Management BS/คู่มือสาระนิพนธ์_มน... · 44 4....

33
บทที5 การจัดทําบรรณานุกรม บรรณานุกรม (References) คือบัญชีรายการวัสดุสารสนเทศที่ผูจัดทําสารนิพนธใช ประกอบการศึกษาคนควา ซึ่งบางสถาบันอาจกําหนดเรียกเปนอยางอื่น เชน เอกสารอางอิง รายการอางอิง เปนตน บรรณานุกรมเปนสวนสําคัญของสารนิพนธ เพราะเปนสวนที ่ใหความเชื่อมั่นแกผูอานวา สารนิพนธนั้นๆ ไดมีการศึกษาคนควาจากเอกสารดังแสดงไวอยางชัดเจน ทั้งเปนประโยชนสําหรับ ผูอานในกรณีที่ตองการตรวจสอบขอมูลหรือประสงคจะศึกษาคนควาเพิ่มเติม นอกจากนียังเปน การใหเกียรติแกเจาของขอมูลที่เปนแหลงคนควาอางอิงอีกดวย หลักทั่วไปของการจัดทําบรรณานุกรม การจัดทําบรรณานุกรมทั้งในสารนิพนธที่ใชรูปแบบการอางอิงแทรกในเนื้อหาและ รูปแบบการอางอิงแบบใชตัวเลข มีรูปแบบดังตอไปนี1. กอนถึงหนาแสดงรายการบรรณานุกรม ใหมีหนาบอกตอน ซึ่งมีคําวา บรรณานุกรม หรือ References แลวแตกรณี ที่กลางหนากระดาษ โดยสารนิพนธภาษาไทยใหใชตัวอักษรแบบ Cordia New ขนาด 18 ตัวหนา สารนิพนธภาษาอังกฤษใหใชตัวอักษรแบบ Times New Roman ขนาด 14 ตัวหนา หนาบอกตอนรายการบรรณานุกรมนี้ไมใสเลขกํากับหนา แตใหนับหนา 2. หนาแสดงรายการบรรณานุกรม ใชหัวเรื่องวา บรรณานุกรม หรือ References แลวแตกรณี ที่บรรทัดแรกของหนา กลางหนากระดาษ โดยสารนิพนธภาษาไทยใหใชตัวอักษรแบบ Cordia New ขนาด 18 ตัวหนา สารนิพนธภาษาอังกฤษใหใชตัวอักษรแบบ Times New Roman ขนาด 14 ตัวหนา ภาษาอื่นๆ ใหใชขนาดตัวอักษรโดยเทียบเคียง ทั้งนีหนาแรกของรายการ บรรณานุกรมไมใสเลขกํากับหนา แตใหนับหนา 3. บรรณานุกรมแตละรายการใหเริ่มที่เสนขอบหนา ถารายการบรรณานุกรมมีความ ยาวมากกวา 1 บรรทัด ในบรรทัดตอ ไปใหเวน 1.50 ซม. จากระยะขอบหนา โดยสารนิพนธ ภาษาไทยใหใชตัวอักษรแบบ Cordia New ขนาด 16 สารนิพนธภาษาอังกฤษใหใชตัวอักษรแบบ Times New Roman ขนาด 12

Transcript of Management BS/คู่มือสาระนิพนธ์_มน... · 44 4....

บทที ่5

การจัดทาํบรรณานกุรม

บรรณานุกรม (References) คือบัญชีรายการวัสดุสารสนเทศที่ผูจัดทําสารนิพนธใช

ประกอบการศึกษาคนควา ซึ่งบางสถาบันอาจกําหนดเรียกเปนอยางอ่ืน เชน เอกสารอางอิง

รายการอางอิง เปนตน

บรรณานุกรมเปนสวนสําคัญของสารนิพนธ เพราะเปนสวนที่ใหความเช่ือมั่นแกผูอานวา

สารนิพนธนั้นๆ ไดมีการศึกษาคนควาจากเอกสารดังแสดงไวอยางชัดเจน ทั้งเปนประโยชนสําหรับ

ผูอานในกรณีที่ตองการตรวจสอบขอมูลหรือประสงคจะศึกษาคนควาเพิ่มเติม นอกจากนี้ ยังเปน

การใหเกียรติแกเจาของขอมูลที่เปนแหลงคนควาอางอิงอีกดวย

หลักทัว่ไปของการจัดทาํบรรณานุกรม

การจัดทําบรรณานุกรมทั้งในสารนิพนธที่ใชรูปแบบการอางอิงแทรกในเนื้อหาและ

รูปแบบการอางอิงแบบใชตัวเลข มีรูปแบบดังตอไปนี้

1. กอนถึงหนาแสดงรายการบรรณานุกรม ใหมีหนาบอกตอน ซึ่งมีคําวา บรรณานุกรม

หรือ References แลวแตกรณี ที่กลางหนากระดาษ โดยสารนิพนธภาษาไทยใหใชตัวอักษรแบบ

Cordia New ขนาด 18 ตัวหนา สารนิพนธภาษาอังกฤษใหใชตัวอักษรแบบ Times New Roman

ขนาด 14 ตัวหนา หนาบอกตอนรายการบรรณานุกรมนี้ไมใสเลขกํากับหนา แตใหนับหนา

2. หนาแสดงรายการบรรณานุกรม ใชหัวเร่ืองวา บรรณานุกรม หรือ References

แลวแตกรณี ที่บรรทัดแรกของหนา กลางหนากระดาษ โดยสารนิพนธภาษาไทยใหใชตัวอักษรแบบ

Cordia New ขนาด 18 ตัวหนา สารนิพนธภาษาอังกฤษใหใชตัวอักษรแบบ Times New Roman

ขนาด 14 ตัวหนา ภาษาอ่ืนๆ ใหใชขนาดตัวอักษรโดยเทียบเคียง ทั้งนี้ หนาแรกของรายการ

บรรณานุกรมไมใสเลขกํากับหนา แตใหนับหนา

3. บรรณานุกรมแตละรายการใหเร่ิมที่เสนขอบหนา ถารายการบรรณานุกรมมีความ

ยาวมากกวา 1 บรรทัด ในบรรทัดตอ ๆ ไปใหเวน 1.50 ซม. จากระยะขอบหนา โดยสารนิพนธ

ภาษาไทยใหใชตัวอักษรแบบ Cordia New ขนาด 16 สารนิพนธภาษาอังกฤษใหใชตัวอักษรแบบ

Times New Roman ขนาด 12

44

4. การลําดับรายการบรรณานุกรม มี 2 ลักษณะ คือ

4.1 สารนิพนธที่อางอิงแบบใชตัวเลข รายการบรรณานุกรมใหจัดตามลําดับการอาง

กอนหลัง

4.2 สารนิพนธที่อางอิงแบบแทรกในเนื้อหา รายการบรรณานุกรมใหลําดับตามอักษร

ตัวแรกของช่ือผูแตง ตามการเรียงลําดับตัวอักษรของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน โดยมี

หลักเกณฑสําคัญ ดังนี้

4.2.1 รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผูแตงคนเดียวกันใหลงชื่อผูแตงซ้ําทุกรายการ

ไมใชเคร่ืองหมายละขอความ

4.2.2 รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผูแตงคนเดียวกันและพิมพปเดียวกัน

มากกวา 1 รายการ ใหเรียงลําดับตามอักษรกํากับหลังปที่พิมพ ซึ่งการใหอักษรกํากับนี้จะลําดับ

ตามการอางอิงแทรกในเนื้อหา ตัวอยาง

วลุลี โพธิรังสิยากร. (2539ก). หอสมุดทางการแพทย (Biomedical library) มหาวิทยาลัย

Monash ประเทศออสเตรเลีย. พุทธชินราชเวชสาร, 13(2), 169-173.

วลุลี โพธิรังสิยากร. (2539ข). คูมือการปฏิบัติงานของหองสมุดสาขาวทิยาศาสตรสุขภาพ.

พิษณุโลก: หองสมุดสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวทิยาลัยนเรศวร.

วลุลี โพธิรังสิยากร. (2539ค). สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนโดยพระราชประสงคใน

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร, 4(2), 79-84.

Drucker, P. F. (1995a). Management. Oxford: Butterworth-Heineman.

Drucker, P. F. (1995b). The effective executive. Oxford: Butterworth-Heineman.

Drucker, P. F. (1995c). The practice of management. Oxford: Butterworth-Heineman.

4.2.3 รายการบรรณานุกรมของผูแตงคนเดียวกนัที่ตางปพิมพ ใหเรียงปทีพ่ิมพ

กอนและหลังตามลําดับ

4.2.4 รายการบรรณานุกรมของผูแตงที่มีทั้งวัสดุที่เรียบเรียงผูเดียว และเรียบ

เรียงรวมกับผูอ่ืน ใหลําดับรายการบรรณานุกรมที่แตงคนเดียวกอน สวนเอกสารที่แตงรวมใหลําดับ

ตามอักษรชื่อของผูแตงคนถัดไป

4.2.5 รายการบรรณานุกรมที่ไมปรากฏชื่อผูแตง ใหเรียงตามลําดับอักษรตัวแรก

ของช่ือเร่ือง

45

ในกรณีที่ชื่อเร่ืองใชตัวเลขหรือสัญลักษณอ่ืนใด ใหเทียบเปนรูปอักษรตามเสียง

อาน เพื่อลําดับตามตัวอักษร เชน

1001 ราตรี ใหเทียบรูปอักษรเปน พันหน่ึงราตรี

200 ปของการศึกษาไทย ใหเทียบรูปอักษรเปน สองรอยปของ

การศึกษาไทย

เคร่ืองหมาย ¶, Ø ใหเทียบรูปอักษรเปน Pi, Phi

4.2.6 รายการบรรณานุกรมช่ือเ ร่ืองเดียวกันที่มี ลําดับที่กํากับ ให เ รียง

ตามลําดับที่ เชน

เอกสารคําสอนชุดวิชาทักษะภาษาไทย อันดับที่ 1

เอกสารคําสอนชุดวิชาทักษะภาษาไทย อันดับที่ 2

ส่ีแผนดิน เลม 1

ส่ีแผนดิน เลม 2

5. สารนิพนธภาษาใดใหเรียงลําดับรายการบรรณานุกรมที่เปนภาษานั้นกอน แลวตาม

ดวยรายการบรรณานุกรมภาษาตางประเทศอ่ืนๆ ประเภทวัสดุสารสนเทศ โดยทัว่ไปรายการวัสดุสารสนเทศที่ใชในการคนควาและเรียบเรียงสารนิพนธที่จะตอง

จัดทําบรรณานุกรม ประกอบดวย ส่ือส่ิงพมิพ วัสดุไมตีพิมพ และส่ือออนไลนประเภทตางๆ ซึ่งใน

คูมือฯ ฉบับนีจ้ําแนกเปน 7 ประเภท ดังนี ้

1. หนงัสือ

2. วารสาร 3. หนงัสือพมิพ 4. วิทยานิพนธ และการศึกษาคนควาดวยตนเอง 5. ส่ือส่ิงพิมพอ่ืน ๆ

6. วัสดุไมตีพิมพ 7. ส่ือออนไลน

46

ทั้งนี้ การจัดทํารายการบรรณานุกรมของวัสดุสารสนเทศแตละประเภท จะมีความ

แตกตางกันบางตามลักษณะของเนื้อหาสาระและขอมูลการผลิต ดังจะไดจําแนกเปนรายละเอียด

ตอไป การลงขอมูลในการจัดทําบรรณานุกรมสื่อสิ่งพิมพ โดยทั่วไป รายการบรรณานุกรมส่ือส่ิงพิมพประกอบดวยขอมูลสําคัญคือ ชื่อผูแตง

ปที่พิมพ ชื่อหนังสือ คร้ังที่พิมพ สถานที่พิมพ สํานักพิมพ โดยมีหลักการลงรายการ ดังนี้ รูปแบบ ผูแตง. (ปที่พิมพ). ชื่อหนังสือ (คร้ังที่พมิพ). สถานทีพ่ิมพ: สํานักพิมพหรือโรงพมิพ.

