บทที่ 3 ระบบสุริยะ

21
ครูณรงค์ศักดิพลแก้ว โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม

Transcript of บทที่ 3 ระบบสุริยะ

Page 1: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ครูณรงค์ศักด์ิ พลแก้ว โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม

Page 2: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ

Page 3: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ลักษณะของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

Page 4: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ขนาดของดาวเคราะห ์

Page 5: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ

Page 6: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ

Page 7: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ

Page 8: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ

Page 9: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ความสมมาตรในระบบสุริยะและระยะทางของดาวเคราะห์

ระนาบดาวเคราะหเ์กือบจะซ้อนทับกับระนาบอิคลิปติก

Page 10: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ความสมมาตรในระบบสุริยะและระยะทางของดาวเคราะห์

การโคจรและการหมุนรอบตัวเองของดาวเคราะห์

Page 11: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ความสมมาตรในระบบสุริยะและระยะทางของดาวเคราะห ์

แกนเอียงของดาวเคราะห์

Page 12: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ความสมมาตรในระบบสุริยะและระยะทางของดาวเคราะห ์

ดาวเคราะห์ทั้งหมดโคจรในทิศทางเดียวกับที่ดวงอาทติย์หมุนรอบตัวเอง และวงโคจรเกือบจะซ้อนทับระนาบอิคคลิปติก ดาวเคราะห์ทุกดวง

หมุนรอบตัวเองเหมือนดวงอาทิตย์ ยกเว้น ดาวศุกร์และยูเรนัส และบริวารของดาวเคราะห์ก็โคจรแบบดาวเคราะห์เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย ์

มีนักวิทยาศาสตร์ 2 ท่าน คอื ทิเทียสและโบด ได้สร้างสมการแสดงความสัมพันธร์ะยะทางเฉลี่ย ( dn) ของดาวเคราะห์ต่างๆจากดวงอาทติย์ดังนี้

dn = 0.4+ (0.3 x 2n)

โดย n = 0, 1, 2, ........... ตามล าดับ นับตัง้แต่ดาวศุกร์ออกมา

Page 13: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

จากตารางพบว่าที่ระยะ ที่ไม่มีดาวเคราะห์นั้นเป็นแถบของดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์ ระยะทางจากสูตร ระยะทางจริง

พุธ 0.4 0.39

ศุกร์ 0.7 0.72

โลก 1.0 1.00

อังคาร 1.6 1.52

- 2.8 -

พฤหัส 5.2 5.20

เสาร ์ 10.0 9.55

ยูเรนัส 19.6 19.20

เนปจูน 38.8 30.10

พลูโต 77.2 39.50

Page 14: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

การจ าแนกพวกและการเรียกชื่อดาวเคราะห์ตามระบบต่างๆ

การจ าแนกพวกของดาวเคราะห์สามารถแบ่งได ้3 วิธี คือ

1. ก าหนดจากวงโคจรของโลกเปน็หลัก

2. ก าหนดจากวงโคจรของแถบดาวเคราะห์น้อยเป็นหลัก

3. พิจารณาจากความคล้ายคลึงกบัโลก

Page 15: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ก าหนดจากวงโคจรของโลกเป็นหลัก

1. Inferior Planets

คือดาวที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากว่าโลก

ได้แก่ พุธและศุกร์

2. Superior Planets

คือดาวที่อยู่ไกลดวงอาทิตย์มากกว่าโลก

ได้แก่ อังคาร พฤหัสฯ เสาร์ ยูเรนัสและเนปจูน

Page 16: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ก าหนดจากวงโคจรของแถบดาวเคราะห์น้อยเป็นหลัก 1. Inner Planets หรือ ดาวเคราะห์วงใน ได้แก่ ดาวพุธ ศุกร์ โลกและอังคาร

2. Outer Planets หรือ ดาวเคราะห์วงนอก ได้แก่ พฤหัสฯ เสาร์ ยูเรนัสและเนปจูน

Page 17: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

พิจารณาลักษณะดาวเคราะห์ที่คล้ายคลึงกับโลก 1. Terrestrial Planets คือ ดาวเคราะห์ที่เหมือนโลก คือ พุธ ศุกร์ โลกและอังคาร

2. Jovian Planets คือ ดาวเคราะห์ทีเ่หมือนดาวพฤหัสฯ คือ พฤหัสฯ เสาร์ ยูเรนัส เนปจูน

Terrestrial Planets

Jovian Planets

Page 18: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

คุณสมบัติของดาวเคราะห์วงใน

Page 19: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

คุณสมบัติของดาวเคราะห์วงนอก

Page 20: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ความหนาแน่นของดาวเคราะห์

ดาวเคราะห์วงในจะมีความหนาแน่นมากกว่าดาวเคราะห์วงนอก

Page 21: บทที่ 3 ระบบสุริยะ

20/12/54 23

“ดาวเคราะห์” (planet) ต้องเป็นวตัถุบนท้องฟ้าที่ 1. โคจรรอบดวงอาทิตย์,

2. มีมวลมากพอที่จะมีแรงโน้มถ่วงดึงดูดตัวเองให้อยู่ในสภาวะสมดุลอุทกสถิต (hydrostatic equilibrium) หรือรูปร่างใกล้เคียงกับทรงกลม และ

3. มีวงโคจรที่ชัดเจนและสอดคล้องกับดาวเคราะห์ข้างเคียง “ดาวเคราะห์แคระ” (dwarf planet)

เป็นประเภทใหม่ของดาวที่มีลักษณะคล้ายกับดาวเคราะห์ แต่ไม่เข้าข่าย รวมถึงดาวเคราะห์น้อยบางดวง ซึ่งดาวเคราะห์แคระนั้น จะต้องเปน็วัตถุบนท้องฟ้าที่

1. โคจรรอบดวงอาทิตย์, 2. มีมวลมากพอที่จะมีแรงโน้มถ่วงดงึดูดตัวเองให้อยู่ในสภาวะสมดุลอุทกสถิต

(hydrostatic equilibrium) หรือรูปร่างใกล้เคียงกับทรงกลม, 3. มีวงโคจรไม่สอดคล้องกับดาวเคราะห์ข้างเคียง และ

4. ไม่ใช่จันทร์บริวาร “วัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ” (Small Solar System Bodies)

หมายถึงวัตถุบนท้องฟ้าอื่นๆ ที่ไม่เข้าข่าย 2 ประเภทแรก และไม่ใช่วัตถุที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งในชั้นนี้หมายรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย (asteroids), ดาวหาง (comets), วัตถุขนาดใหญ่นอกวงโคจร

ของดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Objects-TNO) และ วัตถุขนาดเล็กอื่นๆ

14 – 24 ส.ค.49