สอน 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · students before and...

406
การพัฒนาผลการเรียนรูดานการอานเพื่อความเขาใจและการเขียนสะกดคํายาก ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที4 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC โดย นางภาวนา ดาวเรือง วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Transcript of สอน 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร · students before and...

  • การพัฒนาผลการเรียนรูดานการอานเพื่อความเขาใจและการเขียนสะกดคํายาก ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 ท่ีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC

    โดย นางภาวนา ดาวเรือง

    วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควชิาหลักสูตรและวิธีสอน

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศิลปากร ปการศึกษา 2550

    ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • การพัฒนาผลการเรียนรูดานการอานเพื่อความเขาใจและการเขียนสะกดคํายาก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 ท่ีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC

    โดย นางภาวนา ดาวเรือง

    วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควชิาหลักสูตรและวิธีสอน

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550

    ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • THE DEVELOPMENT OF LEARNING OUTCOMES IN READING COMPREHENSION AND DIFFICULT WORDS SPELLING WRITING OF FOURTH GRADE STUDENTS

    TAUGHT BY CIRC TECHNIQUE

    By Pawana Daorueng

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF EDUCATION

    Department of Curriculum and Instruction Graduate School

    SILPAKORN UNIVERSITY 2007

  • บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร อนมุัติใหวิทยานพินธเร่ือง “การพัฒนาผลการเรียนรูดานการอานเพื่อความเขาใจและการเขยีนสะกดคํายากของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่จดัการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC” เสนอโดย นางภาวนา ดาวเรือง เปนสวนหนึ่งของการศกึษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ

    ……........................................................... (รองศาสตราจารย ดร.ศิริชัย ชินะตังกูร)

    คณบดีบัณฑติวิทยาลัย วันที่..........เดอืน.................... พ.ศ...........

    อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัชรา เลาเรียนด ี 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุเทพ อวมเจริญ 3. อาจารย ดร.สุจิตรา คงจินดา คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาเรียม นิลพันธุ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ ............................................................. กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยสิริอาภา รัชตะหิรัญ) (ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัชรา เลาเรียนดี) ............/......................../..................... ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ ............................................................. กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุเทพ อวมเจริญ) (อาจารย ดร.สุจติรา คงจินดา) ............/......................../................ ............/......................../..............

  • 48253310 :

    : CIRC. /

    :

    4 CIRC.

    : . . , . . . . . 393 .

    Pre – Experimental Design

    – (One Group Pretest – Posttest Design) 1)

    4

    CIRC. 2 ) 4

    CIRC. 3 )

    CIRC. 4

    3 2550 25

    1)

    CIRC. 2) . 3)

    CIRC. (%)

    ( ) ( S.D.) (t –test) dependent

    1) 4

    CIRC. .05

    2) 4

    CIRC. .05

    3) 4 CIRC.

    2

    2550

    .........................................................................................

    1 ................................... 2.................................... 3................................

  • 48253310 : MAJOR : CURRICULUM AND SUPERVISION

    KEY WORDS : CIRC TECHNIQUE / READING COMPREHENSION AND DIFFICULT

    WORDS SPELLING WRITING

    PAWANA DAORUENG : THE DEVELOPMENT OF LEARNING OUTCOMES IN

    READING COMPREHENSION AND DIFFICULT WORDS SPELLING WRITING OF FOURTH

    GRADE STUDENTS TAUGHT BY CIRC TECHNIQUE. THESIS ADVISORS : ASST. PROF.

    WATCHARA LOWRIENDEE, Ph.D., ASST.PROF.SUTEP UAMCHAROEN, Ed.D., AND.

    SUCHITTRA KHONGJINDA, Ph.D. 393 pp.

    The purposes of this experimental research with one Group pretest – posttest

    design were 1) to Compare learning outcomes in reading comprehension of fourth grade

    students before and after being taught by CIRC Technique. 2) to Compare learning outcomes

    in difficult words spelling writing of fourth grade students before and after being taught by

    CIRC Technique. 3) to study the students’ opinions towards the instruction with CIRC

    Technique. The sample consisted of 25 fourth grade students of Watyangnon school under

    the jurisdiction of the Office of Suphanburi Education Service Area 3 academic

    year 2007. The research instruments used for gathering data were ; 1) The lesson plans

    in reading comprehension and difficult words spelling writing taught by CIRC Technique.

    2) The learning outcome tests in reading comprehension and difficult words spelling

    writing. 3) The questionnaire of students’ opinions toward the instruction with CIRC Technique.

    The statistical analysis employed were percentage (% ), mean ( ), standard deviation

    (S.D.) and t-test dependent .

    The research findings of the study were :

    1) The learning outcomes in reading comprehension of fourth grade students

    before and after being taught by CIRC Technique were statistically significant different

    at .05 Level.

    2) The learning outcomes in difficult words spelling writing of fourth grade

    students before and after being taught by CIRC Technique were statistically significant

    different at .05 Level.

    3) The students’ opinion toward the instruction taught by CIRC Technique

    were at a high agreement level in two aspects, the learning environment that the students

    could participate all the learning stages and the learning activities made the lessons

    interesting. On the aspect of learning usefulness the students’ opinions were at the moderate

    agreement level which indicated that the students’ skills were developed through all of the

    activities in reading and word spelling writing.

    Department of Curriculum and Instruction Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2007Student’s signature......................................................................................................... Thesis Advisors’ signature 1............................................... 2............................................. 3...............................................