1. การลงรายการผูแตง 1.1 ผูแตงชาวไทย ผูแตงที่เปนชาวไทยในบรรณานุกรมภาษาไทย ใหใสชื่อ

ชื่อสกุล ตามลําดับ ตัวอยาง สมพร พุฒตาล เบ็ทซ. (2546). แนวทางการศึกษาคนควาและเรยีบเรียงรายงานวิชาการ.

กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจฬุาลงกรณมหาวทิยาลัย.

สุดารัตน เจียมยั่งยืน. (2546). การประเมินทางประสาทสัมผัสในอาหาร. พิษณุโลก:

คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวร.

1.2 ผูแตงชาวตางประเทศ ผูแตงชาวตางประเทศทั้งในบรรณานุกรมภาษาไทย

และบรรณานุกรมภาษาตางประเทศ ใหใสชื่อสกุล ค่ันดวยเคร่ืองหมายจุลภาค อักษรยอชื่อตน

อักษรยอชื่อกลาง (ถามี)

ผูแตงชาวไทยในบรรณานุกรมภาษาตางประเทศใหใชชื่อสกุลกอนเชนเดียวกัน ตัวอยาง ร็อบบ้ินส, เอส. พ.ี (2547). เคล็ด(ไม)ลับ กับการบริหาร “ฅ” คน (พิมพคร้ังที ่9).

(ดนัย จนัทรเจาฉาย, ผูแปล). กรุงเทพฯ: ดีเอ็มจี. (ตนฉบับพิมพ ค.ศ. 2002).

ไรท, เอ็ม. (2541). ฝรั่งคลัง่สยาม. กรุงเทพฯ: มติชน.

Suwannaprasert, B. (1993). The outcomes of mathematics curriculum in elementary

schools as perceived by various concerned groups in Japan. Phitsanulok:

Faculty of Science, Naresuan University.

47

Yukl, G. (2002). Leadership in organizations (5th ed.). Englewood Cliffs, New Jersey:

Prentice Hall.

1.3 ผูแตงที่มีสถานภาพพิเศษ ไดแก ผูแตงที่มีฐานันดรศักด์ิ บรรดาศักด์ิ ยศ

หรือนักบวชมีสมณศักด์ิ ตลอดจนพระภิกษุ เชน พระบาทสมเด็จพระ พระเจาวรวงศเธอพระองค

เจา พระเจาวรวงศเธอ กรมหมื่น ม.ร.ว. ม.ล. พระยา พระ หลวง ขุน คุณหญิง คุณ พล อ.อ.

ร.ต.ท. Queen Duke Pope Saint ซึ่งนิยมใชอักษรยอ St. ใหระบุคํานําหนาช่ือที่แสดงสถานภาพ

พิเศษ รวมทั้งคําลงทายแสดงสังกัดของทหารเรือ คือ ร.น.

กรณีนักบวชมีสมณศักด์ิ ใหวงเล็บนามฉายา และผูมีบรรดาศักด์ิ ใหวงเล็บ

นามจริงกํากับดวย เชน พระราชธรรมนิเทศ (พยอม กัลยาโณ) พระยาศรีสุนทรโวหาร (นอย

อาจารยางกูร)

กรณีที่ยศในสังกัดตางกัน แตใชอักษรยอเหมือนกัน ใหใชคําเต็ม เชน รอยตรี

เรือตรี และเรืออากาศตรี ตัวอยาง น.อ.สมภพ ภิรมย ร.น. (2534). นารายณสิบปาง. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

พระบาทสมเด็จพระพทุธเลิศหลานภาลัย. (2508). อิเหนา (พิมพคร้ังที่ 6). พระนคร: ศิลปาบรรณาคาร.

พระพรหมคุณาภรณ (ประยุทธ ปยทุโต). (2546). กระบวนการเรยีนรูเพื่อพัฒนาคนสู

ประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: มูลนิธพิทุธธรรม.

พระยาศรีสุนทรโวหาร (นอย อาจารยางกูร). (2508). ภาษาไทยของพระยาศรสีนุทรโวหาร.

พระนคร: คลังวิทยา.

พระสิงหทอง ธมมวโร. (2531). เสียงธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชวนพิศ.

พล ต. ม.ร.ว.คึกฤทธิ ์ ปราโมช. (2547). สรรพสัตว. กรุงเทพฯ: ดอกหญา.

พล อ.เปรม ติณสูลานนท. (2544). เกิดมาตองตอบแทนบุญคุณแผนดิน. กรุงเทพฯ:

คณะกรรมการสงเสริมกิจกรรม มูลนิธิรัฐบุรุษ.

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2546). ประพาสภาษา. กรุงเทพฯ:

มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ.

Byron, G. G., Baron. (1996). Don Juan, by Lord Byron, (T.G. Steffan, E. Steffan and

W.W. Pratt, Eds.). London: Penguin Books.

Charles, Prince of Wales. (1989). A vision of Britain: A personal view of architecture.

London: Doubleday.

48

Paul II, J., Pope. (1994). Vercare la soglia della Speranza. Milano, Italy:

Arnoldo Mondadori Editore.

Kotsch, W. J., Rear Admiral. (1983). Weather for the mariner. Annapolis, Maryland:

Naval Institute Press.

1.4 ผูแตงมากกวา 1 คน แตไมเกิน 6 คน ใหลงชื่อผูแตงทุกคน ตามลําดับที่

ปรากฏในเอกสาร โดยค่ันดวยเคร่ืองหมายจุลภาคระหวางรายช่ือ และใช “และ” หรือ “and” เช่ือม

ชื่อผูแตงคนสุดทาย

ยกเวนกรณีผูแตงชาวไทย 2 คน ซึ่งเช่ือมดวยคําวา “และ” ไมตองใสเคร่ืองหมาย

จุลภาค รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตงคนที ่1, ผูแตงคนที่ 2, ผูแตงคนที ่3, ผูแตงคนที่ 4, ผูแตงคนที ่5, และ

ผูแตงคนที ่6. (ปที่พิมพ). ชื่อหนังสือ (คร้ังทีพ่ิมพ). สถานที่พมิพ: สํานักพิมพ

หรือโรงพมิพ.

จิรวฒัน พิระสันต, ศุภเดช หิมะมาน และลินดา อินทราลักษณ. (2544). ศกึษาจิตรกรรม

ฝาผนังวัดหวยแกว อําเภอบางกระทุม จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก:

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สุพัตรา จิรนนัทนาภรณ และอัญชลี สิงหนอย. (2547). รายงานการวิจัยภมิูนามของหมูบาน

ในเขตภาคเหนือตอนลาง จังหวัดพิษณุโลก. ม.ป.ท.:ม.ป.พ.

Hitton, R. W., Marher, M. W. and Selto, F. H. (2003). Cost management: strategies for

business decision. New York: McGraw-Hill.

Syananondh, K. and Ingkhaninan, S. (1993). Lexical and syntactical analysis:

An implication for the teaching of reading and writing dissertation abstracts .

Phitsanulok, Thailand: Department of Western Languages, Naresuan University.

Watson, J. D., Baker, T. A., Bell, S. P., Gann, A., Levine, M. and Losick, R. (2004).

Molecular biology of the gene (5th ed.). San Francisco: Benjamin Cummings.

1.5 ผูแตงมากกวา 6 คน ใหลงชื่อผูแตง 6 คน โดยค่ันดวยเคร่ืองหมายจลุภาค

ระหวางรายช่ือ แลวตามดวยคําวา “และคณะ” หรือ “et al.” (ยอจาก et alli หรือ et allia)

49

ทั้งนี้ เฉพาะบรรณานุกรมภาษาอังกฤษใหใชเคร่ืองหมายจุลภาคค่ันระหวางช่ือ

ผูแตงคนที่ 6 กับ “et al.” รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตงคนที ่1, ผูแตงคนที่ 2, ผูแตงคนที่ 3, ผูแตงคนที่ 4, ผูแตงคนที ่5, ผูแตงคนที ่6

และคณะ. (ปที่พิมพ). ชื่อหนังสือ (คร้ังทีพ่ิมพ). สถานที่พมิพ: สํานักพิมพ

หรือโรงพมิพ.

มนตรี จฬุาวฒันทล, ม.ร.ว.ชิษณุสรร สวสัดิวัตน, ยงยทุธ ยุทธวงศ, ภิญโญ พานิชพันธ,

ประหยัด โกมารทัต, พิณทิพ ร่ืนวงษา และคณะ. (2542). ชีวเคมีฉบับ 2542. กรุงเทพฯ:

ภาควิชาชีวเคมี คณะวทิยาศาสตร มหาวทิยาลัยมหิดล.

Cunningham, F. G., MacDonald, P. C., Gant, N. F., Leveno, K. J., Gilstrap, L. C.,

Hankins, G. V. D., et al. (1997). Wiliams obstetrics (20th ed.). Stamford,

Connecticut: Appleton & Lange.

1.6 เอกสารที่มีบรรณาธิการ (Editor) หรือผูรวบรวม (Compiler) ใหลงชื่อ

บรรณาธิการ หรือชื่อผูรวบรวมในตําแหนงของผูแตง ตามดวยวงเล็บคําวา บรรณาธิการ หรือ ผู

รวบรวม หรือ Ed. หรือ Eds. หรือ Comp. รูปแบบและตัวอยาง บรรณาธิการหรือผูรวบรวม (บรรณาธิการหรือผูรวบรวม). (ปทีพ่มิพ). ชื่อเรื่อง.

สถานทีพ่ิมพ: สํานักพิมพหรือโรงพิมพ.

ดิเรก ปทมสิริวัฒน และพชัรินทร สิรสุนทร (บรรณาธิการ). (2545). วฒันธรรมแหงการเรียนรู ของคนไทย รวมบทความนําเสนอในการประชุมวิชาการประจําป 2545 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ: พ.ีเอ. ลีฟวิ่ง.

อําพล จนิดาวัฒนะ, นาฏวมิล พรหมชนะ และสาลิกา เมธนาวิน (บรรณาธิการ). (2541).

สองกลองมองวิทยาลยั. นนทบุรี: โครงการสวัสดิการ สถาบันพระบรมราชชนก.

Blaney, K. D. and Howard, P. R. (Eds.). (2000). Basic & applied concept of

immunohematology. St. Louis: Mosby.

Cormack, D. F. S. (Ed.). (2000). The medical & health sciences word book (3rd ed.).

Boston: Houghton Mifflin.

50

Fleming, A., Sir. (Ed.). (1964). Penicilin: its practical application. Philadelphia:

Blakiston.

1.7 เอกสารประเภทหนังสือแปล ใหลงช่ือผูแตงเดิม และหลังชื่อเร่ืองใหวงเล็บชื่อผู

แปล กํากับดวยคําวา ผูแปล หรือ Trans. (Translator) ในเอกสารภาษาอังกฤษ ค่ันดวยเคร่ืองหมาย

จุลภาค โดยระบุภาษาของงานเดิมและปที่พิมพภายในวงเล็บ ในสวนทายสุดของรายการ (ถามี

ขอมูลระบุไว) รูปแบบและตัวอยาง

ชื่อผูแตงเดิมเปนภาษาของฉบับแปล. (ปที่พิมพ). ชื่อเรื่องฉบับแปล. (ชื่อผูแปล, ผูแปล).

