ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก...

13
โดย นายฉัตรพงศ ชูแสงนิล รหัสนิสิต 5414600449 นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต 5414600546 นางสาวอุษญาณีย ดีพรม รหัสนิสิต 5414600627 ทฤษฎีการเรียนรูปญญาสังคม (Social Learning Theory) Social Learning Theory 1

Transcript of ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก...

Page 1: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

LOGO

“ Add your company slogan ”

โดย

นายฉัตรพงศ ชูแสงนิล รหัสนิสิต 5414600449

นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต 5414600546

นางสาวอุษญาณีย ดีพรม รหัสนิสิต 5414600627

ทฤษฎีการเรียนรูปญญาสังคม

(Social Learning Theory)

Social Learning Theory1

Page 2: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

Outline

ประวัติความเปนมา1

แนวคิดพืน้ฐาน2

องคประกอบการเรียนรู3

การนําทฤษฎีการเรียนรูปญญาสังคม

ไปประยุกตใชในการออกแบบส่ือการสอน4

2

Page 3: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

ประวัติความเปนมา

MENU3

ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม และกลุมปญญานิยม

มีแนวคิดแตกตางกัน ระยะหลังไดเกิดแนวคิดทฤษฎีใหม เรียกวา

กลุมปฏิสัมพันธ (Interactionist Apporoach) กลุมน้ีจะผสมผสาน

แนวคิดของกลุมพฤติกรรมนิยมและกลุมปญญานิยมเขาดวยกัน คือมี

ความคิดวา พฤติกรรมข้ึนอยูกับผลรวมระหวางกระบวนการทาง

ปญญาของบุคคลและสิ่งแวดลอม ตัวอยางสําคัญ ของทฤษฎีกลุมน้ี

ไดแก ทฤษฎีปญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s Social

Cognitive Theory)

Page 4: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

แนวคิดพ้ืนฐาน

การเรียนรูในสภาพธรรมชาติ

ความสัมพันธระหวางผูเรียน พฤติกรรม

และส่ิงแวดลอม

การเรียนรูกับผลงาน

4

Page 5: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

การเรียนรูในสภาพแวดลอม

แนวคิดพ้ืนฐาน (ตอ)

ศึกษาการเรียนรูในสภาพธรรมชาติมากกวาในหองทดลอง

โดยเฉพาะอยางย่ิง สนใจการเรียนรูจากการเลียนแบบ

(Observational Learning หรือ Vicarious Learning)

5

Page 6: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

ความสัมพันธระหวางผูเรียน พฤติกรรม และสิ่งแวดลอม

แนวคิดพ้ืนฐาน (ตอ)

แสดงความสัมพันธระหวางบุคคล (P) (2) พฤติกรรม (B) และ (3) สิ่งแวดลอมซ่ึงเปนปจจัย

กําหนดซ่ึงกันและกัน (Reciprocal Determinism) 6

Page 7: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

การเรียนรูกับผลงาน

แนวคิดพ้ืนฐาน (ตอ)

แสดงข้ันการเรียนรู 2 ข้ัน คือ ข้ันไดมาซ่ึงความรู (Acquisition) กับข้ันการกระทําหรือผลงาน (Performance)

MENU7

Page 8: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

องคประกอบการเรยีนรู

แมแบบในรูปพฤติกรรมตางๆ

(Behavioral Model)

ผลกรรมจากพฤติกรรมของแมแบบ

(Consequences of the Modeled

Behavior)

กระบวนการทางปญญาของผูเรียน

(Learner’s Cognitive Process)

8

Page 9: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

องคประกอบการเรยีนรู (ตอ)

แมแบบในรูปพฤติกรรมตางๆ (Behavioral Model)

• แมแบบที่มีชีวิต (Live Model) ไดแก บุคคลในครอบครัว เพื่อน

หรือผูคนทั่วไปที่ผูสังเกตสามารถตดิตอสัมพันธได

• แมแบบสัญลักษณ (Symbolic Model) ไดแก ภาพแมแบบใน

สื่อสารมวลชนทั้งหลาย เชน ในภาพยนตร โทรทศัน วีดิทัศน

(Videotape) หนังสือ คอมพิวเตอร เปนตน

• แมแบบในรูปคําสอน (Verbal Description or Instruction)

เปนแมแบบที่เปนการพดูหรือการบอกทางวาจา หรือเปนคําสอน

ในภาษาเขียน

9

Page 10: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

องคประกอบการเรยีนรู (ตอ)

ผลกรรมจากพฤติกรรมของแมแบบ (Consequences of the Modeled Behavior)

• การไดรับการเสริมแรงของแมแบบ (Vicarious Reinforcement)

การไดรับการเสริมแรงของแมแบบจะเปนตัวเสริมแรงอยางหน่ึงของผูสังเกต

ที่จะกระทําพฤติกรรมเชนเดียวกับแมแบบเพิ่มมากข้ึน

• การไดรับโทษของแมแบบ (Vicarious Punishment)

- เปนขอสารสนเทศแกผูสังเกตวา พฤติกรรมแมแบบน้ันจะนําไปสูการลงโทษ ซ่ึง

เปนพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม

- กอใหเกิดยับยั้งหรือเหน่ียวรั้งที่จะไมเลียนแบบพฤติกรรมแมแบบ (Inhibitory

Effect)

- เน่ืองจากพฤติกรรมดังกลาวกอใหเกิดผลกรรมที่ไมพึงประสงค ฐานะของแมแบบก็

จะลดคุณคาลง ผูสังเกตมีแนวโนมที่จะไมกระทําพฤติกรรมเชนน้ันในอนาคต

10

Page 11: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

องคประกอบการเรยีนรู (ตอ)

กระบวนการทางปญญาของผูเรียน (Learner’s Cognitive Process)

11MENU

Page 12: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

การนําทฤษฎีการเรียนรูปญญาสังคมไปประยุกต

ในการออกแบบสื่อการสอน

MENU12

กระบวนการที่สาํคัญในการเรียนรูโดยการสังเกตหรือการเรียนรูโดย

ตัวแบบวามีทั้งหมด 4 อยางคือ

กระบวนการความเอาใจใส (Attention)

กระบวนการจดจาํ (Retention)

กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวอยาง (Reproduction)

กระบวนการการจูงใจ (Motivation)

Page 13: ทฤษฎีการเรียนรู ป ญญาสังคม · ได แก ทฤษฎีป ญญาสังคมของแบนดูรา (Bandura’s

LOGO

“ Add your company slogan ”

ขอบคณุคะ/ ครับ

Training Technique and Process13