  • กิตติกรรมประกาศ

    วิทยานิพนธฉบับนี้ สําเร็จลุลวงไดดวยความเมตตา ความอนุเคราะหใหคําปรึกษาแนะนํา

    อยางดียิ่งจาก ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัชรา เลาเรียนดี ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุเทพ อวมเจริญ และอาจารย ดร.สุจิตรา คงจินดา ซ่ึงเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาเรียม นิลพันธุ ประธานกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ และผูชวยศาสตราจารยสิริอาภา รัชตะหิรัญ ผูทรงคุณวุฒิที่กรุณาใหคําปรึกษา คําแนะนํา และแกไขขอบกพรอง จนทําใหวิทยานิพนธฉบับนี้ถูกตองและสมบูรณยิ่งขึ้น รวมทั้งคณาจารยทุกทานที่ประสิทธิ์ประสาทวิชา ช้ีแนะแนวทางอันเปนประโยชนอยางยิ่งตอการทําวิทยานิพนธ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง ไว ณ โอกาสนี้ดวย

    ขอขอบคุณ นายกิจ เกียรติสมกิจ ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ผูชวยศาสตราจารย ดร. ปราโมทย จันทรเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี อาจารย ดร. กาญจนา เชียงทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี นางสาวประภาพรรณ นาคขําพันธุ ศึกษานิเทศกชํานาญการ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 และ นายถวิล สุขวงษ ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนทุงคลีโคกชางวิทยา ที่ไดกรุณาเปนผูเชี่ยวชาญในการพิจารณาตรวจแกไขเครื่องมือที่ใชในการวิจัย คร้ังนี้ ใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น

    ขอขอบคุณ เจาของบทประพันธนิทาน สารคดีสําหรับเด็ก ทุกทาน ที่ผูวิจัยไดนํามาใชเปนสื่อในการจัดการเรียนรู นายสุนันท กมลฉ่ํา ผูอํานวยการโรงเรียนวัดยางนอน นายสมศักดิ์ ดาวเรือง ผูอํานวยการโรงเรียนวัดกุมโคก และนายประเสริฐ ชัยแยม ผูอํานวยการโรงเรียนวัดทามะนาว ที่ใหความอนุเคราะหชวยเหลือ สนับสนุน และอํานวยความสะดวกในการเก็บรวบรวมขอมูล รวมทั้งนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนวัดยางนอน ปการศึกษา 2550 ที่ใหความรวมมือในการทดลอง เพื่อทําการวิจัยคร้ังนี้เปนอยางดี ขอขอบพระคุณ คุณพอสนั่น คุณแมอัมพร นาคขําพันธุ ผูวางรากฐานการศึกษาและการดําเนินชีวิต ตลอดจนพี่ๆ นองๆ ทุกคน ที่ใหความรักใหกําลังใจและชวยเหลือในการทําวิทยานิพนธตลอดมา จนสําเร็จสมบูรณ คุณคาและประโยชนใดๆอันเกิดจากวิทยานิพนธเลมนี้ ผูวิจัยขอบูชาแดบิดา มารดาและคณาจารยผูมีพระคุณทุกทาน ฉ

  • สารบัญ หนา

    บทคัดยอภาษาไทย…………………………………………………………………..…… บทคัดยอภาษาอังกฤษ......................................................................................................... กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................. สารบัญตาราง...................................................................................................................... สารบัญภาพประกอบ.......................................................................................................... บทที่

    ง จ ฉ ญ ฏ

    1 บทนํา……………………………………………………………………………. 1 ปญหาการวิจยั...............................................................................................

    กรอบแนวคิดในการวิจัย………………………………………...………… วัตถุประสงคของการวิจยั............................................................................. คําถามการวิจยั.............................................................................................. สมมติฐานการวิจัย........................................................................................ ขอบเขตการวจิัย............................................................................................ เนื้อหาที่ใชในการวิจยั................................................................................... ระยะเวลาที่ใชในการทดลอง........................................................................ นิยามศัพทเฉพาะ..........................................................................................

    6 9

    14 15 15 15 16 16 17

    2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ............................................................................................ 18 หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรู …... 19 สาระและมาตรฐานการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย............

    สาระและมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 2 (ป.4-6).............................. 20 21

    หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดยางนอน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย.... 25 โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพืน้ฐานโรงเรียนวดัยางนอน........

    ผลการเรียนรูที่คาดหวังและสาระการเรียนรู....................................... หนวยการเรยีนรู ช้ันประถมศึกษาปที่ 4..............................................

    25 26 27

    การอานและการอานเพื่อความเขาใจ............................................................. 29 ความหมายของการอาน...................................................................... 29

  • บทที่ หนา ความหมายของการอานเพื่อความเขาใจ..............................................

    ความสําคัญของการอานเพือ่ความเขาใจ............................................. องคประกอบของการอานเพื่อความเขาใจ.......................................... ระดับความเขาใจในการอาน.............................................................. จุดมุงหมายของการอานเพื่อความเขาใจ ............................................ ความสนใจและความตองการในการอาน........................................... แนวทางการสอนอานเพื่อความเขาใจ................................................. การจัดกจิกรรมการสอนอานเพื่อความเขาใจ...................................... การประเมินผลความเขาใจในการอาน................................................

    31 33 35 38 40 42 43 49 53

    การเขียนสะกดคํายาก.................................................................................... 57 ความหมายของการเขียนสะกดคํายาก.................................................

    ความสําคัญของการเขียนสะกดคํายาก................................................ สาเหตุของการเขียนสะกดคาํผิด......................................................... การสอนเขียนสะกดคํา........................................................................ การประเมินผลการเขียน.....................................................................

    57 59 60 62 67

    เทคนิค CIRC............................................................................................... 68 วิธีสอนแบบรวมมือกัน.......................................................................

    องคประกอบของการเรียนแบบรวมมือกัน......................................... ขั้นตอนการสอนแบบรวมมอืกัน........................................................ เทคนิคการสอนแบบรวมมือกัน.......................................................... องคประกอบที่สําคัญของเทคนิค CIRC……...................................... ขั้นตอนการจดัการเรียนรูเทคนิค CIRC.............................................. กิจกรรมการเรยีนรู เทคนิค CIRC.......................................................

    68 71 73 74 78 78 84

    งานวิจยัที่เกีย่วของ........................................................................................ 89 งานวิจยัในประเทศ.............................................................................

    งานวิจยัตางประเทศ............................................................................ 89 92

    3 วิธีดําเนนิการวิจัย.................................................................................................... 95 การดําเนินการวิจัย........................................................................................ 95

  • บทที่ หนา ระเบียบวิธีวิจยั..............................................................................................

    ประชากรและกลุมตัวอยาง......................................................................... การออกแบบการวิจยั.................................................................................... เครื่องมือที่ใชในการวิจัย............................................................................... การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย................................................................. การเก็บรวบรวมขอมูล.................................................................................. การวิเคราะหขอมูล........................................................................................

