e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2....

12
e-Library โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัติ ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัติ พระภาวนาวิสุทธิคุณ ธันวาคม ๒๕๓๒ P405 วันนี้จะชี้แจงภาคปฏิบัติธรรม แยกรูปแยกนามในโพธิ ปกขิยธรรมใหญาติโยมฟง เพื่อนํามาเปนหลักปฏิบัติตามทีพระพุทธเจาทรงสอนไว เหตุผลที่ใหปฏิบัติโดยไมหวงภาควิชาการ ใหปฏิบัติคนหา เหตุผลใหกุศลเกิดขึ้นจากวิธีปฏิบัติ ใหผุดขึ้นมาในดวงใจเองนั้น เพราะทานทิ้งความรูเดิมที่เปนทิฐิมานะในชีวิตของตนใหหมด จากจิตใจไป การปฏิบัติจริงนั้น เกิดจากดวงใจคือภาวนา เปน ปญญาใสสะอาด ผุดขึ้นมาเอง จึงจะเปนการปฏิบัติไดของ จริงดวยความถูกตอง ดังนั้นจึงตอง หามดูหนังสือ หามคุยกัน ที่พูดย้ํามานาน คือ กินนอย นอนนอย ทําความเพียรมาก หากปฏิบัติไดตามองค

Transcript of e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2....

Page 1: e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2. 23. · e-Library โพธิป กขิยธรรมภาคปฏ ิบัติ

e-Library

โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ๑

ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัติ

พระภาวนาวิสุทธิคุณ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๒

P405

วันน้ีจะชี้แจงภาคปฏิบัติธรรม แยกรูปแยกนามในโพธิปกขิยธรรมใหญาติโยมฟง เพ่ือนํามาเปนหลักปฏิบัติตามที่พระพุทธเจาทรงสอนไว เหตผุลที่ใหปฏบัิติโดยไมหวงภาควชิาการ ใหปฏิบัติคนหาเหตผุลใหกุศลเกิดขึ้นจากวิธีปฏิบัติ ใหผุดขึ้นมาในดวงใจเองนั้น เพราะทานทิ้งความรูเดมิที่เปนทิฐิมานะในชีวติของตนใหหมดจากจิตใจไป การปฏิบัติจริงนั้น เกิดจากดวงใจคอืภาวนา เปนปญญาใสสะอาด ผดุขึ้นมาเอง จึงจะเปนการปฏิบัติไดของจริงดวยความถูกตอง ดังน้ันจงึตอง หามดูหนังสือ หามคุยกัน ที่พูดย้าํมานาน คือ กินนอย นอนนอย ทําความเพียรมาก หากปฏิบัติไดตามองค

Page 2: e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2. 23. · e-Library โพธิป กขิยธรรมภาคปฏ ิบัติ

e-Library

โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ๒

ภาวนานี้ ก็จะพบวิชาการ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงศึกษาคนพบดวยพระองคเอง เรียกวาวชิาพนทุกข และมาแยกแยะออกไปในรูปนาม ขันธ ๕ เปนอารมณ อายตนะ ธาต ุอินทรีย บอกหนาที่การงาน พละ ๕ ประการ เปนตน ก็ไดจากวธีิปฏิบัตภิาวนานี้ทั้งหมด พระอรหันตสมยัพุทธกาล ม ี พระมหากสัสปเถระ เปนประธานหระชุมกันทาํสังคายนา รวบรวมทองจําแลว จารกึเปนพระไตรปฎก หยบิยกขึ้นมาเปนวิชาการใหพวกเราไดศึกษาและปฏบัิติธรรมตราบจนทุกวนัน้ี การแสวงหาทีส่งบในอรัญราวปา คือรุกขมูล เปนการปฏิบัติใหจิตสงบ ในเมื่อจิตสงบไมฟุงซานแลว ปญญาก็เกิดขึ้นในสังขารที่ปรุงแตง เกิดเปนวิญญาณ แสดงทาทอีอกมา โดยแยกรูป แยกนาม ขันธ ๕ เปนอารมณออกมาได โดยวิธีน้ีถือวาเปนขอปฏิบัต ิ แต ปฏบิัติเกิดกอนปริยัติ แน พระพุทธเจาไปปฏบัิติกอน จนสําเร็จสัมโพธิญาณแลว จึงไดแยกแยะออกไป เปนจิต เจตสิก รูป นิพพาน ออกไปตามรูปการณอยางนี ้