สถานทีพ่ิมพ: สํานักพิมพหรือโรงพมิพ. (ตนฉบับภาษา... พิมพ ปที่พมิพ).

คาโดฮาตะ, ซ.ี (2549). คิระ คิระ งามระยับด่ังดวงดาว. (สุดากาญจน ปทมดิลก, ผูแปล).

กรุงเทพฯ: มติชน. (ตนฉบับภาษาอังกฤษ พมิพ ค.ศ. 1988)

หอสมุดแพทยแหงชาติอเมริกัน. (2543). การจัดหมวดหมูหนังสือระบบแพทยแหงชาติ

อเมริกัน (พิมพคร้ังที ่3). (วลุลี โพธิรังสิยากร, ผูแปล). พิษณุโลก: หองสมุดสาขา

วิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวทิยาลัยนเรศวร. (ตนฉบับภาษาอังกฤษ พมิพ ค.ศ. 1994).

Freud, S. (1970). An outline of psychoanalysis. (J. Strachey, Trans.). New York:

Norton. (Original work published 1940).

Tolstoy, L. (1991). Childhood, boyhood and youth. (C. J. Hogarth, Trans.). London:

Everyman’s Library. (Original work published in Russian).

1.8 ผูแตงที่ใชนามแฝง ใหลงนามแฝง กํากับดวยคําวา “นามแฝง” ในวงเล็บ

เหล่ียม รูปแบบและตัวอยาง

นามแฝง [นามแฝง]. (ปที่พิมพ). ชื่อเรื่อง. สถานที่พมิพ: สํานักพิมพหรือโรงพิมพ.

ตารกา [นามแฝง]. (2548). ทดลองรัก พนันใจ. กรุงเทพฯ: แจมใส พับลิชชิ่ง.

น. ณ ปากน้าํ [นามแฝง]. (2525). สังคมไทยกบัจิตรกรรมฝาผนงั. กรุงเทพฯ:

สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร.

เสฐียรโกเศศ [นามแฝง]. (2515). วัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร.

51

Twain, M. [Pseudonym]. (1965). Tom Sawyer aboard and Tom Sawyer detective.

New York: Dell.

Seuss, Dr. [Pseudonym]. (1959). Happy birthday to you. New York: Random House.

1.9 รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผูแตงคนเดียวกัน และพิมพในปเดียวกัน

ใหลงช่ือผูแตงซ้ํา ไมใชเคร่ืองหมายละขอความ และลงอักษรกํากับหลังปที่พิมพ

ซึ่งจะตรงกับอักษรกํากับปที่พิมพในวงเล็บการอางอิงที่ปรากฏในเนื้อหา ตัวอยาง จิรวัฒน พิระสันต. (2547ก). รายงานการวิจัยการพัฒนารูปแบบการจัดการศกึษาสาํหรับผูที่ มีความสามารถพิเศษดานทัศนศิลป โดยระบบ CISST: กรณีศกึษาภาคเหนือ ตอนลาง. พษิณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

จิรวัฒน พิระสันต. (2547ข). ศลิปกรรมทองถ่ินจังหวัดพิษณุโลก. กรุงเทพฯ: สํานกัพิมพแหง

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

จิรวัฒน พิระสันต. (2547ค). ศลิปกรรมทองถ่ิน: กรณศีิลปกรรมชมุชนภาคเหนือตอนลาง.

พิษณุโลก: คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร.

Drucker, P. F. (1995a). Management. Oxford: Butterworth-Heineman.

Drucker, P. F. (1995b). The effective executive. Oxford: Butterworth-Heineman.

Drucker, P. F. (1995c). The practice of management. Oxford: Butterworth-Heineman.

1.10 เอกสารที่ไมปรากฏชื่อผูแตง ถาไมปรากฏช่ือผูแตง ใหเร่ิมรายการดวยช่ือ

เร่ืองแทนตําแหนงผูแตง แลวตามดวยคร้ังที่พิมพในวงเล็บ (ถามี) และปที่พิมพในวงเล็บ รูปแบบและตัวอยาง

ชื่อเรื่อง. (ปที่พิมพ). สถานทีพ่ิมพ: สํานักพิมพหรือโรงพมิพ.

คูมือสําหรับผูปกครองเด็กออทิสติก. (2539). กรุงเทพฯ: ศูนยสุขวิทยาจิต กรมสุขภาพจิต.

นางนพมาศหรือตํารับทาวศรีจุฬาลกัษณ (พิมพคร้ังที ่14). (2513). กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

ลิลิตพระลอ. (2516). กรุงเทพฯ: คลังวทิยา. The new international Webster’s comprehensive dictionary of the English language.

(1998). Naples, Florida: Trident Press International.

52

1.11 เอกสารที่จัดพิมพในนามนิติบุคคลหรือสถาบัน ใหใชชื่อเต็มของนิติ

บุคคลหรือสถาบันระดับกรมเปนผูแตง หากไมปรากฏชื่อหนวยงานระดับกรมหรือหนวยงานที่ไมใช

สวนราชการ ใหใสชื่อหนวยงานที่ปรากฏในวัสดุอางอิงเปนผูแตง รูปแบบและตัวอยาง

หนวยงาน. (ปที่พิมพ). ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ: สํานักพมิพหรือโรงพิมพ.

มหาวิทยาลัยนเรศวร. (2545). คูมืออาจารยที่ปรกึษาดานวิชาการ. พิษณุโลก: กองบริการ

การศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.

มหาวิทยาลัยนเรศวร. (2546). รายงานกองทุนสวสัดิภาพนสิิต มหาวทิยาลัยนเรศวร

ประจําปการศึกษา 2545 (ต้ังแต 1 มิ.ย. 2545-31 พ.ค. 2546). พิษณุโลก:

กองกิจการนิสิต มหาวทิยาลัยนเรศวร.

Naresuan University and The Agro-Industry Academic Council of Thailand under the

auspices of the International College of Nutrition. (2000). The 8th World Congress on Clinical Nutrition: Functional food, nutrition and health in the new millennium. Phitsanulok: Trakulthai Printing.

Naresuan University. Faculty of Pharmaceutical Sciences. (2002). Abstract supplement: The first graduate research symposium, The Pharmaceutical Education Development Consortium, August 19, 2002. Phitsanulok: Faculty of

Pharmaceutical Sciences, Naresuan University.

United States. Department of Defense. (1988). Soviet military power: An assessment of

the threat 1988. Washington, D.C.: Department of Defense, United States of

America.

2. การลงรายการปที่พิมพ

การลงรายการปที่พิมพ ใหใสเฉพาะตัวเลขแสดงปในวงเล็บหลังชื่อผูแตง ตามดวย

เคร่ืองหมายมหัพภาค ถาไมปรากฏปที่พิมพ ใหใชอักษรยอ ม.ป.ป. ซึ่งยอจากคําวา ไมปรากฏป

ที่พิมพ หรือ n.d. ซึ่งยอจากคําวา no date

ถาไมปรากฏชื่อผูแตง ซึ่งจะลงรายการชื่อหนังสือเปนรายการแรก ปที่พิมพใหระบุ

ตามหลังชื่อหนังสือ

53

ตัวอยาง ทินวัฒน มฤคพิทกัษ. (ม.ป.ป.). พูดได พดูเปน. กรุงเทพฯ: กองหลา.

นางนพมาศหรือตํารับทาวศรีจุฬาลกัษณ (พิมพคร้ังที ่14). (2513). กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

สมพร พุฒตาล เบ็ทซ. (2546). แนวทางการศึกษาคนควาและเรียบเรียงรายงานวิชาการ.

กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจฬุาลงกรณมหาวทิยาลัย. The new international Webster’s comprehensive dictionary of the English language.

(1998). Naples, Florida: Trident Press International.

3. การลงรายการชื่อหนังสือ ชื่อหนังสือจะลําดับตอจากปที่พิมพ ใหใชตัวหนาตลอดถึงเคร่ืองหมายมหัพภาคที่

กํากับทายช่ือ ถาหนังสือมีลําดับเลมใหระบุในวงเล็บดวย และใชมหัพภาคกํากับหลังวงเล็บลําดับ

เลม

กรณีที่เปนชื่อหนังสือภาษาอังกฤษ ใหข้ึนตนตัวอักษรตัวแรกของช่ือหนังสือดวย

ตัวพิมพใหญ ตามดวยอักษรตัวพิมพเล็ก ยกเวนชื่อเฉพาะและตัวอักษรตัวแรกของคําที่ตามหลัง

เคร่ืองหมายทวิภาค

3.1 บรรณานุกรมที่เปนหนังสือหลายเลมจบ บรรณานุกรมที่เปนหนังสือหลาย

เลมจบที่ใชอางอิงทั้งชุด ใหระบุปที่พิมพของเลมแรกถึงเลมสุดทาย และระบุเลขลําดับเลมภายใน

วงเล็บตามหลังชื่อเร่ือง

ถามีการระบุคร้ังที่พิมพใหใสไวในวงเล็บเดียวกับเลขลําดับเลม เชน (พิมพคร้ังที่

2, เลมที่ 1-3) กรณีที่อางอิงเนื้อหาเฉพาะเลม ใหระบุเฉพาะเลมนั้น รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตง. (ปที่พิมพของเลมแรก – เลมสุดทาย). ชื่อเรื่อง (เลมที่ เลขลําดับเลม).

สถานทีพ่ิมพ: สํานักพิมพหรือโรงพมิพ.

สมจิต หนุเจริญกุล (บรรณาธิการ). (2535-2536). การพยาบาลทางอายุรศาสตร (เลมที ่1-3).

กรุงเทพฯ: ภาควิชาพยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี

มหาวิทยาลัยมหิดล.

Scriver, C. R. (Ed.). (1995). The metabolic and molecular bases of inherited disease

(7th ed., Vols.1 - 3). New York: McGraw – Hill.

54

3.2 บรรณานุกรมของหนังสอืที่มีชื่อชุด บรรณานุกรมของหนังสือทีม่ีชื่อชุดใหระบุชื่อ

ชุดตามหลังชือ่เร่ือง รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตง. (ปที่พิมพ). ชื่อเรื่อง. ชื่อชุด. สถานทีพ่มิพ: สํานักพิมพหรือโรงพมิพ.

อนุวัฒน ศุภชุติกุล. (2540). Hospital accreditation: บทเรียนจากแคนาดา. ชุดการพัฒนา

คุณภาพบริการโรงพยาบาล. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

Barone, E. J., Jones, J. C. and Schaefer, J. E. (2000). Skin diseases. The academy

collection – quick reference guides for family physicians. Philadelphia:

Lippincott Williams & Wilkins.