    96 96 96 97 97

    111 114

    4 ผลการวิเคราะหขอมูล............................................................................................. 117 ตอนที่ 1 การเปรียบเทียบผลการเรียนรูดานการอานเพื่อความเขาใจของ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 4 กอนและหลังการจดัการเรียนรู

    เทคนิค CIRC .................................................................................

    117 ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบผลการเรียนรูดานการเขียนสะกดคํายากของ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 4 กอนและหลังการจดัการเรียนรู

    เทคนิค CIRC..................................................................................

    119 ตอนที่ 3 ผลการศึกษาความคดิเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่มีตอการจดัการเรียนรูแบบรวมมือกันเทคนิค CIRC..................... 123 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ……………………………………………… 127 สรุปผลการวิจัย.............................................................................................

    อภิปรายผล.................................................................................................... ขอเสนอแนะ................................................................................................. ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษาครั้งตอไป...........................................................

    128 129 138 140

    บรรณานุกรม....................................................................................................................... ภาคผนวก............................................................................................................................

    141 151

    ภาคผนวก ก การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ................................................... ภาคผนวก ข ผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อตรวจสอบสมติฐาน................................... ภาคผนวก ค เครื่องมือที่ใชในการวจิัย.................................................................... ภาคผนวก ง รายช่ือผูเชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือการวิจยั............................................ ภาคผนวก จ หนังสือเชิญและหนังสือขอความอนุเคราะหในการเก็บขอมูลวิจัย.....

    152 178 183 383 385

    ประวัติผูวจิัย........................................................................................................................ 393 ฌ

  • สารบัญตาราง ตารางที่ หนา

    1 2 3 4 5 6 7 8 9

    10 11 12 13 14 15

    16

    17

    18

    19

    20

    โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดัยางนอน........................................... ผลการเรียนรูที่คาดหวังและสาระการเรียนรู......................................................... หนวยการเรยีนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย.................................................... หนวยการเรยีนรูที่ใชในการวิจัยภาคเรยีนที่ 2...................................................... เปรียบเทียบการเรียนแบบรวมมือกันกับการเรียนเปนกลุมแบบเดิม..................... วิเคราะหแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูดานการอานเพื่อความเขาใจ..................... เกณฑระดับความสามารถดานการอานเพือ่ความเขาใจจากแบบทดสอบ ............ เกณฑระดับความสามารถดานการอานเพือ่ความเขาใจของคาเฉลี่ยรอยละ ......... วิเคราะหเนื้อหาดานการเขียนสะกดคํายาก........................................................... เกณฑระดับความสามารถดานการเขียนสะกดคํายากจากแบบทดสอบ................ เกณฑระดับความสามารถดานการเขียนสะกดคํายากของคาเฉลี่ยรอยละ............. เกณฑการแปลความหมายของคาเฉลี่ยความคิดเห็น............................................. เกณฑการคิดคะแนนเพื่อใหรางวัลแกกลุม........................................................... สรุปวิธีดําเนินการวิจยั.......................................................................................... ผลการเปรียบเทียบผลการเรียนรูดานการอานเพื่อความเขาใจของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่4 กอนและหลังการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC................... คะแนนความสามารถดานการอานเพื่อความเขาใจของนกัเรียนชัน้ประถมศึกษา ปที่ 4 หลังจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC จําแนกเปนรายดาน............................ คะแนนความสามารถดานการอานเพื่อความเขาใจของนกัเรียนชัน้ประถมศึกษา ปที่ 4 หลังจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC จําแนกตามประเภทบทอาน............... ผลการเปรียบเทียบผลการเรียนรูดานการเขียนสะกดคํายากของนักเรยีนชั้น ประถมศึกษาปที่ 4 กอนและหลังการจดัการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC.................. คะแนนความสามารถดานการเขียนสะกดคํายากของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 4 หลังการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC จําแนกเปนรายดาน...................... คะแนนความสามารถดานการเขียนสะกดคํายากของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 4 หลังการจัดการเรียนดวยเทคนิค CIRC จําแนกตามประเภทบทอาน...........

    25 26 27 28 71

    100 101 102 105 106 106 109 112 116

    118

    118

    119

    120

    120

    121

  • สารบัญตาราง ตารางที่ หนา

    21

    22

    23

    24

    25

    26

    27

    28

    29

    30

    31

    32

    33

    คาเฉลี่ยรอยละของการเรียนรูดานการอานเพื่อความเขาใจและการเขยีนสะกด คํายากประเภทนิทานและประเภทสารคดี........................................................... การวิเคราะหระดับความคดิเห็นของนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 4 ที่มีตอการ จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC ........................................................................... คาดัชนีความสอดคลองทีไ่ดจากการประเมนิความเหมาะสมและความสอดคลอง ขององคประกอบของแผนการจัดการเรียนรูจากผูเชี่ยวชาญ................................. คาดัชนีความสอดคลองทีไ่ดจากการประเมนิความเหมาะสมและความสอดคลอง องคประกอบของแผนการจดัการเรียนรูจากผูเชี่ยวชาญ........... ........................... คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูดานการอานเพื่อความเขาใจกอนและหลงัเรียนดวยเทคนิค CIRC .......................................... คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูดานการเขียน สะกดคํายากกอนและหลังดวยเทคนิค CIRC ....................................................... คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC................................................................. คาความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูดานการ อานเพื่อความเขาใจ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย............................................. คาความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูดาน การเขียนสะกดคํายาก กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย......................................... คะแนนผลการทดสอบกอนและหลังการจดัการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC ดาน การอานเพื่อความเขาใจ........................................................................................ คะแนนผลการทดสอบกอนและหลังการจดัการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC ดานการเขยีนสะกดคํายาก................................................................................... การเปรียบเทยีบผลการเรียนรูดานการอานเพื่อความเขาใจกอนเรียน และหลังเรียน....................................................................................................... การเปรียบเทยีบผลการเรียนรูดานการเขียนสะกดคํายากกอนเรียนและ หลังเรียน..............................................................................................................

