บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่...

35
บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาวิจัยเรื่องประสิทธิภาพการทํางานเปนทีมของพนักงานบริษัทการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สนามบินสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยไดศึกษาแนวความคิด ทฤษฎี เอกสารและ ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเปนกรอบและแนวทางในการศึกษาวิจัย ดังนี1. ขอมูลเกี่ยวกับบริษัทการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 2. แนวคิดเกี่ยวกับการทํางานเปนทีม 3. แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิภาพการทํางาน 4. ผลของการทํางานเปนทีมที่มีตอประสิทธิภาพการทํางาน 5. งานวิจัยที่เกี่ยวของ ขอมูลเกี่ยวกับบริษัทการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ความเปนมาของบริษัทการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ ไดกอตั้งธุรกิจสายการบินขึ้นในป 2511 โดยจัดตั้งเปนแผนกการบิน ของบริษัท กรุงเทพ สหกล จํากัด ซึ่งนายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ เปนเจาของ หลังจากนั้นในป 2527 จึงไดกอตั้ง บริษัท สหกลแอรจํากัด ขึ้น เพื่อรับโอนกิจการตาง ๆ ซึ่งรวมถึงแผนกการบินจากบริษัท กรุงเทพสหกล จํากัด และในภายหลัง ไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท การบินกรุงเทพ จํากัด บริษัท ไดเริ่มใหบริการเที่ยวบินแบบประจํา อยางเปนทางการ ภายใตชื่อปจจุบันคือ สายการบิน บางกอกแอรเวย นับตั้งแตป 2529 เปนตนมา และใน ป 2532 บริษัทฯ ไดสรางสนามบินแหงแรก ที่เกาะสมุย ซึ่งในขณะนั้นเปนชวงเริ่มตนของการพัฒนาเกาะสมุยใหเปนแหลงทองเที่ยวนานาชาติ โดยบริษัทฯ ไดเริ่มดําเนิน งานในสนามบินสมุย และไดรับอนุญาตใหทําการบินใน เสนทางการบินแรก คือ กรุงเทพฯ - เกาะสมุย พรอมกับ ไดรับรหัสการบินจาก IATA คือรหัสการบิน “PG” ตอมา ในป 2537 จึงไดเขารวมในสํานักหักบัญชีของ IATA (IATA Clearing House) และไดเริ่มนําเครื่องบิน แบบเอทีอาร 72 จํานวน 2 ลํามาใชในฝูงบิน ในป 2541 บริษัทฯ ไดเริ่มดําเนินการในสนาม บินแหงที่สอง คือ สนามบินสุโขทัย และในป 2543 ไดเริ่มการบินดวยเครื่องบินไอพนซึ่งมีความรวดเร็วและมีจํานวน ที่นั่งมากขึ้นเพื่อเพิ่มความจุ ผูโดยสารและลดความถี่ของ เที่ยวบินลงโดยนําเครื่องบินแบบโบอิ้ง 717 - 200 ลําแรก มาใชในการ ดําเนินงาน ซึ่งชวยเพิ่มความสามารถในการ ปฏิบัติการการบินของบริษัทฯ และลดความถี่ของเที่ยวบิน

Transcript of บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่...

Page 1: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาวิจัยเรื่องประสิทธิภาพการทํางานเปนทีมของพนักงานบริษัทการบินกรุงเทพจํากัด (มหาชน) สนามบินสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยไดศึกษาแนวความคิด ทฤษฎี เอกสารและผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ เพ่ือเปนกรอบและแนวทางในการศึกษาวิจัย ดังนี้

1. ขอมูลเก่ียวกับบริษัทการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)2. แนวคิดเก่ียวกับการทํางานเปนทีม3. แนวคิดเก่ียวกับประสิทธิภาพการทํางาน4. ผลของการทํางานเปนทีมท่ีมีตอประสิทธิภาพการทํางาน5. งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

