บทที่ 3 ระบบสุริยะ

Post on 26-Jun-2015

5.181 views 6 download

Tags:

Transcript of บทที่ 3 ระบบสุริยะ

ครูณรงค์ศักด์ิ พลแก้ว โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม

ระบบสุริยะ

ลักษณะของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

ขนาดของดาวเคราะห ์

ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ

ความสมมาตรในระบบสุริยะและระยะทางของดาวเคราะห์

ระนาบดาวเคราะหเ์กือบจะซ้อนทับกับระนาบอิคลิปติก

ความสมมาตรในระบบสุริยะและระยะทางของดาวเคราะห์

การโคจรและการหมุนรอบตัวเองของดาวเคราะห์

ความสมมาตรในระบบสุริยะและระยะทางของดาวเคราะห ์

แกนเอียงของดาวเคราะห์

ความสมมาตรในระบบสุริยะและระยะทางของดาวเคราะห ์

ดาวเคราะห์ทั้งหมดโคจรในทิศทางเดียวกับที่ดวงอาทติย์หมุนรอบตัวเอง และวงโคจรเกือบจะซ้อนทับระนาบอิคคลิปติก ดาวเคราะห์ทุกดวง

หมุนรอบตัวเองเหมือนดวงอาทิตย์ ยกเว้น ดาวศุกร์และยูเรนัส และบริวารของดาวเคราะห์ก็โคจรแบบดาวเคราะห์เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย ์

มีนักวิทยาศาสตร์ 2 ท่าน คอื ทิเทียสและโบด ได้สร้างสมการแสดงความสัมพันธร์ะยะทางเฉลี่ย ( dn) ของดาวเคราะห์ต่างๆจากดวงอาทติย์ดังนี้

dn = 0.4+ (0.3 x 2n)

โดย n = 0, 1, 2, ........... ตามล าดับ นับตัง้แต่ดาวศุกร์ออกมา

จากตารางพบว่าที่ระยะ ที่ไม่มีดาวเคราะห์นั้นเป็นแถบของดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์ ระยะทางจากสูตร ระยะทางจริง

พุธ 0.4 0.39

ศุกร์ 0.7 0.72

โลก 1.0 1.00

อังคาร 1.6 1.52

- 2.8 -

พฤหัส 5.2 5.20

เสาร ์ 10.0 9.55

ยูเรนัส 19.6 19.20

เนปจูน 38.8 30.10

พลูโต 77.2 39.50

การจ าแนกพวกและการเรียกชื่อดาวเคราะห์ตามระบบต่างๆ

การจ าแนกพวกของดาวเคราะห์สามารถแบ่งได ้3 วิธี คือ

1. ก าหนดจากวงโคจรของโลกเปน็หลัก

2. ก าหนดจากวงโคจรของแถบดาวเคราะห์น้อยเป็นหลัก

3. พิจารณาจากความคล้ายคลึงกบัโลก

ก าหนดจากวงโคจรของโลกเป็นหลัก

1. Inferior Planets

คือดาวที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากว่าโลก

ได้แก่ พุธและศุกร์

2. Superior Planets

คือดาวที่อยู่ไกลดวงอาทิตย์มากกว่าโลก

ได้แก่ อังคาร พฤหัสฯ เสาร์ ยูเรนัสและเนปจูน

ก าหนดจากวงโคจรของแถบดาวเคราะห์น้อยเป็นหลัก 1. Inner Planets หรือ ดาวเคราะห์วงใน ได้แก่ ดาวพุธ ศุกร์ โลกและอังคาร

2. Outer Planets หรือ ดาวเคราะห์วงนอก ได้แก่ พฤหัสฯ เสาร์ ยูเรนัสและเนปจูน

พิจารณาลักษณะดาวเคราะห์ที่คล้ายคลึงกับโลก 1. Terrestrial Planets คือ ดาวเคราะห์ที่เหมือนโลก คือ พุธ ศุกร์ โลกและอังคาร

2. Jovian Planets คือ ดาวเคราะห์ทีเ่หมือนดาวพฤหัสฯ คือ พฤหัสฯ เสาร์ ยูเรนัส เนปจูน

Terrestrial Planets

Jovian Planets

คุณสมบัติของดาวเคราะห์วงใน

คุณสมบัติของดาวเคราะห์วงนอก

ความหนาแน่นของดาวเคราะห์

ดาวเคราะห์วงในจะมีความหนาแน่นมากกว่าดาวเคราะห์วงนอก

20/12/54 23

“ดาวเคราะห์” (planet) ต้องเป็นวตัถุบนท้องฟ้าที่ 1. โคจรรอบดวงอาทิตย์,

2. มีมวลมากพอที่จะมีแรงโน้มถ่วงดึงดูดตัวเองให้อยู่ในสภาวะสมดุลอุทกสถิต (hydrostatic equilibrium) หรือรูปร่างใกล้เคียงกับทรงกลม และ

3. มีวงโคจรที่ชัดเจนและสอดคล้องกับดาวเคราะห์ข้างเคียง “ดาวเคราะห์แคระ” (dwarf planet)

เป็นประเภทใหม่ของดาวที่มีลักษณะคล้ายกับดาวเคราะห์ แต่ไม่เข้าข่าย รวมถึงดาวเคราะห์น้อยบางดวง ซึ่งดาวเคราะห์แคระนั้น จะต้องเปน็วัตถุบนท้องฟ้าที่

1. โคจรรอบดวงอาทิตย์, 2. มีมวลมากพอที่จะมีแรงโน้มถ่วงดงึดูดตัวเองให้อยู่ในสภาวะสมดุลอุทกสถิต

(hydrostatic equilibrium) หรือรูปร่างใกล้เคียงกับทรงกลม, 3. มีวงโคจรไม่สอดคล้องกับดาวเคราะห์ข้างเคียง และ

4. ไม่ใช่จันทร์บริวาร “วัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ” (Small Solar System Bodies)

หมายถึงวัตถุบนท้องฟ้าอื่นๆ ที่ไม่เข้าข่าย 2 ประเภทแรก และไม่ใช่วัตถุที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งในชั้นนี้หมายรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย (asteroids), ดาวหาง (comets), วัตถุขนาดใหญ่นอกวงโคจร

ของดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Objects-TNO) และ วัตถุขนาดเล็กอื่นๆ

14 – 24 ส.ค.49