    122

    124

    153

    167

    167

    169

    171

    173

    174

    179

    180

    181

    182

  • สารบัญภาพประกอบ แผนภาพที่ หนา

    1 2 3 4 5 6 7

    8

    กรอบแนวคิดในการวิจัย....................................................................................... ผังมโนทัศนสาระการเรียนรูภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 4.............................. รูปแบบการสอนแบบรวมมอืกันเรียนรู................................................................ ขั้นตอนการสรางแผนการจดัการเรียนรู เทคนิค CIRC ....................................... ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูดานการอานเพื่อความเขาใจ…... ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูดานการเขียนสะกดคํายาก.......... ขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจดัการเรียนรูเทคนิค CIRC.............................................................................................. ขั้นตอนการจดัการเรียนรู เทคนิค CIRC ..............................................................

    14 24 77 98

    103 107

    110 113

  • บทท่ี 1 บทนํา

    การศึกษาเปนรากฐานทีสํ่าคัญที่สุดในการพัฒนาทรพัยากรมนษุย เปนกระบวนการที่สําคัญที่จะชวยใหมนุษยมีการพัฒนาตนเอง ดังนั้นแนวทางในการจัดการศึกษาจะตองมุงพัฒนาคนใหเกิดการเรียนรูที่แทจริง เพื่อใหสามารถดําเนินชีวิตอยูในสังคมไดอยางเปนสุข โดยเฉพาะอยางยิ่งในสภาวะของสังคมทีม่ีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในทกุดาน ไดแกสังคมที่มีความเจริญ กาวหนาในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เต็มไปดวยปญหานานาประการ บุคคลจึงจําเปนที่จะตองมกีารพัฒนาตนเองใหเปนผูมีปญญาสามารถที่จะคิดวเิคราะห และสามารถ พึ่งพาตนเองได ( อํารุง จันทวานิช 2542 : คํานํา)

    แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาตฉิบับที่ 9 พุทธศักราช 2545 – 2549 กลาวถึงความสําคัญในการพัฒนาคณุภาพของคนดวยการศึกษา เนนการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต โดยเสริมสรางความรูความเขาใจและกําหนดแนวทางปฏบิัติที่ชัดเจนเกีย่วกับการจัดกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคญั โดยการใหทดลองปฏิบัติจริงเพื่อใหผูเรยีนเลือกเรยีนตามความถนัดและความสนใจ สามารถแสวงหาและสรางความรูดวยตนเอง

    พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 แกไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2 ) พุทธศักราช 2545 มีบทบัญญัติเกี่ยวกับแนวทางการจัดการศึกษาไววา การศึกษาเปนกระบวน การเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถายทอดความรูการฝกการอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคมการเรียนรู และปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคลเรียนรูอยางตอเนื่อง ตลอดชีวิต แนวทางในการจัดการศึกษานั้นตองยึดหลักผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูพัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาจะตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ซึ่งในมาตราที่ 23 ไดใหความสําคัญกับภาษาไทยโดยระบุวาการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และการบูรณาการตามความเหมาะสมของ แตละระดับการศึกษาในเรื่องตางๆ รวม 5 เร่ือง ซ่ึงในขอที่ (4) เปนเรื่องเกี่ยวกับความรูและทักษะดานคณิตศาสตร และภาษา เนนการใชภาษาไทยอยางถูกตอง

    1

  • 2

    สวนมาตราที่ 24 การจัดการเรียนรูใหสถานศึกษาดําเนินการโดยจัดเนื้อหาสาระกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล ฝกทักษะกระบวนการคิด การประยุกตความรูมาใชเพื่อปองกันและแกปญหา การจัดกิจกรรมเนนใหผูเรียนไดเรียนรูประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง โดยผสมผสานสาระความรูดานตางๆอยางมีสัดสวนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรมคานิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงคในทุกวิชา เชนเดียวกับแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติฉบับที่ 9 พุทธศักราช 2545 – 2549 ที่กําหนดนโยบายของการจัดการศึกษาไววาการศึกษาสรางชาติ สรางคนและสรางงาน เรงจัดใหมีระบบและโครงสรางที่มีคุณภาพเปนประโยชนตอประชาชนทั้งปวงอยางแทจริง เนนคุณภาพและประสิทธิภาพมีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีทางการศึกษาและเครือขายสารสนเทศเพื่อเพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาใหคนไทยทั้งในเมืองและชนบท สามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศและภูมิปญญาทองถ่ินมาผสมผสานใหเกิดความสมดุล ในการยกระดับคุณภาพของชีวิต ซ่ึงในการพัฒนาคุณภาพของชีวิตส่ิงที่จําเปนตองมีคือการพัฒนาพื้นฐานในดานการศึกษา โดยเฉพาะดานภาษาไทยนั้น กระทรวงศึกษาธิการเห็นความสําคัญของการเรียนวิชาภาษาไทยจึงกําหนดหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนโดยมุงเนนทางดานภาษาเปนพิเศษ เพื่อรองรับการพัฒนาดานความรูและทักษะในระดับที่สูงขึ้น (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2545 : 38 ) ดังเชนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยเนนใหผูเรียนสามารถใชภาษาในการสื่อสารสามารถ ฟง พูด อาน เขียน ไดอยางถูกตองตามหลักเกณฑทางภาษา และสงเสริมใหผูเรียนเกิดความชํานาญในการใชภาษาสื่อสาร ทั้งการอานการฟง การพูดและการเขียน ดังนั้นการเรียนภาษาไทยจึงตองเรียนเพื่อการสื่อสาร เนนใหผูเรียนรับรูขอมูลขาวสารสามารถเลือกคํามาใชในการเรียบเรียง ความคิด ความรูและใชภาษาไดถูกตองตามความหมายกาลเทศะและบุคคลอยางมีประสิทธิภาพ ( กระทรวงศึกษาธิการ 2544 : 1-2 )