ขอมูลเกี่ยวกับบริษัทการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

ความเปนมาของบริษัทการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถไดกอตั้งธุรกิจสายการบินข้ึนในป 2511 โดยจัดตั้งเปนแผนกการบิน ของบริษัท กรุงเทพ สหกล จํากัดซึ่งนายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ เปนเจาของ หลังจากนั้นในป 2527 จึงไดกอตั้ง บริษัทสหกลแอรจํากัด ข้ึน เพ่ือรับโอนกิจการตาง ๆ ซึ่งรวมถึงแผนกการบินจากบริษัท กรุงเทพสหกล จํากัดและในภายหลัง ไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท การบินกรุงเทพ จํากัด

บริษัท ไดเริ่มใหบริการเท่ียวบินแบบประจํา อยางเปนทางการ ภายใตชื่อปจจุบันคือ สายการบินบางกอกแอรเวย นับตั้งแตป 2529 เปนตนมา และใน ป 2532 บริษัทฯ ไดสรางสนามบินแหงแรกท่ีเกาะสมุย ซึ่งในขณะนั้นเปนชวงเริ่มตนของการพัฒนาเกาะสมุยใหเปนแหลงทองเที่ยวนานาชาติโดยบริษัทฯ ไดเริ่มดําเนิน งานในสนามบินสมุย และไดรับอนุญาตใหทําการบินใน เสนทางการบินแรกคือ กรุงเทพฯ - เกาะสมุย พรอมกับ ไดรับรหัสการบินจาก IATA คือรหัสการบิน “PG” ตอมา ในป2537 จึงไดเขารวมในสํานักหักบัญชีของ IATA (IATA Clearing House) และไดเริ่มนําเครื่องบินแบบเอทีอาร 72 จํานวน 2 ลํามาใชในฝูงบิน

ในป 2541 บริษัทฯ ไดเริ่มดําเนินการในสนาม บินแหงท่ีสอง คือ สนามบินสุโขทัย และในป2543 ไดเริ่มการบินดวยเครื่องบินไอพนซึ่งมีความรวดเร็วและมีจํานวน ที่นั่งมากขึ้นเพื่อเพิ่มความจุผูโดยสารและลดความถ่ีของ เท่ียวบินลงโดยนําเครื่องบินแบบโบอ้ิง 717 - 200 ลําแรก มาใชในการดําเนินงาน ซึ่งชวยเพ่ิมความสามารถในการ ปฏิบัติการการบินของบริษัทฯ และลดความถ่ีของเท่ียวบิน

Page 2: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

9

ในเสนทางกรุงเทพ - สมุยลง พรอมกันนี้ บริษัทฯ เริ่ม ดําเนินงานในสวนของโรงซอมอากาศยานท่ีสนามบิน ดอนเมืองและเขาเปนสมาชิกของ IATA Billing and Settlement Plan (“BSP”) ซึ่งทําใหบริษัทฯ เพ่ิมฐานการขาย และยังสามารถรับชําระราคาบัตรโดยสารท่ี จําหนายผานผูแทนจําหนายบัตรโดยสารท่ีไดรับอนุญาต จาก IATA ผานระบบชําระเงินของธนาคารท่ีบริหาร จัดการโดย IATA ไดจนกระท่ังในป 2545 จึงไดเขาเปนสมาชิกสามัญของ IATA ซึ่งหมายถึงการเขาสูมาตรฐานความปลอดภัยในการบินพาณิชยสากลนานาชาติภายใต IATA Operational Safety Audit (“IOSA”) และการมีสิทธิออกเสียงเรื่องอัตราคาโดยสาร และในป 2549 บริษัทฯ ไดเริ่มดําเนินกิจการสนามบินแหงท่ีสามคือสนามบินตราด

ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจํานวน 2,100,000,000 บาท แบงเปนหุนสามัญจํานวน 2,100,000,000 หุน มูลคาท่ีตราไวหุนละ 1 บาท และมีทุนชําระแลวจํานวน2,100,000,000 บาท

บริษัทการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สนามบินสมุย จังหวัดสุราษฎรธานีบริษัทการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ไดกอสรางและพัฒนา สนามบินสมุย และเปดใหบริการ

ในป 2532 ดวยเงินลงทุนประมาณ 800 ลานบาท สนามบินเปดอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 25เมษายน 2532 สนามบินใหบริการ การเดินทางในประเทศท่ีมีการไปและกลับจากกรุงเทพฯ ดวยพ้ืนท่ีทางวิ่ง (Runway) 1,800 เมตร