Page 3: e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2. 23. · e-Library โพธิป กขิยธรรมภาคปฏ ิบัติ

e-Library

โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ๓

ในการปฏิบัติจะเหลือ ๒ คือ สติ สัมปชัญญะ ที่กําหนด ใชสติกําหนดจิต ใหจิตรูหนาที่การงานโดยถูกตอง แลวจะเหลืออยูหน่ึงเดยีว คือความไมประมาท ดําเนินชีวิตดวยความถูกตอง น่ีเปนหลกัปฏิบัต ิ ตอไปน้ีจะบรรยาย โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ใหญาติโยมฟง คําวา โพธิปกขิยธรรม แยกออกแลวมีความหมายอยางนี้ โพธิ แปลวา รู รูโดยความหมายของคําวาโพธิน้ี หมายถึงการรูที่จะทําใหสิ้นอาสวะ คือ รูอริยสัจ ๔ ปกขิยะ แปลวา ที่เปนฝายโพธิปกขิยธรรม จึงหมายความวา ธรรมที่เปนฝายรูถึงมรรคผล ถาจะแปลสั้น ๆ ก็วา ธรรมที่เปนฝายใหถงึการตรัสรู โพธิปกขิยธรรมนี้ แบงออกเปน ๗ กอง รวมเปนธรรมะ ๓๗ ประการ ในธรรม ๓๗ ขอน้ี จะไดองคธรรมที่ไมซํ้ากัน ๑๔ องค ขอใหทําความเขาใจไวกอนตามที่กลาวนี้ โพธิปกขิยธรรม ๗ กอง ไดแก

๑. สติปฏฐาน มี ๔ ประการ

Page 4: e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2. 23. · e-Library โพธิป กขิยธรรมภาคปฏ ิบัติ

e-Library

โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ๔

๒. สัมมัปปธาน มี ๔ ประการ ๓. อิทธิบาท มี ๔ ประการ ๔. อินทรีย มี ๕ ประการ ๕. พละ มี ๕ ประการ ๖. โพชฌงค มี ๗ ประการ ๗. มรรค ม ี๘ ประการ

กองที่ ๑ ไดแก สติปฏฐาน ๔ ที่ปฏบัิติอยู ณ บัดนี้ สติ ความระลึกรูอารมณ เปนธรรมฝายด ีรูทันอารมณในสติปฏฐาน ไดแก กาย เวทนา จติ ธรรม สติทีร่ะลึกรู กาย เวทนา จติ ธรรม มีจุดประสงคจําแนกเปน ๒ ทาง คือ ๑. ถาเจริญสมถภาวนา ก็พิจารณาตัง้มั่นในบัญญัติ เพ่ือใหจิตสงบ มอีานิสงสใหบรรลุ ฌานสมาบัต ิ๒. ถาเจริญวิปสสนาภาวนา สติก็พิจารณาตั้งมั่นอยูในรูปนาม เพ่ือให เกิดปญญา เห็นพระไตรลักษณ คอื อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา มีอานสิงสใหบรรลุถึงมรรค ผล นิพพาน การพิจารณาไตรลักษณก็เพ่ือใหรูสภาพตามความเปนจริงวา สิ่งทัง้หลายที่ยึดถือเปนตวัตน เปนชายหญิงน้ัน ลวนแตเปนเพียงรูเปนเพียงรปูกับนามเทานั้น และรูปนามเหลานั้นยังมี

