําดับของขาวสาร หรือ การจัดเสนอสาร

(Treatment) คือ การตัดสินใจเลือกและจัดลําดับของรหัสขาวสารและเนื้อหา

3.1 สวนประกอบยอย (Elements) รูปแบบ วิธีการ หรือเทคนิคใน

การนําเสนอ

3.2 โครสราง (Structure) การจัดลําดับของสารใหสอดคลองตอ

พฤติกรรมและความตองการของผูรับสาร

Presenter
Presentation Notes
วัฒนธรรม ระบบสังคม ความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสาร R ผู้รับสาร ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสารสสารสารสาร S ผู้ส่งสาร M สาร C ช่องสาร ส่วน ประกอบ     เนื้อหา การจัดสาร     รหัส โครง สร้าง วัฒนธรรม ระบบสังคม           ความรู้ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น �
Page 29: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

แบบจําลองกระบวนการสื่อสาร SMCR ของเดวิด เค เบอรโล

ชองสาร(Channel)

1. ชองสารเปนตัวกลางในการนําสารจากผูสงสารมายังผูรับสาร คือ

คลื่นแสง คลื่นเสียง วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน นสพ.

2. ชองสารซึ่งเปนพาหะของสิ่งที่นําสารไปสูประสาทสัมผัสรับรูทั้ง 5

ของมนุษย

3. วิธีการเขา-ถอดรหัสสาร เชน การใชวิธีพูด หรือเขียน(ไมนิยม

นิยามในความหมายนี้)

ผูรับสาร(Receiver) คือ จุดหมายปลายทางของสาร ซึ่งประกอบดวย

คุณสมบัติทั้ง 5 เชนเดียวกันกับผูสงสาร

ซึ่งหากองคประกอบตางๆตรงกันเขากันได กระบวนการสื่อสารก็จะ

มีประสิทธิภาพเกิดความเขาใจในเนื้อหาระหวางผูสงสารและผูรับสารหรือ

จุดหมายปลายทาง

Presenter
Presentation Notes
วัฒนธรรม ระบบสังคม ความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสาร R ผู้รับสาร ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสารสสารสารสาร S ผู้ส่งสาร M สาร C ช่องสาร ส่วน ประกอบ     เนื้อหา การจัดสาร     รหัส โครง สร้าง วัฒนธรรม ระบบสังคม           ความรู้ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น �
Page 30: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

แบบจําลองกระบวนการสื่อสาร SMCR ของเดวิด เค เบอรโล

ที่มา : Berlo, 1960, p.70 (English version)

Presenter
Presentation Notes
วัฒนธรรม ระบบสังคม ความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสาร R ผู้รับสาร ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสารสสารสารสาร S ผู้ส่งสาร M สาร C ช่องสาร ส่วน ประกอบ     เนื้อหา การจัดสาร     รหัส โครง สร้าง วัฒนธรรม ระบบสังคม           ความรู้ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น �
Page 31: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

แฟรงค แดนซ (Frank Dance) พัฒนาแบบจําลอง

กระบวนการส่ือสารในมุมมองใหม ในป ค.ศ. 1967 มีลักษณะคลาย

ขดลวดปลายกวางหรือคลายกนหอย ซึ่งเปนมุมมองที่แตกตางจาก

แบบจําลองที่ผานมาโดยสิ้นเชิง

แดนซอธิบายกระบวนการสื่อสารดวยเสนที่หมุนข้ึนอยาง

ตอเน่ืองไมสิ้นสุดน้ันก็ดวยเจตนาที่จะนําเสนอแนวคิดที่วา การ

ส่ือสารเปนกระบวนการที่สลับซับซอนมีความเคลื่อนไหวอยาง

ตอเน่ืองและมีพัฒนาการไปเร่ือย ๆ ไมสามารถระบุจุดเริ่มตน

และสิ้นสุดของการสื่อสารไดโดยมีเวลา (Time) เปนปจจัยสําคัญที่

สงผลตอกระบวนการสื่อสาร

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแฟรงค แดนซ

Presenter
Presentation Notes
วัฒนธรรม ระบบสังคม ความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสาร R ผู้รับสาร ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสารสสารสารสาร S ผู้ส่งสาร M สาร C ช่องสาร ส่วน ประกอบ     เนื้อหา การจัดสาร     รหัส โครง สร้าง วัฒนธรรม ระบบสังคม           ความรู้ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น �
Page 32: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

(The Dance model/Dance's communication helix)

แดนซ อธิบายวา แบบจําลองกระบวนการส่ือสารท่ีนําเสนอนั้นเปนการเช่ือมโยงหรือ

ประสานแนวคิดระหวางแบบจําลองกระบวนการส่ือสารเชิง เสนกับแบบจําลอง

กระบวนการส่ือสารแบบวงกลมของออสกูด และ แชรมม ซ่ึงแดนซเห็นวาไมสามารถ

อธิบายกระบวนการส่ือสารท่ีแทจริงได เมื่อเวลาผานไป ประสบการณการส่ือสารจะมี

อิทธิพลตอเนื้อหาและโครงสรางการส่ือสารท่ีเกิดขึ้นในอนาคต

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแฟรงค แดนซ

Presenter
Presentation Notes
วัฒนธรรม ระบบสังคม ความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสาร R ผู้รับสาร ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสารสสารสารสาร S ผู้ส่งสาร M สาร C ช่องสาร ส่วน ประกอบ     เนื้อหา การจัดสาร     รหัส โครง สร้าง วัฒนธรรม ระบบสังคม           ความรู้ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น �
Page 33: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