ในป 2540 สนามบินสมุยไดมีการพัฒนาเพ่ือรองรับเท่ียวบินตางประเทศ โดยเพ่ิมศุลกากรและหนวยงานตรวจคนเขาเมือง พรอมกับอาคารพักผูโดยสารแหงใหม เพ่ือรองรับเท่ียวบินเสนทางใหม มายังสนามบินรวมถึงการใหบริการท่ีมีจุดหมายปลายทางยังตางประเทศ

ในป 2547 สนามบินไดเริ่มดําเนินการโครงการขยายอาคารรองรับผูโดยสารอีก 6 อาคารโดย 4 อาคาร สําหรับเสนทางบินในประเทศ และอีก 2 อาคารสําหรับเสนทางการบินระหวางประเทศดวยเงินลงทุน 500 ลานบาท นอกจากนี้ยังขยายพ้ืนท่ีทางวิ่งใหมีความยาวถึง 2,100 เมตร บนพ้ืนท่ีท่ีกองทุนรวม มีสิทธิการเชาระยะยาวโดยมีการกอสรางแลวเสร็จเม่ือป 2550 สามารถรองรับผูโดยสารไดถึง 16,000 คนตอวัน และสามารถเพิ่มจํานวนผูโดยสารตอปจาก 1.3 ลานคนเปน 6.0 ลานคนการเติบโตของสนามบินสมุยทําใหทองเท่ียวเกาะสมุยเติบโตข้ึนดวย

ปจจุบันเกาะสมุยเปนจุดหมาย ปลายทางที่ไดรับความนิยมจากชาวยุโรป เอเชีย และจากภูมิภาคอ่ืน ๆ ดวยขนาดของพ้ืนท่ีทางวิ่ง 2,100 เมตร บริษัทฯ สามารถเพ่ิมขนาดของเครื่องบินท่ีใหบริการมายังสนามบิน โดยปจจุบันมีการใหบริการดวยเครื่องบินแบบ แอรบัส เอ 319 และเครื่องบินแบบเอทีอาร 72 สนามบินสมุยยังไดเปดใหบริการแกสายการบินอื่นดวย เชน สายการบินไทยสายการบินซิลคแอร สายการบินฟายเออรฟลาย

Page 3: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

10

สนามบินสมุยไดรับหลายรางวัลในดานการออกแบบและสถาปตยกรรม ประกอบดวยรางวัลดานผลกระทบสิ่งแวดลอมท่ีสนามบินไดนําตนมะพราวมาใชในการตกแตง และการใชอากาศจากธรรมชาติ ในระบบการทําความเย็นแบบเปดในอาคารรับรองผูโดยสาร และตั้งแตวันท่ี 1 ตุลาคม 2558สนามบินสมุยไดนําระบบตรวจสอบและคัดกรองผูโดยสารลวงหนา หรือ APPS (Advance PassengerProcessing System) มาใชในสนามบินโดยเริ่มดําเนินการพรอม กับการทาอากาศยานแหงประเทศไทย(ทอท.) ในการตรวจสอบผูโดยสาร เพื่อปองกันการกอการราย ขามชาติและเพิ่มความปลอดภัยในทาอากาศยาน สอดรับกับมาตรการรักษาความปลอดภัยท่ีองคการ การบินพลเรือนระหวางประเทศ(ICAO) ใหความสําคัญ

รายไดหลักท่ีไดรับจากการดําเนินงานสนามบินสมุยมาจากคาบริการผูโดยสารขาออกท่ีเรียกเก็บจากผูโดยสารขาออก คาบริการในการลงจอดอากาศยาน คาบริการที่จอดอากาศยาน และคาบริการภาคพ้ืนดินท่ีเรียกเก็บจากสายการบินอ่ืน ๆ ท่ีเขามาใชบริการสนามบินสมุย รวมถึงรายไดจากการใหเชาพ้ืนท่ีในเชิงพาณิชยในสนามบินสมุย