Page 5: e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2. 23. · e-Library โพธิป กขิยธรรมภาคปฏ ิบัติ

e-Library

โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ๕

ลักษณะเปน อนิจจัง เปนทกุขัง เปนอนัตตา หาแกนสารไมไดเลย จะไดไมตดิอยูในความยนิดีพอใจ อันเปนการเริ่มตนที่จะใหถึงการดับทุกขตอไป ฉะน้ันสติปฏฐาน ๔ จึงเปนทางสายเอก จัดวาเปนทางสายเดยีวทีส่ามารถใหผูทีด่ําเนินตามทางนี้ ถึงความรอบรูความจริงจนบรรลุพระนิพพาน ดังน้ันผูปรารถนาจะบรรลุถึงมรรค ผล นิพพาน ตองเร่ิมตนดวยสติปฏฐาน เพื่อบรรลญุาณธรรม เพ่ือทําใหแจงซ่ึงพระนิพพาน ญาณธรรม คอื ธรรมที่ควรรูมีอยู ๕ ประการ ไดแก ๑. สังขาร คือ ธรรมที่ปรุงแตง ไดแก จิต เจตสิก รูป ๒.วิกาล คือ ธรรมที่เปล่ียนแปลงผันแปร ไดแก ธรรมที่เปล่ียนแปลง ผันแปรของสัตว ทีเ่ปนไปในภพตาง ๆ ๑. ลักษณะ คือ ธรรมที่เปนเหตใุหรูใหเห็น ไดแกลักษณะของสภาวะ

๒. นิพพาน คือ ธรรมที่พนจากกิเลส คือ อสังขตธรรม อสังขตธรรมนี้เราก็จะมองเหน็เดนชดัเชนเดยีวกัน

๓. บัญญัติ คือ ธรรมที่สมมติใชพูดจาเรียกขานกัน ไดแก อัตถบัญญัติ และสัททบัญญัติ

Page 6: e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2. 23. · e-Library โพธิป กขิยธรรมภาคปฏ ิบัติ

e-Library

โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ๖

อารมณของสติปฏฐาน มี ๔ อยาง คือ ๑. กายานุปสสนาสติปฏฐาน คือ สติทีต่ั้งมั่นพิจารณา

กายเนอืง ๆ ไดแกสติที่กําหนดรู ที่เรากําหนดอยู ณ บัดนี้ ลมหายใจเขา ลมหายใจออก อิริยาบถใหญ คือ ยืน เดนิ น่ัง นอน อิริยาบถยอย ไดแกการเคลื่อนไหว คูเหยยีด เหยยีดขา เปนตน เพ่ือใหตระหนักวา การยืน การเดิน น่ัง นอน อันเปน

การเคลือ่นไหวของรางกายนั้น เกดิจากธาตุลมทีม่ีอยูในรางกาย โดยอํานาจของจิต

ทางธรรมะ เรียกวา รูป คือ รูปที่เกดิจากจติ หาไดมีผูใดมาบงการแตอยางใดไม ในบางแหงจะพบวาพิจารณากายในกาย หรือ กายในอันเปนภายใน กายในอันเปนภายนอก คาํเหลานี้เปนภาษาธรรมะ อธิบายกันเปนหลายนัย เชน

กาเยกายานุปสสี แปลวาเห็นกายในกาย คาํวา กาเย หมายถงึ รูปกับกาย คือ กัมมัชรูป แตรางกาย มทีั้งจิต เจตสิก และรูป สวนคําวา กายานุปสสี หมายเพียงให กําหนดดูแตรูปธรรม เทานั้น คือดูรูปอยางเดยีว ไมใชดูจติ เจตสิกที่มีอยูในรางกายดวย

Page 7: e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2. 23. · e-Library โพธิป กขิยธรรมภาคปฏ ิบัติ

e-Library

โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ๗

คําวา กายในกาย หมายตรงวา รูปในรูป แตในรางกายนี้มีมากมายหลายรูป แตใหพิจารณาดูรูปเดยีวในหลาย ๆ รูปน้ัน

เชนจะพิจารณาลมหายใจ เขาออก พองหนอ ยุบหนอ คือ ลมหายใจเขากพ็อง ลมหายใจออกก็ยุบ ก็พิจารณาวาโยธาตุแตรูปเดยีว เรียกวาอานาปาณสต ิ ลมหายใจเขาออก พองหนอ ยุบหนอ เรียกวา อานาปาณสต ิ