4. การลงรายการครั้งที่พิมพ หนังสือที่พิมพคร้ังแรกไมตองระบุคร้ังที่พิมพ แตใหระบุฉบับพิมพคร้ังที่ 2 เปนตนไป

ในวงเล็บตามหลังช่ือหนังสือ โดยภาษาไทย ใชพิมพคร้ังที่ตามดวยเลขคร้ังที่พิมพ สําหรับ

ภาษาอังกฤษ ใหพิมพตัวเลขลําดับคร้ังที่พิมพและตามดวย ed. ซึ่งเปนคํายอของ edition เชน

2nd ed., 3rd ed., 4th ed., 21st ed. เปนตน

กรณีระบุคร้ังที่พิมพนี้ ใชเคร่ืองหมายมหัพภาคกํากับทายวงเล็บระบุคร้ังที่พิมพ แทน

การกํากับที่ชื่อหนังสือ

5. การลงรายการสถานที่พิมพ สถานที่พิมพ คือ ชื่อเมืองที่เปนที่จัดพิมพหนังสือนั้น หนังสือภาษาไทยใชชื่อจังหวัด

สวนหนังสือภาษาตางประเทศใชชื่อเมือง ถาระบุชื่อเมืองหลายแหงใหใชชื่อแรก และ

อาจใสชื่อรัฐเปนชื่อเต็ม หรืออักษรยอตามที่ปรากฏในหนังสือ หรือชื่อประเทศกํากับตามหลัง

เคร่ืองหมายจุลภาค โดยใชตัวพิมพใหญสําหรับอักษรตัวแรกของช่ือ

กรณีไมปรากฏสถานที่พิมพ ใหใชอักษรยอ ม.ป.ท. ซึ่งเปนอักษรยอของคําวา ไม

ปรากฏสถานที่พิมพ หรือ N.P. ซึ่งเปนอักษรยอของคําวา No Place สําหรับส่ิงพิมพภาษาอังกฤษ

55

6. การลงรายการสํานักพิมพ การลงรายการสํานักพิมพมีหลักเกณฑ ดังนี้

6.1 ใหใสเฉพาะชื่อสํานักพิมพ ไมตองระบุคําแสดงสถานภาพ ทั้งสวนหนาและ

สวนทายของช่ือ เชน

สํานักพิมพดีเอ็มจี ลงช่ือเปน ดีเอ็มจี

บริษัท ไดเร็ค มีเดีย กรุป (ประเทศไทย) จํากัด ลงชื่อเปน ไดเร็ค มีเดีย กรุป

(ประเทศไทย)

บริษัท ไทยวัฒนาพานิช จํากัด ลงช่ือเปน ไทยวัฒนาพานิช

Pearson Education Indochina Ltd. ลงชื่อเปน Pearson Education

Indochina

6.2 กรณีสํานักพิมพมีชื่อเหมือนกับสวนราชการใหระบุคําวา สํานักพิมพหรือโรง

พิมพ ตาม ช่ือที่ ปรากฏ เชน สํ านักพิมพ แห งจุฬาลงกรณมหาวิทยา ลัย โ รง พิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

6.3 ถาไมปรากฏช่ือสํานักพิมพใหใชชื่อโรงพิมพแทน โดยระบุคําวา โรงพิมพ เชน

โรงพิมพการศาสนา โรงพิมพคุรุสภา ทั้งนี้ ใหเปนไปตามชื่อที่ปรากฏในเอกสาร

6.4 กรณีเปนเอกสารที่จัดพิมพในนามของหนวยงานใหระบุชื่อหนวยงานนั้น เชน

ภาควิชาภาษา คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร หรือ ธนาคารกรุงเทพ (มหาชน) จํากัด

6.5 กรณีที่ไมปรากฏสถานที่พิมพ สํานักพิมพ และโรงพิมพ ใหระบุผูจัดจําหนาย

แตถาไมปรากฏผูจัดจําหนาย ใหใชอักษรยอวา ม.ป.พ. ซึ่งยอจากคําวา ไมปรากฏสํานักพิมพ หรือ

n.p. ซึ่งยอจากคําวา no publisher บรรณานุกรมประเภทหนังสือ บรรณานุกรมประเภทหนังสือมีการลงรายการเปน 4 รูปแบบ ตามลักษณะของขอมูล

และส่ือส่ิงพิมพ ดังนี้ 1. การลงรายการบรรณานุกรมหนังสือทั่วไป

ในกรณีที่เปนหนังสือทั่วไป ใหลงรายการดังนี้ รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตง. (ปที่พิมพ). ชื่อเรื่อง (คร้ังที่พิมพ). สถานทีพ่ิมพ: สํานักพิมพหรือโรงพิมพ.

56

อัญชลี สิงหนอย. (2549). คํานามประสม: ศาสตรและศิลปในการสรางคําไทย. กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

เอโมโตะ, อี. (2547). มหัศจรรยแหงน้ํา: คําตอบเพื่อชีวิตที่ดีกวา. (ดาดา, ผูแปล).

กรุงเทพฯ: โลกสวย. (ตนฉบับภาษาญ่ีปุน พิมพ ค.ศ. 2001)

Roberts, E. V. and Jacobs, H. E. (1989). Fiction. Englewood Cliffs, New Jersey:

Prentice Hall.

Thornley, G.C. and Roberts, G. (1989). An outline of English literature. Hong Kong:

Longman.

2. การลงรายการบรรณานุกรมบทความในหนังสือ

ในกรณีที่เปนการอางอิงบทความในหนังสือรวมบทความ หรือหนังสือทั่วไป ตองระบุ

ชื่อบทความท่ีใชอางอิง ชื่อบรรณาธิการ (ถามี) ระบุหนาที่ตีพิมพบทความในวงเล็บหลังชื่อหนังสือ

ถามีคร้ังที่พิมพใหระบุกอนหนาที่ตีพิมพ โดยค่ันดวยเคร่ืองหมายจุลภาค ในวงเล็บเดียวกัน รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตง. (ปที่พิมพ). ชื่อบทความ. ใน ชื่อบรรณาธิการ (บรรณาธิการ), ชื่อเรื่อง

(หนา เลขหนาที่อาง). สถานทีพ่ิมพ: สํานักพิมพหรือโรงพมิพ.

รุงนภา ฉิมพฒุ. (2545). ลิเกในจังหวัดพษิณุโลก. ใน ดิเรก ปทมสิริวฒัน และพัชรินทร สิรสุนทร

(บรรณาธิการ), ความรูคูสังคม รวมผลงานวิจยัของคณะมนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตร มหาวิทยาลยันเรศวร (หนา 67-94). กรุงเทพฯ: พี. เอ. ลีฟวิ่ง.

วนิดา บํารุงไทย. (2545). รูจกั...“ภรณทิพย นาคหิรัญกนก” จากหนังสือรูจักยังไมมากพอที่จะรัก

ยังไมรูจักมากพอที่จะเกลียด. ใน สารคดี: กลวธิีการเขียนและแนววิจารณ

(หนา 133-142). กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.

Bergstein, J. M. (2000). Tubular function. In E. B. Richard, M. K. Robert and B. J. Hal

(Eds.), Nelson textbook of pediatrics (16th ed., p. 596). Philadelphia: W.B.

Saunders.

Tickner, F.J. (1981). Appreniceship and employee training. In P. W. Goetz (Ed.),

The new encyclopedia Britannica, macropedia (Vol.1, pp.1018 – 1023).

Chicago: Encyclopedia Britannica.

57

3. การลงรายการบรรณานุกรมหนังสือสารานุกรม บรรณานุกรมที่อางบทความจากหนังสือสารานุกรม มีรูปแบบการลงรายการ

เชนเดียวกับการลงรายการบรรณานุกรมจากหนังสือรวมบทความ ระบุชื่อบรรณาธิการ (ถามี) และ

ระบุลําดับเลมในวงเล็บ (ถามี) โดยจัดรวมอยูในวงเล็บแสดงหนาที่ตีพิมพ ตอทายช่ือสารานุกรม รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตง. (ปที่พิมพ). ชื่อบทความ. ใน ชื่อสารานุกรม (เลมที,่ หนา เลขหนา).

สถานทีพ่ิมพ: สํานักพิมพหรือโรงพมิพ.

สนม ครุฑเมือง. (2530). หมอคอควาย. ใน สารานุกรมของใชพืน้บานไทยในอดีต

เขตหัวเมืองฝายเหนือ (หนา 274-275). กรุงเทพฯ: อมรินทรพร้ินต้ิง แอนด พลับลิชชิ่ง.

McNeil, D. W., Turk, C. L. and Ries, B. J. (1994). Anxiety and fear. In Encyclopedia

of human behavior (Vol.1, pp. 151-163). San Diego: Academic Press.

Tickner, F.J. (1981). Apprenticeship and employee training. In P. W. Goetz (Ed.),

The new encyclopedia Britannica, macropedia (Vol.1, pp.1018 – 1023).

Chicago: Encyclopedia Britannica.

4. การลงรายการบรรณานกุรมเอกสารประกอบการบรรยาย

บรรณานุกรมจากเอกสารประกอบการบรรยายในโอกาสตางๆ เชน การปาฐกถา

การอภิปราย การประชุมเชิงปฏิบัติการ การประชุมสัมมนาทางวิชาการ การประชาพิจารณ เปนตน

มีรูปแบบการลงรายการเปน 2 ลักษณะ คือ

4.1 เอกสารที่จัดพิมพรวมเลม และอางเฉพาะเร่ือง รูปแบบและตัวอยาง

ผูปาฐกถา หรือบรรยาย หรืออภิปราย (ผูปาฐกถา หรือผูบรรยาย หรือผูอภิปราย).

(วัน เดือน ปที่จัด). ชื่อเร่ืองที่ปาฐกถา หรือบรรยาย หรืออภิปราย. ใน

ชื่อเอกสารรวมเลม (หนา เลขหนาทั้งเร่ือง). สถานที:่ หนวยงานที่จัดปาฐกถา

หรือบรรยาย หรืออภิปราย.

วิสุทธิ ์ใบไม (ผูบรรยาย). (5-7 มิถุนายน 2546). การใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพ.

ใน สมัมนาวชิาการพันธุศาสตร ครั้งที่ 13: พันธศุาสตรกับการพฒันาท่ียั่งยืน

(หนา 11-15). พิษณุโลก: คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร.

58

4.2 เอกสารทีจ่ัดพิมพเฉพาะเร่ือง รูปแบบและตัวอยาง

ผูปาฐกถา บรรยายหรืออภิปราย (ผูปาฐกถา หรือผูบรรยาย หรือผูอภิปราย).

(วัน เดือน ป). ชื่อเรื่องที่ปาฐกถา บรรยาย หรืออภิปราย. สถานที:่

หนวยงานท่ีจดัปาฐกถา บรรยายหรืออภิปราย.

การสัมมนาเรื่อง “อุดมศกึษาไทยในยคุเปดเสรีทางการคาโลกดานการศึกษา”. (23 – 25

มกราคม 2547). พิษณุโลก: บัณฑิตวทิยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.

เกษม วฒันชยั (ผูปาฐกถา). (26 กรกฎาคม 2546). ยุทธศาสตรการพัฒนาบัณฑิตศึกษา

มหาวทิยาลัยนเรศวร. พษิณุโลก: มหาวทิยาลัยนเรศวร.