บริษัทฯ ไดใหสิทธิในการใหบริการภาคพื้นดินแก PGGS เพื่อใหบริการภาคพื้นดินแกสายการบินอ่ืนท่ีเขามาใชบริการในสนามบินสมุย ดังนั้น บริษัทฯ จึงไมมีรายไดจากการใหบริการภาคพ้ืนดินใหแกสายการบินอ่ืนโดยตรง แตจะไดรับรายไดจากการใหสิทธิในการบริการภาคพื้นดินจาก PGGS ซึ่งเงินจากรายไดหลักท่ีไดรับจากการดําเนินงานสนามบินสมุยดังกลาวสวนใหญ จะถูกจายตอไปยังกองทุนรวมในรูปของคาเชา คาบริการคงที่ และคาบริการผันแปร บริษัทฯ จะไดรับรายไดกลับคืนมาในรูปแบบของเงินปนผลจากการถือหนวยลงทุนในกองทุนรวมตามสัดสวนท่ีถืออยู

แนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจทาอากาศยานความหมายและความเปนมาของทาอากาศยานพระราชบัญญัติศุลกากร ใหความหมายของทาอากาศยานวา หมายถึง สถานที่บนพื้นดิน

หรือบนพ้ืนน้ําท่ีใชเปนท่ีข้ึนลงของอากาศยานเพ่ือรับสงผูโดยสาร สัมภาระ สินคา และไปรษณียภัณฑซึ่งในทาอากาศยานจะมีอาคารและอุปกรณอํานวยความสะดวกท่ีจะใหบริการแกเครื่องบิน ผูโดยสารการขนสงสัมภาระและไปรษณียภัณฑ

พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 ใหความหมายของ ทาอากาศยาน หมายถึงพ้ืนท่ีท่ีกําหนดไวในพ้ืนดินหรือน้ําสําหรับใชท้ังหมดหรือแคเพียงบางสวนเพ่ือการขึ้นลงหรือเคลื่อนไหวของอากาศยาน รวมตลอดถึงอาคาร สิ่งติดตั้ง และบริภัณฑซึ่งอยูภายในสนามบินนั้น

อนุสัญญาการบินพลเรือนระหวางประเทศ ใหความหมายของทาอากาศยานวา หมายถึงพ้ืนท่ีท่ีอยูบนผิวดินและผิวน้ํา รวมตลอดถึงอาคารสิ่งติดตั้งและอุปกรณสําหรับใชสวนใดสวนหนึ่งหรือท้ังหมด เพ่ือการข้ึนลงของเครื่องบิน

Page 4: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

11

ทาอากาศยานเปนสวนหนึ่งหรือองคประกอบของอุตสาหกรรมการบิน ซึ่งอุตสาหกรรมการบินประกอบดวยธุรกิจท่ีสําคัญ ดังนี้

ภาพท่ี 2.1 แผนผังของอุสาหกรรมการบิน (สถาบันการบินพลเรือน, 2559)

ความเปนมาของทาอากาศยานข้ันท่ี 1 เริ่มจากมีองคประกอบ 2 สิ่งที่สัมพันธกันคือ มีเครื่องบินและพื้นที่สําหรับให

เครื่องบินข้ึนลงข้ันท่ี 2 เริ่มมีผูโดยสารดวยเครื่องบินเขามาเก่ียวของดวยข้ันท่ี 3 เม่ือมีผูโดยสารดวยเครื่องบินก็เริ่มมีสิ่งปลูกสรางเพ่ือใหเปนสํานักงานและท่ีพัก

รอคอยของผูโดยสารเพ่ือข้ึนเครื่องบินข้ันท่ี 4 สิ่งปลูกสรางที่เปนสํานักงานในขั้นที่ 3 สวนหนึ่งพัฒนาเปนหอบังคับการบิน

เพ่ือทําหนาท่ีใหขอมูลสําหรับการข้ึนลงของเครื่องบินข้ันท่ี 5 เม่ือกิจการดานการขนสงดวยเครื่องบินขยายตัวมากข้ึน มีคนตองการเดินทาง

ดวยเครื่องบินมากข้ึน และมีเครื่องบินใหบริการข้ึนลงมากข้ึน จึงมีการจัดสถานท่ีสําหรับจอดเครื่องบินข้ันท่ี 6 เม่ือมีผูโดยสารมาข้ึนเครื่องบินมากข้ึน จึงตองพัฒนาใหมีการจัดชองทางเขาออก