สวนคําวา กายในอันเปนภายใน และกายในอันเปนภายนอกนั้น ถาพิจารณาดูรูปในกายของตนเองก็เปนภายใน รูปในกายผูอ่ืนถือวาเปนภายนอก ดังน้ี ๒. เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน การพิจารณาเวทนานี้ ใช

ในการเจริญวิปสสนาอยางเดียว ตางกับพิจารณากาย ใชไดทั้งสมถะและวิปสสนา เพราะจะเพงเวทนาโดยความเปนอารมณของสมถกรรมฐานใหเกิดฌานจิตหาไดไม การพิจารณาเวทนา จะเปนสุขเวทนา ทุกขเวทนา

หรือ อุเบกขาเวทนากด็ี เปนธรรมชาติที่ไมมีรูปรางสัณฐานที่จะใหเห็นไดดวยตา จงึมิใชรูปธาตุ แตเปนนามธาต ุ

Page 8: e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2. 23. · e-Library โพธิป กขิยธรรมภาคปฏ ิบัติ

e-Library

โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ๘

เวทนาจะเกิดขึ้นเมื่อมีเหตุปจจัย จะหามไมใหเกดิก็หามไมได ครั้นเมื่อหมดเหตปุจจยักจ็ะดับไปเอง หมดไปเอง เปนตน

อน่ึง ความหมายเวทนาในเวทนานี ้ และเวทนาในเวทนาอันเปนภายใน ภายนอกก็เปนทํานองเดียวกับกายในกายตามที่กลาวมาแลว

ความจริงเวทนาก็เกิดอยูทุกขณะ ไมมีเวลาวางเวนเลย คนทั้งหลายก็รูสึกสุขบาง ทุกขบาง เพราะไปยดึวา เราสุข เราทุกข จงึไมอาจรูสภาวะความเปนจริงได เวทนานี้เวลาเกดิขึ้นก็จะเกิดแตอยางเดียว เปนเจตสิกธรรม ปรุงแตงใหจิตรับรู ๓. จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน สติตัง้มั่นพิจารณาเนือง ๆ

ซ่ึงจิต ก็คือวิญญาณขันธ ที่กําหนดพิจารณาจติ ก็เพ่ือใหรูเทาทันวา จติที่กําลงัเกิดอยูน้ันเปนจิตชนิดใด จิตเปนโลภ จติโกรธ จิตหลง จิตฟุงซาน จิตที่เปนสมาธ ิหรือ ไมเปนสมาธิ เพ่ือใหประจักษชัดวา ที่มีความรูสกึโลภ โกรธ หลง

หรือ ศรัทธา ฟุงซาน เกียจคราน เปนอาการของจิต เปนธรรมชาติที่เปนนามธรรม ยอมเปนไปตามเหตุปจจัยที่มา

Page 9: e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2. 23. · e-Library โพธิป กขิยธรรมภาคปฏ ิบัติ

e-Library

โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ๙

ปรุงแตง เพ่ือรับอารมณ เมื่อหมดเหตุปจจัย อาการนั้น ๆ ก็ดับไปเอง ไมมีอะไรเหลืออยู

อันสภาวธรรมที่เรียกวา จิต น้ัน เปนธรรมชาตทิีไ่มมีตัวตน เห็นดวยตาก็ไมได จึงไมใชรูปธรรม แตเปนนามธรรม เปนนามจิต ไมใชนามเจตสิก เชนเวทนา เปนตน

ที่วาจติในจิต หรือ จิตภายใน จิตภายนอกนั้น ก็เชนเดยีวกับที่กลาวมาแลวขางตนเหมือนกัน ๔. ธรรมานุปสสนาสติปฏฐาน สตติัง้มั่นพิจารณาเนือง ๆ