บรรณานุกรมประเภทวารสาร บรรณานุกรมประเภทวารสาร ในที่นี้มีความหมายครอบคลุมถึงนิตยสาร จุลสารและ

เอกสารที่เผยแพรเปนวาระโดยตอเนื่อง โดยทั่วไปการใชบรรณานุกรมประเภทน้ีจะเปนการอางอิง

บทความในฉบับ ซึ่งอาจเปนบทความทั่วไป บทวิจารณ หรือบทความปริทัศนหนังสือ ตลอดจน

บทสัมภาษณ

การลงรายการ ประกอบดวย ชื่อผูแตง คือผูเขียนบทความ ปที่พิมพ ชื่อบทความ

ชื่อวารสาร ปที่ เลขประจําฉบับ หนาที่ตีพิมพบทความ ดังหลักเกณฑตอไปนี้

1. ลงรายการผูแตงและปที่พิมพเชนเดียวกับการลงบรรณานุกรมประเภทหนังสือ กรณี

ไมปรากฏชื่อผูแตงบทความ ใหลงช่ือบทความเปนรายการแรก

2. ชื่อบทความ ใหลงรายการตามที่ปรากฏ รวมทั้งระบุชื่อคอลัมน (ถามี) โดยใช

เคร่ืองหมายทวิภาคค่ันระหวางช่ือคอลัมนกับชื่อบทความ

3. ชื่อวารสารใหลงช่ือเต็ม หรือชื่อที่ เปนอักษรยอตามที่ปรากฏในปกหนา ถามี

คําประกอบอ่ืนๆ เชน วารสาร Journal of หรือ รายสัปดาห สุดสัปดาห Weekly Monthly

ปรากฏเปนสวนหนึ่งของช่ือ ใหลงตามนั้น โดยใชตัวหนา ตามดวยเคร่ืองหมายจุลภาค

4. ลงเลขลําดับปที่ผลิตวารสาร (Volume) แลวตามดวยเลขประจําฉบับ (Issue

Number) ภายในวงเล็บ ถาไมมีขอมูลหนึ่งขอมูลใด ใหระบุเทาที่ปรากฏ

กรณีไมปรากฏลําดับปที่ผลิตวารสาร และเลขประจําฉบับ ใหระบุเดือนภายใน

วงเล็บ แทนตําแหนงเลขประจําฉบับ

5. ระบุเลขหนาที่พิมพบทความทั้งเร่ือง

59

6. กรณีบทความเปนบทสัมภาษณ และบทวิจารณวรรณกรรม จะมีรูปแบบการลง

รายการที่บงชี้เฉพาะประเภท

7. การลําดับรายการวารสารใหเปนไปตามปกติ คือเรียงลําดับอักษรแรกของช่ือผูแตง

กรณีผูแตงคนเดียวกันมีหลายบทความ ใหเรียงตามปที่พิมพกอนและหลังตามลําดับ

ทั้งนี้ การลงรายการบรรณานุกรมส่ิงพิมพประเภทวารสาร จําแนกตามชนิดของ

บทความที่อางอิง ดังนี้ 1. บทความทั่วไป รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตง. (ปที่พิมพ). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปที่(เลขประจําฉบับ), เลขหนาที่ตีพิมพ

บทความทัง้เร่ือง.

กนธ ี อยูสวัสด์ิ. (2549). จากตํานานพระท่ีนั่งคูหาคฤหาสน...สูตราสัญลักษณประจํา

จังหวัดประจวบคีรีขันธ. หญิงไทย, 31(728), 73-75.

การจัดการและแกไขความขัดแยงอยางสันติวิธ:ี การอบรม. (2546). วารสารผูตรวจการแผนดิน

ของรัฐสภา, 2(1), 90–101.

กิจจา กําแหง. (2548). ยุทธวิธีในการอานกับการเพิ่มประสิทธิภาพในการอานภาษาที่สอง.

วารสารมนุษยศาสตร มหาวิทยาลยันเรศวร, 1(2), 97-103.

เจริญสุข อัสวพิพิธ, นิภา อดุลยวัฒน, เบญจมาศ อดุลยวัฒน, นภัสสร ไวปุรินทะ,

สมพร พงศชู, วริศรา อุบลไทร และคณะ. (2548). ระยะเวลาการมีชีวิตรอดของ

ผูปวยเอดสและผูติดเชื้อเอชไอวีที่ตรวจพบคา CD4 ตํ่ากวา 200 Cell/mm3

ในสถาบันบําราศนราดูร. วารสารควบคุมโรค, 31(2), 184-492.

ไทยยกแผนพฒันาการเงิน: ยื้อเปดเสรีกับสหรัฐฯ อีก 3 ป. (2548). การเงินการธนาคาร,

24(273), 49–51.

บุญทรง ปรีชาบริสุทธิ์กุล, กฤษณา ปรีชาบริสุทธิ์กุล, อังกูรา สุโภคเวช, พรวรีย

ลําเจียกเทศ และอุไร พัฒนผลไพบูลย. (2548). เปรียบเทียบเคร่ืองตรวจ

ปสสาวะอัตโนมัติ Sysmex UF-100 กับวิธีการตรวจปสสาวะทางกลอง

จุลทรรศน. วารสารกรมวทิยาศาสตรการแพทย, 47(3), 159-167.

ปยะดา วชิระวงศกร และเสวียน เปรมประสิทธิ.์ (2548). การสะสมตะก่ัวและแคดเมียมใน

พืชผักที่ปลูกในดินที่ไดรับการผสมตะกั่วและแคดเมียม. วารสารเกษตรนเรศวร,

8(1), 61-75.

60

วนิดา บํารุงไทย. (2549). “มุขตลก” หรือ “มุกตลก” ราชบัณฑิตยสถาน กับ มติชน ใครผิดใครถูก?

วารสารมนุษยศาสตร มหาวิทยาลยันเรศวร, 3(1), 33-42.

วลุลี โพธิรังสิยากร. (2543). หอสมุดแหงชาติกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา. วารสาร

มหาวทิยาลัยนเรศวร, 8(2), 111-114.

วิรัช นิยมธรรม. (2548). ชาตินิยมในแบบเรียนระดับการศึกษาพื้นฐานของประเทศสหภาพพมา.

วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยันเรศวร, 7(1), 49-73.

แสงหลา พลนอก, เชาวน ี ลองชูผล และสุวนยี เกีย่วกิ่งแกว. (2548). ความฉลาดทาง

อารมณและความสําเร็จดานการเรียนของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัย

นเรศวร. วารสารการศึกษาพยาบาล, 16(3), 33-39.

Foreign direct investment: Why Japan? (2004). Look Japan, 49(576), 6–1.

Jarboe, K. S., Littrell, K. and Tugrul, K. (2005). Long-acting injectable risperidone:

An emerging tool in schizophrenia treatment. Psychosocial Nursing and

Mental Health Services, 43(12), 25-33.

Kolber, M. A. (1991). Enhancement of redirected target cell lysis by cytotoxic

T lymphocytes in the presence of cytochalasin B. Cellular Immunology,

133(1), 84-94.

Schmitz, J., Owyang, A., Oldham, E., Song, Y., Murphy, E., McClanahan, T. K., et al.

(2005). IL-33, an interleukin-1-like cytokine that signals via the IL-1 receptor-

related protein ST2 and induces T helper type 2-associated cytokines.

Immunity, 23(5), 479-490.

Spiegel, F. W. and Stephenson, S. L. (2000). Protostelids of Macquerie Island.

Mycologia, 92(5), 849-852.

Teaktong, T., Graham, A. J., Johnson, M., Court, J. A. and Perry, E. K. (2004).

Selective changes in nicotinic acetylcholine receptor subtypes related to

tobacco smoking: An immunohistochemical study. Neuropathology and

Applied Neurobiology, 30(3), 243-254.

2. บทวิจารณและบทความปริทศันหนังสือ การลงรายการบทวิจารณและบทความปริทัศนหนังสือ ที่พิมพในวารสาร ใหระบุวา

เปนบทวิจารณหรือบทความปริทัศนหนังสือชื่อเร่ืองใดในวงเล็บเหล่ียม

61

เฉพาะบทพระราชนิพนธ หรือบทพระนิพนธ ใหใชคําระบุประเภทวา บทความเฉลิม

พระเกียรติ แทนคําวา บทวิจารณ หรือ บทความปริทัศน รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตง. (ปที่พิมพ). ชื่อบทวิจารณ. [บทวิจารณหรือบทความปริทัศนหนงัสือเร่ือง ชื่อหนังสือที ่

นํามาวิจารณ]. ชื่อวารสาร, ปที่ (เลขประจําฉบับ), เลขหนา.

วนิดา บํารุงไทย. (2547). พระราชนพินธ “ความทรงจําในการตามเสด็จตางประเทศทางราชการ”

พระราชานุสรณอันลํ้าเลอคาแหงประวัติศาสตรสยาม [บทความเฉลิมพระเกยีรติ

พระราชนิพนธเร่ือง ความทรงจําในการตามเสด็จตางประเทศทางราชการ].

วารสารมนุษยศาสตร มหาวิทยาลยันเรศวร, 1(2), 1-9.

Schatz, B. R. (2000). Learning by text or context? [Review of the book The social life of

information]. Science, 290(5495), 1304.

3. บทสัมภาษณ

บทสัมภาษณอาจปรากฏในส่ือหลายประเภท เมื่อใชอางอิงใหลงรายการ

บรรณานุกรมตามชนิดของส่ือนั้นๆ

ถาเปนการสัมภาษณโดยไมปรากฏบันทึกในสื่อเพื่อการเผยแพรใดๆ สามารถนํามา

ใชอางอิงแทรกในเนื้อหาได แตไมตองลงรายการบรรณานุกรม เนื่องจากไมอาจสืบคนได (ดูขอ 26

หนา 40)

สําหรับบทสัมภาษณในวารสารใหลงรายการบรรณานุกรม ดังนี้ รูปแบบและตัวอยาง

ผูใหสัมภาษณ. (ปที่พิมพ). ชื่อบทสัมภาษณ [ชื่อผูสัมภาษณ, ผูสัมภาษณ]. ชื่อวารสาร,

ปที(่เลขประจาํฉบับ), เลขหนา.

มณฑล สงวนเสริมศรี. (2549). อธิการบดีสนทนา [สิริพร จันทรบรรจง, ผูสัมภาษณ]. ขาวสาร

ม.นเรศวร, 5(62), 4.

Chumsai, S. and Sirisumphan, K. (1985), Viewpoints: Thailand or Siam [Interviewed by

the editor]. Asiaweek, 11(17), 62.

62

บรรณานุกรมประเภทหนังสือพิมพ บรรณานุกรมประเภทหนังสือพิมพ มักใชอางอิงขอเขียนที่เปนบทความหรือขาว โดยมี

หลักการลงรายการ ดังนี้

1. การลงรายการประกอบดวย ชื่อผูแตง วัน เดือน ปที่พิมพ ชื่อบทความ หรือหัวขอ

ขาว ชื่อหนังสือพิมพ และเลขหนาของบทความทั้งเร่ือง สําหรับบทความภาษาอังกฤษ ใหใช

เดือน วันที่ ปที่พิมพ แทน วันที่ เดือน ปที่พิมพ

ถาไมปรากฏชื่อผูแตง ใหลงช่ือบทความหรือหัวขอขาวเปนรายการแรก

2. ถาบทความมีชื่อคอลัมน ใหลงทั้ งชื่อคอลัมนและช่ือบทความโดยค่ันดวย

เคร่ืองหมายทวิภาค

3. การลําดับรายการใหเปนไปตามปกติ คือเรียงลําดับอักษรตัวแรกของช่ือผูแตงหรือ

ชื่อบทความ แลวแตกรณี ถาผูแตงคนเดียวกันมีหลายบทความ ใหเรียงตามลําดับการพิมพ รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตง. (วันที่ เดือน ปที่พิมพ). ชื่อบทความ. ชื่อหนังสือพมิพ, เลขหนา.

ธวัช วิรัตติพงศ. (14 มีนาคม 2549). ปฏิวัตินักวิจัยรุนใหม คืนอิสรภาพทางเศรษฐกจิของประเทศ.

มติชน, 8.

วีระ มานะคงตรีชีพ. (12 มิถุนายน 2549). กระจกหกัมมุ: ภาวะเศรษฐกิจไทยภายใตสถานการณ

การเมืองปจจบัุน. ไทยโพสต, 6.

วีระ มานะคงตรีชีพ. (13 มิถุนายน 2549). กระจกหกัมมุ: ภาวะเศรษฐกิจไทยภายใตสถานการณ

การเมืองปจจบัุน (ตอนจบ). ไทยโพสต, 6.

เสนอ 4 แนวทางต้ังวิทยาลัยชุมชน. (23 มีนาคม 2544). มติชน, 10.

อนัญชนา สาระคู. (23 มกราคม 2548). เงินทอง คม ชดั ลึก: ใช ‘เงินบริจาค’ หกัลดหยอนภาษ ี

ไดอยางไร. คม ชัด ลกึ, 15.

ออกพันธบัตรขาย 2 หมืน่ลาน. (7 เมษายน 2544). ไทยรัฐ, 9.