สําหรับผูโดยสารท่ีจะข้ึนเครื่องบิน

อุตสาหกรรมการบิน

ธุรกิจสายการบิน ธุรกิจเครื่องบิน ธุรกิจทาอากาศยาน

ธุรกิจบริการเครื่องชวยใน

การเดินอากาศ

หนวยงานท่ีเก่ียวของกับอุตสาหกรรม

การบิน

Page 5: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

12

ประเภทของทาอากาศยาน1. การแบงประเภททาอากาศยานตามลักษณะการใหบริการ

1.1 Airport เปนทาอากาศยานท่ีมีพ้ืนท่ีท่ีกําหนดข้ึนบนพ้ืนดินหรือพ้ืนน้ํารวมท้ังอาคารและสวนประกอบ มีเครื่องอํานวยความสะดวกในการบินและการ ขนสงขอมูล เชน มีการบริการน้ํามันเชื้อเพลิง วิทยุชวยการเดินอากาศ ดาน ศุลกากร ดานตรวจคนเขาเมือง ดานกักโรค พาหนะขนสงระหวางทาอากาศยานกับตัวเมือง โรงแรมท่ีพัก เปนตน

1.2 Aerodrome เปนทาอากาศยานท่ีมีลักษณะเหมือน Airport ทุกประการ แตมักใชในทางวิชาการขนสงทางอากาศมากกวา

1.3 Airfield เปนทาอากาศยานท่ีใชสําหรับเครื่องบินข้ึนลง แตมีบริการหรือสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีจําเปนเทานั้น

1.4 Airstrip เปนทาอากาศยานขนาดเล็กใชพ้ืนท่ีภูมิประเทศท่ีจัดทําข้ึน เพ่ือใหเครื่องบินข้ึนลงเทานัน้ โดยไมมีเครื่องชวยเดินอากาศและสิ่งอํานวยความ สะดวก

2. การแบงประเภททาอากาศยานตามลักษณะการเปนเจาของ2.1 ทาอากาศยานของรัฐ2.2 ทาอากาศยานของเอกชน

3. การแบงประเภททาอากาศยานตามลักษณะการใชงาน3.1 ทาอากาศยานทหาร3.2 ทาอากาศยานพลเรือน สามารถแบงยอยไดดังนี้

3.2.1 ทาอากาศยานพลเรือนระหวางประเทศ หมายถึง ทาอากาศยานท่ี อนุญาตใหเปนจุดเขาออกของการขนสงทางอากาศระหวางประเทศ หรือเปนทาอากาศยานสําหรับเครื่องบินโดยสาร และสินคาท่ีเดิน ทางเขาหรือออกระหวางประเทศ สิ่งสําคัญท่ีทาอากาศยานระหวาง ประเทศจะตองมีคือ พิธีการดานศุลกากร การตรวจคนเขาเมือง ดาน กักกันโรค ดานกักกันพืช ดานกักกันสัตวสําหรับทาอากาศยาน พลเรือนระหวางประเทศท่ีอยูในความควบคุมดูแลของบริษัท ทาอากาศยานไทยจํากัด (มหาชน) มีอยู 6 แหง คือ ทาอากาศยาน ดอนเมือง ทาอากาศยานเชียงใหม ทาอากาศยานเชียงใหม ทาอากาศยานภูเก็ต ทาอากาศยานเชียงราย ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ

3.2.2 ทาอากาศยานภายในประเทศ หมายถึงทาอากาศยานท่ีอนุญาตใหเปนจุดเขาออกของการจราจรทางอากาศในประเทศ หรือเปนทาอากาศยานสําหรับเครื่องบินผูโดยสารสินคาภายในประเทศ เทานั้น สําหรับทาอากาศยานพลเรือนภายในประเทศของไทยอยูในความควบคุมของกรมการบินพลเรือน กระทรวงคมนาคม มี 28 แหง ดังนี้ ทาอากาศยานปาย ทาอากาศยานแมฮองสอน ทาอากาศยานนาน ทาอากาศยานลําปาง ทาอากาศยานแพร ทาอากาศยานแมสะเรียงทาอากาศยานพิษณุโลก ทาอากาศยานเพชรบูรณ ทาอากาศยานเลย ทาอากาศยานอุดรธานี