ซ่ึงธรรม มีนิวรณ อุปาทานขันธ อายตนะ โพชฌงค อริยสัจ ธรรมานุปสสนาสติปฏฐานนี้ เปนสติในการเจริญวิปสสนาแตอยางเดยีว เปนการพิจารณาใหรูใหเหน็ทัง้รูปทั้งนาม จึงกลาวไดวา การพิจารณา กาย เวทนา และจิต ยอมรวมลงไดใน ธรรมานุปสสนาสติปฏฐานทั้งสิ้น สรุปแลวการเจริญสติปฏฐาน ๔ ก็เพ่ือใหเกิดปญญารู

วา กายก็สักแตวากาย เวทนาก็สักแตวาเวทนา จิตก็สักแตวาจติ ลวนแตเปนเพยีงธรรมชาติ ไมใชสัตว ไมใชบุคคล

Page 10: e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2. 23. · e-Library โพธิป กขิยธรรมภาคปฏ ิบัติ

e-Library

โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ๑๐

ไมใชตวัตนเราเขา แมแตสตหิรือปญญาที่รูก็เปนเพียงธรรมชาติเทานั้น

ธรรมานุปสสนาสติปฏฐานนี้ พิจารณาทั้งรูปธรรม นามธรรม ปญญารูแจงเห็นชัดทั้งรูปทั้งนาม แยกจากกนัเปนคนละสิ่งคนละสวน รูปก็สวนรูป นามก็สวนนาม ไมปะปนกนั ไมใชสิ่งเดยีวกัน รูเห็นเชนน้ี จัดวาเขาถึง นามรูปปริจเฉทญาณ อันเปนญาณตน ที่เปนทางใหบรรลุถึงมรรคและผลตอไป

ผลที่ไดรับจากการเจริญสติปฏฐาน ๔ น้ันก็คือ ๑. พิจารณา กายานุปสสนาสติปฏฐาน อารมณ

ที่พิจารณาก็คือ รูปขันธ เหมาะแกมณัฑบุคคลทีม่ีตัณหาจริต เพราะนิมิตที่ไดจากการพิจารณา ไดแก อสุภสัญญา จะประหาร สุภสัญญา

๒. พิจารณา เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน อารมณที่พิจารณา คอื เวทนาขันธ ซ่ึงเปนอารมณละเอียด เหมาะแกบุคคลซึ่งมีตัณหา

Page 11: e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2. 23. · e-Library โพธิป กขิยธรรมภาคปฏ ิบัติ

e-Library

โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ๑๑

จริต เพราะนิมิตที่ไดจากการพิจารณาไดแก ทุกขสัญญา ทําใหประหาร สุขสัญญา เสยีได

๓. พิจารณา จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน อารมณที่พิจารณาคือ วิญญาณขนัธ ซ่ึงมีอารมณไมกวางขวางนกั เหมาะแกมัณฑบุคคลทีม่ีทิฏฐิจริต เพราะนิมิตที่ไดจากการพิจารณาไดแก อนิจจสัญญา ทําใหประหาร นิจจสญัญา เสยีได

๔. พิจารณา ธรรมานุปสสนาสติปฏฐาน อารมณที่พิจารณา คอื ทั้งรูปทั้งนาม ซ่ึงมีอารมณกวางขวางมาก เหมาะแกบุคคลที่มีทิฏฐิจริต เพราะนิมิตที่ไดจากการพิจารณาไดแก อนัตตสัญญา ทําใหประหาร อัตตสัญญา เสียได

ฉะน้ันการเจริญสติปฏฐาน ก็เพ่ือใหเกิดปญญาเห็นรูปเห็นนามที่เคยเห็นวา สวยงาม เห็นวาเปน ความสุขสบาย เห็นวา เที่ยง เห็นวาเปนตัวตน จะไดรูวาของจริงแทน้ันเปนประการใด

Page 12: e-Library ภาคธรรมปฏิบัติ โพธิป กขิย ... · 2016. 2. 23. · e-Library โพธิป กขิยธรรมภาคปฏ ิบัติ

e-Library

โพธิปกขิยธรรมภาคปฏิบัต ิ ๑๒

โดยการเขาใจเห็นแจงวา สภาวะนัน้ประกอบดวย ไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา การเจริญสติปฏฐาน ควรกระทําดวยความมีสตสิัมปชญัญะ