Billions spent in battle for Isan vote. (January 31, 2005). Bangkok Post, 1.

Pongrai, J. (March 14, 2006). Mini tsunami likely in next 50 years: Geologist.

The Nation, 3A.

63

4. กรณีอางบทสัมภาษณจากหนังสือพิมพใหลงรายการบรรณานุกรม ดังนี้ รูปแบบและตัวอยาง

ผูใหสัมภาษณ. (วันที่ เดือน ปที่พมิพ). ชื่อบทความ. [ชื่อผูสัมภาษณ,

ผูสัมภาษณ]. ชื่อหนังสอืพิมพ, เลขหนา.

ประพัฒน ปญญาชาติรักษ. (12 กนัยายน 2549). จากศิษยเกา ทรท...สูนองใหม ชท.

[ทองนากศิริว ิเหลาวงศโคตร, ผูสัมภาษณ]. มติชนรายวนั, 11. บรรณานุกรมประเภทวิทยานิพนธและการศึกษาคนควาดวยตนเอง

การลงรายการบรรณานุกรมประเภทวิทยานิพนธและการศึกษาคนควาดวยตนเอง มี

รูปแบบที่แตกตางจากหนังสือทั่วไป คือใหระบุคําวา “วิทยานิพนธ” หรือ “การศึกษาคนควาดวย

ตนเอง” และอักษรยอชื่อปริญญา กํากับตอจากชื่อเร่ือง รวมทั้งระบุชื่อมหาวิทยาลัย และช่ือจังหวัด

ที่ต้ัง

การอางอิงผลการศึกษาวิจัยจากสารนิพนธ ดังกลาวขางตน นอกจากการอางจาก

ตนฉบับสารนิพนธแลว อาจอางบทคัดยอหรือสรุปรายงานผลการศึกษาวิจัย ซึ่งพิมพเผยแพรใน

วารสารหรือหนังสือรวมบทคัดยอ นอกจากนี้ การอางอิงการวิจัยจากสารนิพนธทั้งในสวนเนื้อหา

หรือบทคัดยอ ยังอาจอางจากฐานขอมูลวิทยานิพนธออนไลน ไดอีกทางหน่ึง การลงรายการ

บรรณานุกรมก็จะเปนไปตามประเภทของส่ือ ดังนี้ 1. การลงรายการบรรณานุกรมจากวิทยานิพนธและการศึกษาคนควาดวยตนเอง

รูปแบบและตัวอยาง ผูแตง. (ปที่พมิพ). ชื่อเรื่อง. วิทยานิพนธ หรือ การศึกษาคนควาดวยตนเอง อักษรยอ

ชื่อปริญญา, ชื่อมหาวทิยาลัย, ชื่อจังหวัดที่ต้ังมหาวิทยาลัย.

กาญจน เรืองมนตรี. (2547). องคประกอบภาวะผูนําที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารและ การจัดการศกึษาสถานศกึษาขั้นพื้นฐานตามแนวปฏิรูปการศกึษา: กรณศีกึษา เขตพื้นทีก่ารศึกษามหาสารคาม. วิทยานิพนธ กศ.ด., มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.

ปวีณา มณีวัลย, รัชนู แตงออน, วิจิตรา ทองพาน, พ.ท.สมบัติ บุญกอแกว และสุชยั เชี่ยววิทยการ.

(2548). การบริหารจัดการวิสาหกจิชุมชนกับการพึง่ตนเองทางเศรษฐกิจและ

สังคม: กรณศีึกษาจังหวัดพิษณุโลก. การศึกษาคนควาดวยตนเอง ศศ.ม.,

มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.

64

สถิตาภรณ ศรีหิรัญ. (2547). การวิเคราะหแนวเนื้อหาและประเมินคุณคาของบทความ

เกี่ยวกับเพศศึกษาในอินเทอรเน็ต เว็บไซต http://www.clinicrak.com. วิทยานพินธ

ศศ.ม., มหาวทิยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.

Charusalaipong, P. (2004). Potentials of petroleum companies to divert investment

into solar energy in Thailand. Master thesis, M.S., Naresuan University,

Phitsanulok.

Singnoi, U. (2000). Norminal constructions in Thai. Doctoral dissertation, Ph.D.,

University of Oregon, Eugene.

Sun, H. (2000). Effect of informational support on uncertainty in illness among

mastectomy patients. Master thesis, M.Sc., Chiang Mai University,

Chiang Mai.

2. การลงรายการบรรณานุกรมจากหนังสือรวมบทคัดยอวิทยานิพนธและหนังสือ

รวมบทคัดยอการศกึษาคนควาดวยตนเอง 2.1 การลงรายการบรรณานุกรมจากหนังสือรวมบทคัดยอ กรณีเปนรายการบรรณานุกรมจากส่ิงพิมพประเภทหนังสือรวมบทคัดยอ

วิทยานิพนธ หรือการศึกษาคนควาดวยตนเอง ซึ่งปรากฏเฉพาะส่ิงพิมพภาษาไทย ใหลงรายการ

เชนเดียวกับหนังสือรวมบทความ รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตง. (ปที่พิมพ). ชื่อเร่ือง. ใน ชือ่หนังสือรวมบทคัดยอ (หนา เลขหนาของ

บทคัดยอ). สถานทีพ่ิมพ: สํานักพิมพหรือโรงพิมพ.

กฤษณา วงษรักษ. (2542). วิเคราะหความเช่ือที่ปรากฏในนวนิยายเหนือธรรมชาติของ “แกวเกา”

ระหวางป พ.ศ. 2531-2536. ใน บทคัดยอวิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต

ปการศึกษา 2542 (หนา 69). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ณัฐกานต ตาบุตรวงศ, พัชรินทร ออนอารีย และรัศมีแข จงธรรม. (2543). การติดเชื้อของแผล

ผาตัด รพ.พุทธชินราช. ใน รวมผลวจิัยทางคลินิก นิสิตแพทย มหาวทิยาลัยนเรศวร

ปการศึกษา 2543 (หนา 146-176). พิษณุโลก: คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย

นเรศวร.

65

วรชาติ พวงเงนิ. (2547). การกําจัดเหล็กในน้าํบาดาลบอต้ืนโดยใชวัสดุเหลือใชจากการทาํนา.

ใน รวมบทคัดยอวิทยานพินธ ปการศกึษา 2546 (หนา 179). พษิณุโลก:

บัณฑิตวทิยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.

เสวียง ชูมก, สหัส นันทะนานุศิษฎ และอนันต จันทรลี. (2548). การศึกษาสภาพและปญหาการ

จัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษาข้ันพืน้ฐาน สังกัดสํานักงานเขตพืน้ที ่

การศึกษาพิจติร เขต 1. ใน รวมบทคัดยอการศกึษาคนควาดวยตนเอง ปการศกึษา

2548 (หนา 163). พิษณุโลก: บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยนเรศวร.

2.2 การลงรายการบรรณานุกรมจากสิง่พิมพประเภทวารสาร

การลงรายการบรรณานุกรมบทคัดยอ หรือสรุปรายงานการวิจัยในวารสาร ให

ลงรายการ เชนเดียวกับการลงรายการบรรณานุกรมบทความจากวารสาร ดังนี้ รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตง. (ปที่พิมพ). ชื่อเร่ือง. ชื่อวารสาร, ปที่(เลขประจําฉบับ), เลขหนาของบทความ.

จุฬาลักษณ กคํุาอู. (2548). การศึกษาวิเคราะหคําศัพทภาษาถิน่อีสานท่ีปรากฏในวรรณคดีไทยสมัย

รัตนโกสินทรตอนตน. วารสารมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร, 3(1), 16-25.

Bennett, M. P. (1997). The effect of mirthful laughter on stress and natural killer cell

cytotoxicity. Dissertation Abstracts International – B, 58(07), 33-53.

3. การลงรายการบรรณานุกรมจากฐานขอมูลวิทยานิพนธออนไลน

รูปแบบและตัวอยาง ผูแตง. (ปที่เผยแพร). ชือ่วิทยานิพนธ. วิทยานพินธ อักษรยอชื่อปริญญา,

ชื่อมหาวทิยาลัย, ชื่อจังหวัดที่ต้ังมหาวทิยาลัย. สืบคนเมื่อ วนัที่ เดือน

ป จาก แหลงที่อยูของไฟล (URL)

นงนุช โอบะ. (2545). องคประกอบสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพและความสมัพันธ ระหวางสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพกับปจจัยคัดสรรบางประการของ พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วทิยานพินธ

กศ.ด., มหาวทิยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. สืบคนเมื่อ 13 กันยายน 2549,

จาก http://index.dc.thailis.uni.net.th:8000/DCMS_NU/detail.nsp

66

Presting, K. A. (2006). Analysis of conditional expressions. Thesis, M.A.,

The University of North Carolina at Chapel Hill. Retrieved September

13, 2006, from http://proquest.umi.com/pqdweb?index=3&did=107967

3331&SrchMode=1&sid...

บรรณานุกรมสื่อสิ่งพิมพอ่ืน ๆ เอกสารส่ิงพิมพอ่ืนๆ ที่อาจใชอางอิงและลงรายการบรรณานุกรม มีดังนี ้

1. จดหมายขาว จดหมายขาวที่มีกําหนดออกเปนวาระทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศใหลง

รายการเชนเดียวกับวารสาร โดยระบุเดือน ปที่พิมพ กรณีมีขอมูลไมสมบูรณใหลงรายการตาม

ขอมูลที่ปรากฏ รูปแบบและตัวอยาง

ผูแตง. (เดือน ปที่พมิพ). ชื่อบทความหรือชื่อเร่ือง. ชื่อจดหมายขาว, ปที ่

(เลขประจําฉบับ), เลขหนาของบทความหรือชื่อเร่ือง.

ธิติมา สุบิน. (มิถุนายน-สิงหาคม 2548). โครงการสัมมนาทางวิชาการและศึกษาดูงาน

ระดับบัณฑิตศึกษา. ขาวสารบัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิยาลัยนเรศวร, 6(1-3), 5.

2. จุลสาร (Pamphlet) และแผนพับ (Brochure)

จุลสารเปนเอกสารขนาดเล็ก มีจํานวนหนาไมมาก โดยปกติไมเกิน 50 หนา ที่

เผยแพรเปนคร้ังคราวในเร่ืองเฉพาะกิจ เพื่อการประชาสัมพันธ เชน การรณรงคประหยัดพลังงาน

การปองกันโรค ทั้งนี้ ไมรวมจุลสารที่มีกําหนดเผยแพรเปนวาระ ซึ่งจะลงรายการเชนเดียวกับ

วารสารทั่วไป สวนแผนพับเปนเอกสารที่เผยแพรเปนคร้ังคราวในเร่ืองเฉพาะกิจเชนเดียวกัน

เอกสารทั้งสองชนิดนี้ มักไมมีขอมูลเกี่ยวกับการผลิตมากนัก ใหลงรายการตามที่

ปรากฏเทาที่จะเปนประโยชนในการสืบคน เชน ชื่อเร่ือง ชื่อผูผลิต หรือปที่ผลิต (ถามี) รูปแบบและตัวอยาง

ชื่อแผนพับ/จุลสาร. (ปที่พิมพ). [แผนพับ/จุลสาร]. สถานที่พมิพ: สํานักพิมพหรือ

โรงพิมพ.

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลัยนเรศวร. (2547). [แผนพับ]. พิษณุโลก: บัณฑิตวทิยาลัย

มหาวทิยาลัยนเรศวร.

67

บัณฑิตศกึษา ประจาํปการศกึษา 2549 ที่ไมตองปรับพื้นฐานความรู. (2549). [แผนพับ].