Page 6: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

13

ทาอากาศยานสกลนคร ทาอากาศยานนครพนม ทาอากาศยานขอนแกน ทาอากาศยานรอยเอ็ดทาอากาศยานนครราชสีมา ทาอากาศยานบุรีรัมย ทาอากาศยานอุบลราชธานี ทาอากาศยานตากทาอากาศยานแมสอด ทาอากาศยานหัวหิน ทาอากาศยานชุมพร ทาอากาศยานระนอง ทาอากาศยานสุราษฎรธานี ทาอากาศยานนครศรีธรรมราช ทาอากาศยานกระบี่ ทาอากาศยานตรัง ทาอากาศยานปตตานี ทาอากาศยานนราธิวาส เปนตน

3.3 ทาอากาศยานในประเทศที่เอกชนสรางโดยไดรับการสงเสริมจากรัฐบาล คือทาอากาศยานของบริษัท การบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) มี 3 แหง ดังนี้ ทาอากาศยานเกาะสมุยทาอากาศยานสุโขทัย ทาอากาศยานตราด เปนตน

บทบาทและหนาท่ีของทาอากาศยานบทบาทของทาอากาศยาน สามารถแบงได 3 ลักษณะ คือ

1. บทบาทในการใหบริการเครื่องบิน1.1 มีบทบาทชวยใหเครื่องบินเขาจอดรับสงผูโดยสารและสินคาไดอยางสะดวกสบาย

และปลอดภัย1.2 มีบทบาทชวยในการซอมแซมบํารุงรักษาและเติมเชื้อเพลิงใหแกเครื่องบิน1.3 มีบทบาทในการเชื่อมโยงระหวางเครื่องบินกับเครื่องบิน และเครื่องบินกับการขนสง

ประเภทอ่ืน ๆ2. บทบาทในการบริการขนสงผูโดยสาร

2.1 มีบทบาทเสมือนประตูเขาออกประเทศ2.2 มีบทบาทชวยใหผูโดยสารและยานพาหนะในการขนสงผูโดยสารไดรับความ

สะดวกสบาย2.3 มีบทบาทชวยพัฒนาระบบการขนสงผูโดยสาร2.4 มีบทบาทชวยลดปญหามลภาวะเครื่องเสียงของเครื่องบิน

3. บทบาทในการบริการขนสงสินคาทางอากาศ3.1 มีบทบาทชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการขนถายสินคา3.2 มีบทบาทชวยพัฒนาระบบการขนสงสินคา กระจายสินคา3.3 มีบทบาทชวยลดปญหามลภาวะทางสียง

สําหรับหนาท่ีของทาอากาศยานท่ีสําคัญมีดังนี้1. ดําเนินการใหบริการเครื่องบินท่ีมาใชบริการข้ึนลง ใหไดรับความสะดวกสบาย รวดเร็ว

ปลอดภัย2. ดําเนินการใหบริการผูโดยสารท่ีมาใชบริการใหไดรับความสะดวกสบาย รวดเร็ว ปลอดภัย

Page 7: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

14

3. ดําเนินการใหบริการขนถานสินคาท่ีมาใชบริการใหไดรับความสะดวกสบาย รวดเร็วปลอดภัย

4. ดําเนินการใหบริการขนถายพัสดุไปรษณียภัณฑทางอากาศท่ีมาใชบริการใหไดรับความสะดวกสบาย รวดเร็ว ปลอดภัย

คุณลักษณะของทาอากาศยานท่ีมีการบริการท่ีดี1. การเขา - ออกของผูโดยสารตองรวดเร็ว2. การขนถายสัมภาระตองมีประสิทธิภาพ3. การใหบริการตองมีคุณภาพ4. ขนาดของทาอากาศยานตองรองรับการจราจรไดอยางพอเพียง5. สิ่งอํานวยความสะดวกของผูโดยสารท่ีดีและเพียงพอ6. รานปลอดอากรทีดี7. การวางผังท่ีมีประสิทธิภาพ8. สิ่งแวดลอมดี9. ระบบขนสงสูตัวเมืองดี10. มาตรการรักษาความปลอดภัยท่ีดีและมีประสิทธิภาพ