จากการศึกษาแบบจําลองกระบวนการสื่อสารที่นําเสนอ

ขางตนน้ัน ทําใหเห็นพัฒนาการของแบบจําลองซึ่งใชอธิบาย

กระบวนการสื่อสารจากอดีตจนถึงปจจุบัน และสามารถแบง

ลักษณะ ของแ บบจํ าล อง โดยพิจารณาจากการอธิบาย

กระบวนการส่ือสารหรือมุมมองที่มีตอกระบวนการส่ือสารได 3

ลักษณะตามแบบจําลองที่นําเสนอ ดังน้ี

1. แบบจําลองกระบวนการสื่อสารเชิงเสน

2. แบบจําลองกระบวนการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ

3. แบบจําลองกระบวนการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธตอเน่ือง

สรุปลักษณะของแบบจําลองกระบวนการสื่อสาร

Page 34: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

ผูสงสาร

การสื่อสารลักษณะดังกลาวจัดเปน การสื่อสารแบบเอกวิถี

(one-way communication) หรือการสื่อสารแบบทิศทางเดียว

(one-directional communication) ซึ่งเนนบทบาทของผูสงสารในการ

ใชสารเพื่อสรางอิทธิพลเหนือผูรับสารเปนสําคัญ และไมเนนปฏิกิริยา

ตอบกลับและการตอบสนองของผูรับสาร

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารเชิงเสน

Presenter
Presentation Notes
วัฒนธรรม ระบบสังคม ความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสาร R ผู้รับสาร ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสารสสารสารสาร S ผู้ส่งสาร M สาร C ช่องสาร ส่วน ประกอบ     เนื้อหา การจัดสาร     รหัส โครง สร้าง วัฒนธรรม ระบบสังคม           ความรู้ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น �
Page 35: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

ถอดรหัส

สิ่งรบกวนสิ่งรบกวน

สาร เ เขารหัส

สาร เขารหัส

สิ่งรบกวน

สื่อ

สื่อ สื่อ

สื่อ

ถอดรหัส

ผูสงสาร

ผูรับสาร ผูสงสาร

ผูรับสาร

กระบวนการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธระหวางคูสื่อสารเนนการแลกเปลี่ยนขาวสาร

ระหวางกัน แทนที่การสงสารจากผูสงสารไปยังผูรับสารเพียงฝายเดียว เพื่อใหเกิดการสราง

ความหมายและความเขาใจระหวางกัน

องคประกอบที่เพิ่มจากแบบจําลองกระบวนการสื่อสารเชิงเสน ไดแก ปฏิกิริยาตอบกลับ

ระหวางกัน ทําใหกระบวนการสื่อสารแบบยุคลวิถี หรือการสื่อสารสองทาง (Two-way

Communication) ซ่ึงชวยใหผูสงสารทราบถึงความสอดคลองตองกันระหวางขาวสารที่ตั้งใจสง

กับขาวสารที่ผูรับไดรับ ซ่ึงหมายถึงประสิทธิผลของการสื่อสาร

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ

Presenter
Presentation Notes
วัฒนธรรม ระบบสังคม ความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสาร R ผู้รับสาร ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสารสสารสารสาร S ผู้ส่งสาร M สาร C ช่องสาร ส่วน ประกอบ     เนื้อหา การจัดสาร     รหัส โครง สร้าง วัฒนธรรม ระบบสังคม           ความรู้ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น �
Page 36: Communication Arts · Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตร ผู มีความสนใจเรื่องการสื่อสาร ได ศึกษา

สารเขารหัส

ถอดรหัส ผูสื่อสาร 1 ผูสื่อสาร 2

สิ่งรบกวน

สิ่งรบกวน สิ่งรบกวน

เขารหัส

ถอดรหัส

ขอบเขตประสบการณ ขอบเขตประสบการณ

สภาพแวดลอมทางการสื่อสาร

สื่อ สื่อ

แบบจําลองลักษณะนี้อธิบายใหเห็นถึงความสัมพันธขององคประกอบท่ีสลับซับซอน

ของกระบวนการส่ือสาร ซ่ึงตางมีปฏิสัมพันธและสงผลซ่ึงกันและกัน ในเวลาเดียวกันและ

ตอเนื่องกันไป ความสัมพันธขององคประกอบลักษณะนี้สงผลใหการส่ือสารเปน

กระบวนการ ซ่ึงคูส่ือสารตางทําหนาท่ีเปนผูเขารหัสสาร และถอดรหัสสารท้ังวัจนสาร

และอวัจนสารในเวลาเดียวกันและตอเนื่องกันไป และตางมีอิทธิพลตอกันในดานตาง ๆ

ซ่ึงแสดงถึงลักษณะของการส่ือสารแบบหลายทิศทาง (multi-directional communication)”

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธตอเน่ือง

Presenter
Presentation Notes
วัฒนธรรม ระบบสังคม ความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสาร R ผู้รับสาร ทัศนคติ ทักษะในการสื่อสารสสารสารสาร S ผู้ส่งสาร M สาร C ช่องสาร ส่วน ประกอบ     เนื้อหา การจัดสาร     รหัส โครง สร้าง วัฒนธรรม ระบบสังคม           ความรู้ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น �