พิษณุโลก: กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.

กฎหมายในชีวิตประจาํวนั. (ม.ป.ป.). [จุลสาร]. พษิณุโลก: คณะนติิศาสตร มหาวิทยาลัย

นเรศวร.

BBA: Faculty of Business. (n.d.). [Brochure]. Chonburi: Asian University of Science

and Technology.

Writing: The goal is variety (4th ed.). (1997). [Brochure]. Hartford, CT: The Writing

Center of Capital Community–Technical College.

3. จดหมายเหตุ คําสั่ง ประกาศ แผนปลิว โดยท่ัวไป เอกสารเหลานี้มักไมนํามาใชอางอิงมากนัก และสวนใหญมีขอมูลการ

ผลิตจํากัด การลงรายการจึงยืดหยุนไดตามขอมูลที่ปรากฏหรือตามความเหมาะสม ดังตัวอยาง

ตอไปนี้ รูปแบบและตัวอยาง

หนวยงาน. (วัน เดือน ป) เลขที่ของหนังสือ. ชื่อเอกสาร.

หอสมุดแหงชาติ. (จ.ศ. 1206) เลขที่ 12. จดหมายเหตุรัชกาลที่ 3.

มหาวิทยาลัยนเรศวร. (23 กรกฎาคม 2547). ประกาศมหาวทิยาลัยนเรศวร เรื่อง แนวปฏิบัติ

เกี่ยวกับนสิิตทุจริตการทําวิทยานิพนธ.

มหาวิทยาลัยนเรศวร. (8 กมุภาพนัธ 2549). ขอบังคับมหาวทิยาลัยนเรศวร วาดวยการศกึษา

ในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2549.

มหาวิทยาลัยนเรศวร. (10 เมษายน 2549). คําสัง่ที่ 686/2549 เรื่อง แตงต้ังคณะกรรมการ ดําเนินงานโครงการสัมมนาทางวิชาการและปจฉิมนิเทศนิสิตระดับปริญญาโท แผน ข ปการศึกษา 2548.

4. สารสนเทศในราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษาเปนส่ิงพิมพรัฐบาลที่มีกําหนดออกเปนวาระโดยตอเนื่องเปนเวลา

ยาวนาน โดยมีขอมูลการผลิตที่สมบูรณชัดเจน จึงมีรูปแบบการลงรายการเฉพาะประเภท ดังนี้ รูปแบบและตัวอยาง

ชื่อเร่ือง. (วนัที่ เดือน ป). ราชกิจจานุเบกษา. เลมที(่ตอนที)่. หนา เลขหนา.

68

กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธกีารในการรับแลกเปล่ียนเหรียญกษาปณชาํรุด พ.ศ. 2548.

(29 ธนัวาคม 2548). ราชกจิจานุเบกษา ฉบับกฤษฎกีา. 122(126 ก). หนา 12-14.

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2533. (29 กรกฎาคม 2533). ราชกจิจานุเบกษา

ฉบับพิเศษ. 107(131). หนา 1-33.

บรรณานุกรมวัสดุไมตีพมิพ วัสดุไมตีพิมพ หมายถึงส่ือที่ไมปรากฏลักษณะเปนรูปเอกสาร โดยทั่วไปมักมีขอมูลดาน

การผลิตไมครบถวนสมบูรณ หรือมีความแตกตางในวัสดุแตละชนิด รูปแบบการลงรายการท่ี

กําหนดไวจึงอาจยืดหยุนไดตามความเหมาะสม ทั้งนี้ใหคํานึงถึงความสะดวกในการสืบคนเปน

สําคัญ ดังนี้ 1. สื่อประเภทแถบบันทึกเสียง วีดิทัศน แผนซีดี ภาพยนตร โทรทัศนและ

วิทยุ งานศิลปะ การแสดง รูปแบบ

ผูรับผิดชอบ (หนาที)่. (ปที่ผลิต). ชื่อเรื่อง [ประเภทส่ือ]. สถานที่ผลิต: แหลงผลิต. ตัวอยางประเภทแถบบันทึกเสยีง

กิตติ กนัภัย (ผูเรียบเรียง). (ม.ป.ป.). พัฒนาบุคลิกภาพผูนํา [แถบบันทกึเสียง]. กรุงเทพฯ:

ไลบราร่ี.

พูนพงษ งามเกษม (ผูบันทกึ). (2548). เพลงกลอมเด็ก จังหวัดพิษณุโลก [แถบบันทกึเสียง].

พิษณุโลก: คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ศักด์ิสิริ มีสมสืบ (ผูขับรอง). (2543). บทเพลงกวี เกี่ยวกอย [แถบบันทึกเสียง]. กรุงเทพฯ:

กะทกิะลา.

Lake, F. L. (Author and speaker). (1989). Bias and organizational decision making

[Cassette]. Gainesville: Edwards.

ในกรณีที่ผูรับผิดชอบใชนามแฝงที่เปนที่รูจักแพรหลาย ใหใชนามแฝงนั้น เชน

ธงชัย แมคอินไตย และเสก โลโซ [นามแฝง] (ผูขับรอง). (2547). เบิรด-เสก [แถบบันทึกเสียง].

กรุงเทพฯ: แกรมมี่.

Young, T. [Pseudonym] (Singer). (2006). Temperature rising [Cassette]. Bangkok:

Phrased Differently Music.

69

ตัวอยางประเภทวีดิทศัน เปดตํานานเบญจภาคี [วดิีทัศน]. (2538). กรุงเทพฯ: เดตัมกรุป.

สุดแดน วิสุทธิลักษณ (ผูอํานวยการผลิต). (2538). คนไท: ความจรงิ ความเชื่อ หรือเชื้อชาติ,

ตอนท่ี 4 ไทหยา [วีดิทัศน]. กรุงเทพฯ: พาโนรามา ดอคคิวเมนทาร่ี.

อานนัท กาญจนพันธ (ผูเรียบเรียง). (2544). ภูมิปญญาทองถ่ินกับการพฒันา [วีดิทัศน].

พิษณุโลก: มหาวทิยาลัยนเรศวร.

Weir, P. B. (Producer); Harrison, B. F. (Director). (1992). Levels of consciousness

[Videotape]. Boston, Massachusetts: Filmways. ตัวอยางประเภทแผนซีดี (Compact Disc)

มหาวิทยาลัยนเรศวร (ผูผลิต). (ม.ป.ป.). พระราชประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

[วีดิทัศนซีดี]. พิษณุโลก: ศูนยวิจัยและฝกอบรมพลังงานแสงอาทิตย มหาวิทยาลัย

นเรศวร.

เมโทรแผนเสียง-เทป (ผูผลิต). (2549). 60 ป 60 ลานความดี ถวายเปนราชพลี 60 ป

พอหลวงครองราชย [ซีดี]. ม.ป.ท.

Martin, R. (Singer). (1991). Vuelve [CD]. Mexico City: Sony Music Entertainment.

Next Step (Producer). (1999). Total animated gifts [CD]. N.P: n.p. ตัวอยางประเภทภาพยนตร

ม.จ. ชาตรีเฉลิม ยุคล (ผูอํานวยการผลิตและผูกํากับการแสดง). (2549). ตํานานสมเด็จพระ

นเรศวรมหาราช [ภาพยนตร]. กรุงเทพฯ: พรอมมิตรโปรดักชั่น.

อังเคิล [นามแฝง] (ผูอํานวยการผลิต); ธนติ จิตนกุูล (ผูกํากับการแสดง). (2544). บางระจัน

[ภาพยนตร]. กรุงเทพฯ: ฟลมบางกอก (บีอีซี เทโร เอนเตอรเทนเมนต).

Holdt, D. (Producer); Ehlers, E. (Director). (1997). River at high summer: The St.

Lawrence [Film]. Hollywood, California: Hartford Film.

Redford, R. (Director). (1980). Ordinary people [Film]. Hollywood, California: Paramount.

Verbinski, G. (Director). (2003). Pirates of the Caribbean: The Curse of the Black Pearl

[Film]. Hollywood, California: Walt Disney.

70

ตัวอยางประเภทรายการโทรทัศนและวิทย ุไตรภพ ลิมปพทัธ (ผูอํานวยการผลิต). (15 กรกฎาคม 2544). เกมเศรษฐ ี[รายการโทรทัศน].

กรุงเทพฯ: บอรนคอรปอเรชั่น.

Keillor, G. (Producer); Smith, L. (Director). (October 2, 1993). A Prairie Home

Companion [Radio Program]. St.Louis, Missouri: KMOX.

ตัวอยางประเภทงานศิลปกรรม งานศิลปกรรมตางๆ เชน จิตรกรรม ประติมากรรม งานแกะสลัก งานหัตถกรรม ฯลฯ

ใหลงรายการโดยระบุสถานที่จัดแสดง ดังนี้

เฉลิมชัย โฆษติพิพัฒน (ศิลปน). (2539). จิตรกรรมประกอบบทพระราชนิพนธใน

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว [จิตรกรรม]. กรุงเทพฯ: ธนาคารไทยพาณิชย.

Gogh, V. V. (Artist). (1888). Entrance to the public gardens in Arles [Painting].

New York: Metropolitan Museum of Art. ตัวอยางประเภทการแสดง

คูกรรม เดอะ มิวสิคัล [ละครเพลง]. (15-25 สิงหาคม 2549). กรุงเทพฯ: ศูนยวฒันธรรม

แหงประเทศไทย.

รัฐภูมิ โตคงทรัพย (ผูขับรอง). (28 พฤษภาคม 2549). งานรวมตัว...ครอบครัวฟลม

[คอนเสิรต]. กรุงเทพฯ: ศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย.

Taylor, J. (Vocalist). (October 1, 1993). James Taylor Live: 1993 concert tour

[Concert]. Champaign: University of Illinois, Assembly Hall.

รายการบรรณานุกรมจากการแสดงสดหรือการแสดงในชวงระยะเวลาหน่ึง นอกจาก

การลงรายการตามรูปแบบที่กําหนดขางตน ในกรณีที่มีการบันทึกเปนส่ือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เชน

แผนพับ แผนซีดี เว็บไซต ฯลฯ ก็ควรอางตามรูปแบบที่กําหนดของส่ือนั้นๆ เพื่อประโยชนในการ

สืบคน 2. ฐานขอมูลสําเร็จรูป (Database CD-ROM) ฐานขอมูลสําเร็จรูปเปนส่ืออิเล็กทรอนิกสที่บันทึกสารสนเทศอยางเปนระบบ

สามารถสืบคนไดดวยคอมพิวเตอร หรือผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต

71

รูปแบบและตัวอยาง ผูแตง. (ปที่ผลิต). ชื่อเรื่อง. [ฐานขอมูลสําเร็จรูป]. (ชื่อฐานขอมูล: หมายเลขกํากบัเอกสาร)

สุภาพร ไชยวงค. (2547). การพัฒนาตัวบงชี้การดําเนินงานเกณฑการตรวจสอบ และเกณฑ

การประเมินคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยนเรศวร [ฐานขอมูลสําเร็จรูป].

(ฐานขอมูลวทิยานพินธไทย: TIAC: CD-ROM 1183)(ตนฉบับพมิพ พ.ศ. 2545)

Bower, D. L. (1993). Employee assistant programs supervisory referrals:

Characteristics of referring and nonreferring supervisors [CD-ROM].