    จากที่กลาวมา จะเห็นไดวานโยบายการจดัการศึกษาของรัฐไดกําหนดไว สอดคลองกับสภาวการณในปจจุบันที่มีความเจริญกาวหนาทางวิทยาการดานตางๆของโลกยุคโลกาภิวัฒน ที่คนไทยจะตองเกี่ยวของกับขอมูลขาวสาร และตองเปนผูมีทักษะในการเลือกบริโภคขาวสาร สารสนเทศจากแหลงขอมูลตางๆ ซ่ึงจะตองใชภูมิปญญาในการเรียนรู ทั้งนี้ส่ิงที่เปนสื่อในการรับรูและสงขอมูลขาวสารคือภาษา ซ่ึงใชในการทําความเขาใจกันในระหวางคนในสังคม นอกจากนี ้ภาษาไทยยังเปนวัฒนธรรมอยางหนึ่งอันแสดงใหเห็นถึงความมีเอกลักษณประจําชาติ และแสดงภูมิปญญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรมประเพณี ชีวะทัศน โลกทัศนและสุนทรียภาพ โดยบันทึกไว

  • 3

    เปนวรรณกรรมอันลํ้าคา ภาษาไทยจึงเปนสมบัติของชาติที่ควรแกการเรียนรู อนุรักษ และสืบสาน ใหคงอยูคูชาตไิทยตลอดไป

    จากความสําคัญของภาษาไทยดังกลาว จะเห็นไดวาเมื่อมีการปรับปรุงหลักสูตรในยุคสมัยใด ก็ยังคงกําหนดใหมีวิชาภาษาไทยไวในทุกหลักสูตร รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรที่มีโครงสรางยืดหยุน โดยกําหนดจุดหมายไวเปนมาตรฐานการเรียนรูในภาพรวม 12 ป แบงเปน 3 ชวงชั้น ชวงชั้นละ 3 ป และกําหนดสาระการเรียนรูเปน 8 กลุมสาระ ซ่ึงเปนพื้นฐานสําคัญที่ผูเรียนทุกคนตองเรียนรู โดยแบงเปน 2 กลุมคือกลุมแรกประกอบดวยภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเปนสาระการเรียนรูที่ใชจัดการเรียนการสอน เพื่อสรางฐานการคิด และเปนกลยุทธในการแกปญหาและวิกฤตชาติ กลุมที่สองประกอบดวยสุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาตางประเทศ เปนสาระการเรียนรูที่ใชการจัดการเรียนการสอนเพื่อเสริมสรางพื้นฐานความเปนมนุษย สรางศักยภาพในการคิดและทํางานอยางสรางสรรค (กรมวิชาการ 2545 : 5) โดยสถานศึกษาตองจัดสาระการเรียนรูใหครบทั้ง 8 กลุมในทุกชั้นใหเหมาะสมกับธรรมชาติการเรียนรูและระดับพัฒนาการของผูเรียน ซ่ึงในชวงการศึกษาภาคบังคับ คือช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จัดหลักสูตรเปนรายป แบงเปนชวงชั้นตางๆ คือชวงชั้นที่1 (ป.1-3) ชวงชั้น ที่ 2 ( ป.4-6 ) ชวงชั้นที่ 3 ( ม.1-3 ) สวนมัธยมศึกษาปที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จัดเปนหนวยกิต ซ่ึงในชวงชั้นที่ 1 ( ป. 1-3 ) และชวงชั้นที่ 2 ( ป.4-6 ) นั้นการจัดการศึกษามุงเนนใหผูเรียนพฒันาคุณภาพชีวิต กระบวนการเรียนรูทางสังคม ทักษะพื้นฐานการอาน การเขียน การคิดคํานวณ การคิดวิเคราะห การติดตอส่ือสารและพื้นฐานความเปนมนุษย เนนการบูรณาการอยางสมดุลท้ังในดานรางกาย สติปญญา อารมณ สังคมและวัฒนธรรม และชวงชั้นที่ 3 ( ม.1-3 ) เนนใหผูเรียนสํารวจความสามารถ ความถนัด ความสนใจของตนเอง และพัฒนาบุคลิกภาพของตน พัฒนาความสามารถทักษะพื้นฐานดานการเรียนรูและทักษะในการดําเนินชีวิต สามารถสรางเสริมสุขภาพสวนตนและชุมชน มีความภูมิใจในความเปนไทย ตลอดจนใชเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาตอ เมื่อพิจารณาโครงสรางของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ดังกลาวจะเห็นวาวิชาภาษาไทยยังคงมีความสําคัญและเปนทักษะพื้นฐานที่จะตองเรียนรู ทั้งชวงชั้นที่ 1 (ป 1.– 3) และชวงชั้นที่ 2 ( ป.4 – 6 ) โดยมุงใหผูเรียนมีพัฒนาการทางภาษาในดานการฟง การพูด การอาน และเขียน ตามสมควรแกวัย ซ่ึงเปนสิ่งที่จะทําใหมนุษยเกิดการพัฒนาทั้งดาน ความรู ความคิด ความสามารถในดานตางๆ ทักษะภาษาทั้ง 4 ดานนั้น ทักษะการอานเปนทักษะทางภาษาที่สําคัญ และจําเปนในการดํารงชีวิตของคนในยุคปจจุบัน ซ่ึงเปนยุคของขอมูลขาวสาร