การใหบริการของทาอากาศยานการใหบริการของทาอากาศยานแบงได 3 ประเภท คือ

1. สิ่งอํานวยความสะดวก (Facilities) เชน เครื่องอํานวยความสะดวกใหเครื่องบินข้ึนลงการนําเครื่องบินเจาจอดท่ีลานจอด การซอมบํารุงรักษาเครื่องบิน การจัดสิ่งอํานวยความสะดวกและสถานท่ีท่ีเพียงพอสําหรับผูโดยสาร เปนตน โดยคุณสมบัติของสิ่งอํานวยความสะดวกมี 3 ประการคือ มีมาตรฐาน มีเพียงพอและมีความปลอดภัย

2. การบริการท่ีไมเสียคาใชจาย (Free of Charge Servicing) เชน บริการตรวจหนังสือเดินทาง การตรวจสินคาและสัมภาระตามกฎหมายศุลกากร เปนตน คุณสมบัติตองมีคุณลักษณะ4 ประการ คือ รวดเร็ว สะดวก สบาย และสรางความม่ันใจใหกับผูบริการ

3. ความเพลิดเพลิน (Amenities) เชน รานคา รานอาหาร หองพักผอน เปนตน บริการดานนี้ตองมีคุณลักษณะ 3 ประการ คือ ราคายอมเยา เหมาะสม และเปนท่ีนิยมยินดี

Page 8: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

15

แนวคิดเกี่ยวกับการทํางานเปนทีม

ความหมายของการทํางานเปนทีมการทํางานเปนทีมนับวาเปนตัวแปรสําคัญอยางหนึ่งในท่ีเปนแรงผลักดันใหพนักงานในองคกร

สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน มีปฏิสัมพันธกันระหวางสมาชิกในกลุม ชวยกันทํางานเพ่ือใหบรรลุเปาหมายเดียวกันอยางมีประสิทธิภาพตอองคกร นักวิชาการและสถาบันท่ีเก่ียวของกับการศึกษา ไดใหความหมายของการทํางานเปนทีมไวอยางหลากหลาย ดังนี้

สุนันทา เลาหนันท (2551) ไดใหความหมายวา ทีม หมายถึง กลุมของบุคคล ท่ีทํางานรวมกันมีปฏิสัมพันธกันระหวางสมาชิกในกลุม ชวยกันทํางานเพ่ือใหบรรลุเปาหมายเดียวกันอยางมีประสิทธิภาพและผูรวมทีมตางมีความพอใจในการทํางานนั้น

ชรินยา สุขยอย ปยนันท ชุมปญญา และวสุ จันแปน (2551) ไดใหความหมายของการทํางานเปนทีมไววา การทํางานรวมกันตั้งแต 2 คนข้ึนไป โดยมีการกําหนดบทบาทของสมาชิก คือ บทบาทของผูนํา บทบาทสมาชิก มีการวางแผน การปฏิบัติตามแผน การตรวจสอบและปรับปรุงเพ่ือใหบรรลุผล

มัลลิกา วิชชุกรอิงครัต (2553) ใหความหมายไววา การทํางานเปนทีม หมายถึง การท่ีบุคคลตั้งแตสองคนข้ึนไปมารวมทํากิจกรรม โดยมีวัตถุประสงคเดียวกัน สนับสนุนชวยเหลือ ใชทักษะประสบการณรวมกันอยางเต็มความสามารถ และมีการประสานงานอยางดี เพ่ือแกไขปญหาตาง ๆและพัฒนาองคการใหบรรลุเปาหมายสูงสุดของทีมได

สัมมนา สีหมุย (2553) ไดกลาววา ทีมงาน หมายถึง กลุมบุคคลท่ีมีความแตกตางกันในหลาย ๆดานมารวมตัวกันทํางานอยางใดอยางหนึ่งในองคการเดียวกัน โดยมีวัตถุประสงคและจุดมุงหมายท่ีตั้งไวรวมกัน สมาชิกทุกคนในทีมตางใชทักษะ ประสบการณ และความสามารถ ชวยกันทํางานแกไขปญหา และรับผิดชอบตอเปาหมายท่ีตั้งไว เพ่ือใหงานบรรลุเปาหมายเดียวกันอยางมีประสิทธิภาพ