(Proquest File: Dissertation Abstracts Item: 9315947)

McNicol, S. (1980). Elementary school mathematics in Canada: The nature of provincial elementary mathematics curricula as perceived by ministries of education, schools and teacher personnel [CD-ROM]. (ERIC: Document Reproduction

Service No. ED 183 415) บรรณานุกรมสื่อออนไลน ส่ือออนไลน เปนขอมูลจากระบบเครือขายอินเทอรเน็ต หรืออินทราเน็ต รูปแบบการลง

รายการขอมูลสารสนเทศในส่ือออนไลนใหเปนไปตามประเภทของขอมูล ซึ่งอาจเปนบทความ

หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-learning) เปนตน และโดยที่ขอมูลจาก

ส่ือออนไลนสวนใหญจะเปนการเผยแพรชั่วระยะเวลาหน่ึง จึงตองระบุเวลาใหชัดเจนทั้งเวลา

เผยแพรและเวลาที่สืบคน ที่สําคัญตองระบุแหลงที่อยูของไฟล หรือ URL (Uniform Resource

Locator) ไมใชระบุชื่อเว็บไซต ทั้งนี้ ถาไมสามารถลงรายการตามรูปแบบได เพราะขอมูลไม

สมบูรณ ก็ใหลงขอมูลเทาที่ปรากฏ

ถาไมปรากฏผูแตง ใหระบุผูเผยแพรสารสนเทศ กรณีไมปรากฏทั้งผูแตงและผูเผยแพร

สารสนเทศ ใหระบุผูผลิตหรือผูรับผิดชอบ ถาขอมูลไมแสดงวันที่เผยแพร ใหใชคําวา “ม.ป.ป.” หรือ

“n.d.” เชนเดียวกับการลงรายการสื่อส่ิงพิมพทั่วไป

ขอมูลจากส่ือออนไลนที่นํามาอางอิงในงานวิชาการ มี 3 ประเภทสําคัญ ดังนี้ 1. บทความออนไลน

บทความออนไลน หมายถึงบทความที่เผยแพรโดยตรง ไมเปนสวนหนึ่งของส่ือ

ประเภทใด

72

รูปแบบและตัวอยางภาษาไทย ผูแตง. (วันที่ เดือน ปที่เผยแพร). ชื่อบทความ. สืบคนเมือ่ วนัที่ เดือน ป, จาก

แหลงที่อยูของไฟล (URL)

จิรวัฒน พิระสันต และวนิดา บํารุงไทย. (8 เมษายน 2543). วรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัภูมิพลอดุลยเดช ฯ เรื่อง พระ มหาชนก: ความงดงามแหงวรรณกรรมสยาม ความงดงามแหงน้ําพระราชหฤทัย. สืบคนเมื่อ 10 เมษายน 2544, จาก http://www.nu.ac.th/article/chanok.html

รูปแบบและตัวอยางภาษาอังกฤษ

ผูแตง. (เดือน วันที,่ ปที่เผยแพร). ชื่อบทความ. Retrieved เดือน วันที่, ป,

from แหลงที่อยูของไฟล (URL)

American Psychological Association. (September 15, 1995). APA public policy action

alert: Legislation would affect grant recipients. Retrieved January 25, 1996,

from http://www.apa.org/ppo/istook.html

Bain, F. W. (June 16, 2006). A digit of the moon. Retrieved September 12, 2006,

from http://en.wikipedia.org/wiki/F._W._Bain

Munson, L. M. and Degelman, D. (September 21, 1997). Distant intercessory prayer

and task performance. Retrieved May 10, 2000, from http://www.vanguard.

edu/psychology/prayer.pdf

2. บทความในสื่อออนไลนประเภทตางๆ

2.1 บทความในสื่อออนไลน หมายถึงบทความที่เผยแพรเปนสวนหนึ่งของส่ือ

ออนไลนประเภทใดประเภทหน่ึง เชน หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ เปนตน รูปแบบและตัวอยางภาษาไทย

ผูแตง. (วันที่ เดือน ปที่เผยแพร). ชื่อบทความ. ชื่อสื่อออนไลน. สืบคนเมื่อ

วันที่ เดือน ป, จาก แหลงที่อยูของไฟล (URL)

พิชัย ลีพพิัฒนไพบูลย. (ตุลาคม 2546). การวิจัยตลาด. วารสารประสทิธิภาพการจดัการ.

สืบคนเมื่อ 13 กันยายน 2549, จาก http://www.smethai.net/effectivemanagement/

index.asp/

73

ราชบัณฑิตชี้ชดั “มุกตลก” ใช ก ไมใช ข. (7 พฤศจิกายน 2547). ผูจัดการออนไลน. สืบคนเมื่อ

10 กันยายน 2548, จาก http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?

NewsID=9470000078260

แสมดํา [นามแฝง]. (7 เมษายน 2544). ขาวเกษตร: พฒ. (กรมพัฒนาท่ีดิน) จับมือทางหลวง

ใชหญาแฝกปองกันถนนถกูน้ํากัดเซาะทําลาย. เดลินิวส. สืบคนเมื่อ 8 เมษายน 2544,

จาก http://www.dailynews.co.th/agriculture/ agr_news1.html

รูปแบบและตัวอยางภาษาอังกฤษ

ผูแตง. (เดือน วันที,่ ปที่เผยแพร). ชื่อบทความ. ชื่อสื่อออนไลน. Retrieved

เดือน วันที,่ ป, from แหลงที่อยูของไฟล (URL)

Coles, J. (September 14, 2006). Council bans ‘danger’ doormats. The Sun. Retrieved

September 14, 2006, from http://www.thesun.co.uk/article/0,

2-2006420584,00.html

Robinson, P. (January 2005). Aptitude and second language acquisition. Annual review

of applied linguistics. Retrieved September 14, 2006,

from http://journals.cambridge.org/action/displayIssue?iid=322778

2.2 กรณีอางหนงัสือออนไลนที่ไมระบุบทหรือตอนใหลงรายการ ดังนี ้ รูปแบบและตัวอยางภาษาไทย

ผูแตง. (วันที่ เดือน ปที่เผยแพร). ชื่อสื่อออนไลน. สืบคนเมื่อ วันที่ เดือน ป,

จาก แหลงที่อยูของไฟล (URL)

ริฎอ อะหมัด สมะดี. (8 มิถนุายน 2546). เมื่อความจริงปรากฏ. สืบคนเมื่อ 26 มนีาคม 2550,

จาก http://www.islaminthailand.com/text.php?id=99

รูปแบบและตัวอยางภาษาอังกฤษ

ผูแตง. (เดือน วันที,่ ปที่เผยแพร). ชื่อสื่อออนไลน. Retrieved เดือน วันที,่ ป,

from แหลงที่อยูของไฟล (URL)

74

Bernstein, A. J. (n.d.). How to deal with emotionally explosive people. Retrieved March

26, 2007, from http://www.netlibrary.com/Details.aspx?ProductId=

86816&Terms =psychology&...

3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-learning)

ในกรณีลงรายการบรรณานุกรมบทเรียนอิเล็กทรอนิกส ใหลงรูปแบบรายการ ดังนี้ รูปแบบและตัวอยางภาษาไทย

ผูแตง. (วันที่ เดือน ปที่เผยแพร). ชื่อบทหรือชื่อเร่ือง. ชื่อบทเรยีนออนไลน. สืบคนเมื่อ

วันที่ เดือน ป, จาก แหลงที่อยูของไฟล (URL)

ทิพรัตน สิทธิวงศ. (ม.ป.ป.). สวนประกอบของคอมพิวเตอร. 355308 คอมพิวเตอรเพื่อการเรียน

การสอน. สืบคนเมื่อ 26 มนีาคม 2550, จาก http://www.edu.nu.ac.th/wbi/355308/

frame_menu.htm

รูปแบบและตัวอยางภาษาอังกฤษ

ผูแตง. (เดือน วันที่, ปที่เผยแพร). ชื่อบทหรือชื่อเร่ือง. ชื่อบทเรยีนออนไลน.

Retrieved เดือน วันที,่ ป, from แหลงที่อยูของไฟล (URL)

Mae Fah Luang University. (n.d.). Chapter 7: Storage. 1405102 Introduction to

postharvest technology. Retrieved March 26, 2007,

from http://e-learning.mfu.ac.th/mflu/1405102/Lesson.htm บรรณานุกรมในสารนิพนธที่อางอิงแบบใชตัวเลข การลงรายการบรรณานุกรมในสารนิพนธที่อางอิงแบบใชตัวเลข มีรูปแบบดังกลาวแลว

ขางตน โดยเรียงรายการบรรณานุกรมตามลําดับการอางกอนหลัง ตัวอยาง

[1] ประจักษ สายแสง. (2547). แนวคิดในการต้ังชื่อวัด: การศึกษาเปรียบเทียบชื่อวดัในเขต

อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก กับเขตอําเภอเชียงใหม. วารสารมนุษยศาสตร

มหาวทิยาลัยนเรศวร, 1(1), 1-18.

[2] Keanmepol, N. (2006). Fables under fire. Nation Junior Magazine, 14(326), 24-25.

[3] คูมือสําหรับผูปกครองเด็กออทิสติก. (2539). กรุงเทพฯ: ศูนยสุขวิทยาจิต กรมสุขภาพจิต.

75

[4] อุษา พัดเกตุ. (2548). อสรพิษ: พิษงูไมรายเทาพิษคน [บทวิจารณเร่ืองส้ัน เร่ือง อสรพิษ].

วารสารมนุษยศาสตร มหาวิทยาลยันเรศวร, 2(1), 136-144.

[5] Jarboe, K. S., Littrell, K. and Tugrul, K. (2005). Long-acting injectable risperidone:

An emerging tool in schizophrenia treatment. Psychosocial Nursing and Mental

Health Services, 43(12), 25-33.

[6] เกษม วัฒนชัย (ผูปาฐกถา). (26 กรกฎาคม 2546). ยุทธศาสตรการพัฒนาบัณฑิตศึกษา

มหาวทิยาลัยนเรศวร. พษิณุโลก: มหาวทิยาลัยนเรศวร.

[7] วนิดา บํารุงไทย. (2550). การพูดและการเขยีนในโอกาสพิเศษ. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน.

[8] Blaney, K. D. and Howard, P. R. (Eds.). (2000). Basic & applied concept of

immunohematology. St. Louis: Mosby.

กลาวโดยสรุป จุดประสงคสําคัญของการเสนอบรรณานุกรม คือการช้ีแหลงสืบคนขอมูล

ที่นํามากลาวอางในสารนิพนธ ในกรณีที่มีผูประสงคจะศึกษาคนควาเพิ่มเติมหรือตองการ

ตรวจสอบ การลงรายการจึงคํานึงถึงการสืบคนไดงายและสะดวกเปนสําคัญ

ทั้งนี้ การจัดทํารายการบรรณานุกรมตลอดจนระเบียบวิธีการจัดทํารูปเลมและการ

นําเสนอเนื้อหาในสวนตางๆ ของสารนิพนธดังไดกลาวมาทั้งหมดนี้ สวนใหญเปนระเบียบวิธีอัน

เปนมาตรฐานสากลซ่ึงเปนที่นิยมใชในวงวิชาการโดยแพรหลาย เพื่อใหผลงานวิชาการมีความ

ประณีต นาเช่ือถือ มีการอางอิงขอมูลอยางเปนระบบ ที่ผูอานอาจตรวจสอบหรือสืบคนได

โดยสะดวก การศึกษาและทําความเขาใจหลักเกณฑการนําเสนอสารนิพนธเหลานี้ใหสามารถ

นําไปใชไดอยางถูกตอง จึงนับวาเปนประโยชนอยางยิ่งสําหรับผูจัดทําเอกสารวิชาการ เพราะ

นอกจากจะใชในการจัดทํานําเสนอผลการศึกษาคนควาหรือวิจัยในสถาบันการศึกษาแลว กย็งัเปน

แบบแผนซึ่งนําไปใชในการเรียบเรียงงานวิชาการโดยทั่วไปอีกดวย