  • 4

    ที่ตองอาศัยการอานในการทําความเขาใจ และสื่อความหมายกันใหถูกตอง ยิ่งมีการนําวิทยาการและเทคโนโลยีใหมๆเขามาใชในการติดตอส่ือสาร ก็ยิ่งจะตองเพิ่มทักษะในการอานใหมากยิ่งขึ้นอีก คือตองอานไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพื่อการแสวงหาความรูความเขาใจ และติดตามขาวสารนั้นไดทัน และเนื่องจากการอานเพื่อความเขาใจเปนการเรียนรู เมื่ออานมากก็ยิ่งรูมาก ผูที่มีประสิทธิภาพในการอานเพื่อความเขาใจสูงจะไดรับทั้งความรู ประสบการณ และความบันเทิง สามารถนําไปใชใหเปนประโยชนในชีวิตได ซ่ึงมักปรากฏวา ผูที่อานเกง และอานมากจะเปนผูที่ไดเปรียบคนอื่น และมีชีวิตที่รุงเรือง ดังที่ ฟรานซิส เบคอน ( Francis Bacon อางถึงใน วรรณี โสมประยูร 2537 :120 ) ไดกลาวไววา “การอานหนังสือทําใหคนเปนคนโดยสมบูรณ” นอกจากนี้การอานยังชวยสรางสรรคความรู ความคิดที่จําเปนตอการดํารงชีวิต ดังที่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ไดกําหนดสาระการเรียนรู และมาตรฐานการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย สาระการอานวาผูเรียนควรไดใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อใชตัดสินใจและแกปญหา รวมทั้งสรางวิสัยทัศนในการดําเนินชีวิต เพื่อใหเกิดนิสัยรักการอาน (กระทรวงศึกษาธิการ 2545 :12 ) เชนเดียวกับสนิท ตั้งทวี (2538 : 27 ) และปยวรรณ ศิริรัตน (2543 : 2 ) ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานไวสอดคลองกันวาทักษะการอานเปนทักษะที่ควรไดรับการสงเสริมเปนอยางมาก เพราะเปนทักษะที่คงอยูในตัวผูเรียนมากที่สุด ผูเรียนมีโอกาสไดใชนานที่สุดแมจะสําเร็จการศึกษาไปแลว เพราะทักษะการอานเปนทักษะที่จะชวยใหผูเรียน สามารถศึกษาหาความรูเพิ่มเติมไดดวยตนเองตลอดเวลา และยังเปนทักษะที่จําเปนตองใชในชีวิตประจําวันทั้งในดานการศึกษา การทํางาน การอานจะทําใหชีวิตเกิดการพัฒนา

    จากความสําคัญของการอานที่ไดกลาวมาแลวจึงเห็นไดวา ส่ิงที่ควรนํามาสงเสริมในการเรียนการสอนอานเพื่อใหการอานมีประสิทธิภาพ คือการฝกใหนักเรียนรูจักคิดวิเคราะหจับประเด็นในเรื่องที่อานสามารถเขาใจเรื่องที่อานได ซ่ึงหมายถึงการอานเพื่อความเขาใจ ดังที่ ประทีป แสงเปยมสุข (2538 : 54) ไดกลาวถึงการอานที่มีประสิทธิภาพวาเปนการอานเพื่อความเขาใจเนื้อหาหรือขอความที่อาน กลาวคือการอานจะเกิดประโยชนกับนักเรียนตอเมื่อนักเรียนเขาใจเรื่องที่อานสามารถพัฒนาการอานในขั้นสูงขึ้นไปได สวนนิลวรรณ สิทธิอาษา ( 2539 : 3 ) และฉวีวรรณ ไททอง ( 2540 : 2 ) ไดกลาวสอดคลองกันวาการอานมีคุณประโยชนอยางยิ่งที่ครูควรสนับสนุน และนักเรียนควรไดรับการฝกฝนเพิ่มขึ้นคือการอานเพื่อความเขาใจ เพราะถานักเรียนมีความเขาใจในเรื่องที่อานไดอยางถูกตองนักเรียนก็จะไดรับความรูอยางเต็มที่ เนื่องจากเปาหมายหลักของการอานคือสอนใหผูเรียนเกิดความเขาใจในสิ่งที่อาน

  • 5

    สมุทร เซ็นเชาวนิช (2529 : 92 ) ไดกลาววา การอานเพื่อความเขาใจมีความสําคัญและความเขาใจเปนองคประกอบที่สําคัญของการอาน เพราะถาอานแลวไมเกิดความเขาใจใดๆเลยก็อาจกลาวไดวาการอานที่แทจริงยังไมเกิดขึ้น การอานในลักษณะนี้จึงเปนไดแคเพียงเห็นตัวหนังสือที่ปรากฏอยูบนหนากระดาษเทานั้น ไมส่ือความหมายอะไรทั้งสิ้น นอกจากจะทําใหเสียเวลาโดยเปลาประโยชนแลวยังไมไดอะไรจากการอานนั้นดวย วรรณี โสมประยูร(2542 :20) และ กองเทพ เคลือบพนิชกุล ไดกลาวไวสอดคลองกันวา การอานเพื่อความเขาใจเปนส่ิงที่สําคัญยิ่งในชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะในการศึกษาเลาเรียนในทุกระดับ ผูเรียนจําเปนตองอาศัยการอานเพื่อความเขาใจ ทําความเขาใจในเนื้อหาสาระของวิชาตางๆ เพื่อใหตนเองไดรับความรูและประสบการณตามที่ตองการ นอกจากนี้ยังมีนักการศึกษาจากตางประเทศ ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานเพื่อความเขาใจไวเชนกัน เชน บูมส โร และ รอส ( Bums,Roe and Ross1984 ,อางถึงใน กลา พิมพวงษ 2543: 9 ) กลาวถึงความสําคัญของการอานเพื่อความเขาใจวาทําใหนักเรียนมีความสามารถที่จะเขาใจเรื่องราวนั้นๆ โดยใชกระบวนการคิดที่ซับซอนซ่ึงไมสังเกตหรือศึกษาไดโดยตรง แฮนเซน(Hansen1981:19) ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานเพื่อความเขาใจวาเปนทักษะสําคัญที่จะนําไปสูความสําเร็จในการเรียน และเปนพื้นฐานสําหรับการศึกษาในระดับสูงขึ้นไป ผูเรียนจะตองใชเวลาสวนใหญในการอานเพื่อเรียนรูทําความเขาใจและระลึกถึงสาระสําคัญที่อธิบายในตําราได เชนเดียวกับ กูดแมน (Goodman 1971: 27 ) กลาววาการอานเพื่อความเขาใจจะชวยใหนักเรียนไดพัฒนาสมองและความคิด เพราะการอานเพื่อความเขาใจเปนกระบวนการในการหาความหมาย และทําความเขาใจกับเนื้อหาที่อานจึงเปนกระบวนการที่ตองใชความคิดอยูตลอดเวลา ดังนั้นหัวใจของการอานก็คือความเขาใจในสิ่งที่อาน

    นอกจากทักษะการอานแลว การเขียนก็เปนอีกทักษะหนึ่งที่มีความสําคัญดังที่ วรรณี โสมประยูร ( 2542:18 ) กลาววาการเขียนเปนการถายทอดความรูสึกนึกคิดและความตองการของบุคคลออกมาเปนสัญลักษณหรือตัวอักษร เพื่อส่ือความหมายใหผู อ่ืนเขาใจและเปนเครื่องมือพัฒนาสติปญญาของบุคคล โดยถือวาเปนการแสดงออกถึงภูมิปญญาเปนเครื่องมือในการถายทอดมรดกทางวัฒนธรรมไดอีกวิธีหนึ่ง นอกจากนี้ ประทีป แสงสุขเปยม (2538:54 ) ไดสรุปถึงความสําคัญของการเขียนไววา การเขียนเปนทักษะการแสดงออกที่สําคัญ ในการเรียนการสอนเกือบทุกวิชาตองอาศัยการเขียน เพื่อบันทึกเพื่อรวบรวมถอยคําของครูของเพื่อน หรือของวิทยากรเพื่อรายงานหรือยอส่ิงที่ไดยินไดฟง และเพื่อเขียนตอบปญหาตางๆ ดังนั้นการเขียนจึงเปนรากฐานในการเรียนวิชาตางๆ และการเขียนที่มีความสําคัญคือการเขียนสะกดคําถาหาก

  • 6

    เขียนคําผิดพลาดคลาดเคลื่อนหรือบกพรองก็จะทําใหความหมายของคําเปลี่ยนไป ซ่ึงสอดคลองกับคํากลาวของ ผดุง อารยะวิญู ( 2544:23 ) ที่วาการเขียนเปนทักษะสูงสุดในกระบวนการทางภาษา เปนการแสดงออกถึงแนวความคิดของผูเขียนโดยผูเขียนจะตองนําคําในภาษามารอยเรียงกันอยางเปนระบบถูกตองตามหลักภาษาไทย แตปจจัยสําคัญที่ทําใหการเขียนมีความถูกตองนั้นจะตองใชการฝกฝนความจําในการสะกดคํา เนื่องจากการเขียนสะกดคําเปนพื้นฐานที่จําเปน การที่จะเขียนใหเปนประโยคหรือเร่ืองราวตองเริ่มจากการฝกสะกดคําใหถูกตองกอน ซ่ึงสอดคลองกับ สาวิตรี เทพิกัลป (2535 : 10, อางถึงใน ขวัญเรือน วุฒิกมลชัย 2541 : 34 ) ไดใหความเห็นวา การเขียนสะกดคํามีความสําคัญที่สุดในการสื่อความหมายดวยวิธีเขียน และเพิ่มพูนทักษะในการเขียน การเขียนผิดก็เหมือนกับการพูดผิด ความหมายของคําก็เปลี่ยนไปและประสิทธิภาพของการเขียนก็จะลดลง ในทางตรงกันขามการเขียนสะกดคําไดถูกตองจะชวยใหผูอานเขาใจขอความที่เขียนไดถูกตองและจะทําใหผูเขียนมั่นใจในการเขียนของตนมากยิ่งขึ้น และในขณะเดียวกัน ประสิทธิภาพของการเขียนก็จะเพิ่มมากขึ้นดวย เชนเดียวกับ อมรรัตน คงสมบูรณ (2536 :13) ไดกลาววาการเขียนสะกดคํานับวาเปนทักษะการเขียนที่สําคัญมากครูผูสอนภาษาไทยทุกคนควรจะไดฝกฝนใหนักเรียนเขียนสะกดคําใหถูกตองเพราะเปนพืน้ฐานของการเขียนดานอื่น ๆ ถาเด็กอานออกเขียนไดถูกตองก็จะสามารถนําประโยชนจากการเขียนไปใชในวิชาอื่น ๆ ไดอยางดีมีประสิทธิภาพ

    นอกจากการเขียนสะกดคําจะมีความสําคัญตอผู เขียน เพื่อให เขียนสื่อสาร ไดถูกตอง การเขียนสะกดคํายังมีความสัมพันธกับการอาน ทั้งนี้เพราะผูเขียนจะสงสารสื่อความหมายดวยคําประโยค ขอความและเรื่องราว ผูอานก็จะรับสารดวยการอานคําแปลความหมายของคํา ประโยค ขอความ และเรื่องราวนั้นๆ ดังนั้นการสงสารรับสารนี้ จะมีประสิทธิภาพตอเมื่อผูเขียนใชคําไดตรงความหมาย และเขียนสะกดคําถูกตอง ผูอานจึงจะรับรูถูกตอง ถาผูเขียนเขียนสะกดคําผิดหรือใชคําผิดความหมาย ยอมจะทําใหผูอานเขาใจความหมายผิด ทําใหการสื่อสารครั้งนั้นไมประสบผลสําเร็จ ดังนั้นจึงกลาวไดวาทักษะการเขียนสะกดคํามีความสําคัญและสัมพันธกับประสิทธิภาพของการสื่อสาร ปญหาการวิจัย

    จากผลการประเมินคุณภาพทางการศึกษาของสํานักทดสอบทางการศึกษา กระทรวง ศกึษาธิการ ปการศึกษา 2547 ดานความรู ความคิดวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และชั้นประถมศึกษาปที่ 6 พบวามคีะแนนอยูในระดับต่ํากวาเกณฑที่กําหนด

  • 7

    (กระทรวงศึกษาธิการ 2547 :คํานํา) และผลการสังเคราะหงานวจิัยเกี่ยวกับการเรยีนการสอนวิชาภาษาไทยในระดับประถมศกึษาของกองวจิัยการศกึษา พุทธศักราช 2542 จํานวน 26 เรื่อง พบวา คุณลักษณะ และความสามารถทางภาษาไทยของนักเรียนตามทีห่ลักสูตรกําหนดไวอยูในระดับปานกลาง คือ มีคาเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาไทย รอยละ 65-75 (กระทรวงศึกษาธิการ 2539 :70) และผลจากการสัมมนาเรื่องทางสูความสําเร็จในการสอนภาษาไทยในระดบัประถมศึกษา โครงการเรารักภาษาไทยของสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต ิ พบวาปญหาสําคัญในการสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษาคือปญหาดานการเขียนสะกดคํายาก การเขียนเรียงความ ปญหาในดานการฟง ปญหาดานการอานเพื่อความเขาใจ การอานจับใจความ และปญหาดานความเขาใจในหลักเกณฑทางภาษา (สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ 2542 : บทนํา) และจากการประเมินคุณภาพการศึกษาของนักเรียนระดบัประถมศึกษา ในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 ปรากฏวาผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 4 วิชาภาษาไทยอยูในระดับต่ําตอเนื่องกัน 3 ปโดยตลอด คือปการศึกษา 2547 , 2548 , 2549 พบวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยของนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเปนรอยละ 51.17 , 54.28 และ 55.55 ตามลําดับ ซ่ึงถือวาต่ํากวาเกณฑรอยละ70 ที่สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต3 กําหนด (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 2549 : 3) และเมื่อพิจารณาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ของโรงเรียนตางๆ ทั้ง 6โรงเรียน ในสหวิทยาเขตพระอาจารยธรรมโชติ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต3 พบวาอยูในระดบัต่ํากวาเกณฑของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 เปนเวลาตอเนื่อง 3 ปเชนกัน คือ ปการศึกษา 2547 , 2548 , 2549 โดยมีคะแนนเฉลี่ยคดิเปนรอยละ 59.20 , 61.78 และ60.00 ตามลําดับ นอกจากนี้ผลการประเมินดานการอานเพื่อความเขาใจ การคิดวิเคราะห เขียนสื่อความ การประเมินผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยพบวานักเรยีนชั้นประถมศกึษาปที ่ 4 ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 รอยละ 80 นักเรียนไมผานสาระที่ 1 การอาน มาตรฐานที1่.1 ขอที่ 1.การอานคําใหมและคํายากที่มีอักษรนํา อักษรควบ ตัวการนัตและการผันวรรณยุกต ขอที่ 3. การอานเขาใจความหมายของคํา การอานคลองและเรว็ สาระที ่4 หลักการใชภาษา มาตรฐานที่ 4.1 ขอที่ 1.สามารถสะกดคําในวงคําศพัทที่กวางและยากขึ้น อานและเขียนคําไดถูกตอง ขอที่ 2. สามารถใชคํา กลุมคําตามชนิดและหนาที่มาเรียบเรียงเปนประโยคใชประโยคส่ือสารชัดเจนรูจักคําที่มีความหมายโดยตรงและโดยนัย (สํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาสุพรรณบรีุ เขต 3 2548 : 4 )

  • 8

    ผูวิจัยในฐานะที่เปนครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยไดสังเกตพฤติกรรมการเรียนและจัดการเรียนการสอนดานการอานเพื่อความเขาใจและการเขียนสะกดคํายาก พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ํากวาเกณฑ อาจมีสาเหตุหลายดาน คือ 1.) ผูเรียน สวนใหญไมมีความรูทักษะพื้นฐานที่ดีในเรื่องของหลักเกณฑทางภาษา เร่ิมตั้งแตทักษะการอานและการเขียนเกี่ยวกับรูปพยัญชนะ และเสียงพยัญชนะ สระ วรรณยุกต การแจกลูก การสะกดคํามาตราตัวสะกด การผันอักษร จึงทําใหไมมีความเขาใจในเรื่องที่อานและเขียนส่ือความไมถูกไมรูความหมาย เกิดความสับสนในการสะกดคําโดยเฉพาะคําที่สะกดไมตรงมาตรา 2.) ผูเรียนมีทัศนคติที่ไมดีตอการเรียนวิชาภาษาไทยและเกิดความเบื่อหนาย 3.) กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูไมเนนขั้นตอนในการจัดกิจกรรม และไมเนนใหนักเรียนไดมีการฝกปฏิบัติอยางจริงจัง ซ่ึงธรรมชาติของวิชาภาษาไทยนั้นเปนวิชาที่ตองใชทักษะและการฝกฝนอยูเสมอ 4.) ครูขาดความรูความเขาใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สวนใหญใชวิธีการสอนแบบบรรยาย 5.) ครูไมมีการเตรียมการสอนไมเนนการใชส่ือประกอบการสอน และส่ือการสอนที่มีอยูไมสามารถตอบสนองความสนใจของผูเรียนได 6.) การจัดกิจกรรมการสอน ครูไมเนนเด็กเปนศูนยกลาง 7.) จัดครูเขาสอนไมตรงวุฒิการศึกษาและความชํานาญ

    จากปญหาที่เกิดขึ้นทําใหผูวิจัยรูสึกตระหนักและเห็นวา ครูผูสอนและผูที่เกี่ยวของกับการศึกษาควรเห็นความสําคัญในการดําเนินงานแกไข โดยจะตองมีการพัฒนารูปแบบการสอนใหม ๆที่มีประสิทธิภาพและตรงกับวัตถุประสงคที่กําหนด ซ่ึงการพัฒนารูปแบบการสอน มิใชเพียงเพื่อชักจูงหรือกระตุนความสนใจของนักเรียนเทานั้น แตควรเปนรูปแบบการสอนที่สงเสริมและพัฒนาการเรียนรูไปสูมาตรฐานที่กําหนดไว ( กระทรวงศึกษาธิการ 2545 : 21 ) และในการจัดกิจกรรมสงเสริมใหนักเรียนไดมีการพัฒนาดานการอานเพื่อความเขาใจ และการเขียนภาษาไทยใหมากขึ้นนั้น ควรมีการพัฒนาการเรียนของนักเรียนที่เนนดานการอานเพื่อความเขาใจและการเขียนสะกดคํายากอยางจริงจัง โดยการพัฒนารูปแบบวิธีการจัดการเรียนการสอนของครู ใหสอดคลองกับแนวทางการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ที่เนนการจัดการเรียนรูใหสนองตอบตอความสนใจของผูเรียน โดยคํานึงถึงหลักจิตวิทยาพัฒนาการและจิตวิทยาการเรียนรู นอกจากนี้ควรจัดกิจกรรมการเรียนรูใหมีการเชื่อมโยงกันโดยใชทักษะการอานเปนส่ือในกา