สุนทร พลวงค (2551) ไดกลาวถึงแนวคิดเก่ียวกับการทํางานเปนทีมวา การทํางานเปนทีมใหเกิดประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลนั้น ตองมีการแบงทั้งงาน หนาที่และความรับผิดชอบใหบุคลากรตามความรูความสามารถ รวมท้ังความถนัดของแตละบุคคล ผูบริหารตองตระหนักวาบุคลากรมีความสามารถแตกตางกัน ถนัดหรือเชี่ยวชาญคนละดาน การประสานความรวมมือรวมใจการทุมเทกําลังความคิดและสติปญญายอมนามาซึ่งความสําเร็จของงาน การทํางานเปนทีมจึงเกิดข้ึนผูบริหารจะตองสรางเงื่อนไข ใหกลุมบุคคลภายในองคการตระหนักวาพวกตนตองปฏิบัติงานรวมกันตองพ่ึงพาอาศัยประสบการณ ความสามารถและความยินยอมพรอมใจของทุกคน และสมาชิกของกลุมตองยอมรับความคิดเรื่องการทํางานรวมกันเปนกลุมหรือเปนทีม จึงสามารถบรรลุวัตถุประสงครวมกันได

Page 9: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

16

Woodcock (1989) ไดใหความหมายไววา การทํางานเปนทีม หมายถึง การท่ีแตละบุคคลมารวมกันทํางาน เพ่ือนาไปสูผลสําเร็จท่ีมากกวาการท่ีพวกเขาจะทํางานเพียงลําพังและยังทําใหเกิดการกระตือรือรนและเกิดความพึงพอใจสนุกสนานในการทํางาน

จากการใหความหมายของการทํางานเปนทีมจากนักวิชาการขางตน ผูวิจัยจึงสรุปไดวาการทํางานเปนทีม หมายถึง การท่ีบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปมารวมทํากิจกรรม การทํางานเปนทีมจะมีผลงานที่มีประสิทธิภาพไดจากการประเมินผลของประสิทธิภาพนั้นไดจากคุณภาพของงานปริมาณงาน เวลาในการปฏิบัติงาน

ประเภทของทีมในองคการประเภทของทีมในองคการ (Types of Team in Organization) การจําแนกประเภทของทีม

ไมอาจกําหนดไดตายตัวท้ังนี้ข้ึนอยูกับวัตถุประสงคในการจัดตั้ง สถานการณสภาพแวดลอม เวลาโครงสรางของอํานาจหนาท่ี ระดับความมีอิสระและความเปนทางการของ องคกร

Hellriegel & Slocum (2004 : 196) ไดเสนอการจําแนกประเภทของทีมไว ดังนี้1. ทีมตามสายงาน (Functional Team) หมายถึง ทีมท่ีประกอบดวยสมาชิกท่ีมีหนาท่ี

ตามสายงานหรือกลุมงานเดียวกันในองคการข้ึนเพ่ือรวมกันพัฒนาแผนกงานของตนเองใหมีคุณภาพในการทํางานเพ่ิมข้ึน เชน ในแผนกงานดานการตลาดของบริษัทอาจจัดตั้งทีมข้ึนเพ่ือเสริมคุณภาพของแผนกโดยการรวมตัวของสมาชิกที่อยูในแผนกเดียวกันซึ่งอาจมาจากฝายสินคาฝายการเงินฝายตรวจสอบบัญชีหรือหนาท่ีอ่ืน ๆ ท่ีคลายคลึงกัน เปนตน

2. ทีมแกปญหา (Problem-Solving Team) หมายถึง ทีมที่ประกอบดวยสมาชิกจากแผนกงานเดียวกันซึ่งมีเวลาพบปะกันเพื่อหาแนวทางแกปญหาหรือวิธีการที่จะปรับปรุงคุณภาพของผลผลิตและสภาพแวดลอมในการทํางาน ทีมแกปญหาไมไดมีจุดมุงหมายในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการ โครงสรางขององคการหรือบทบาทของผูบริหาร แตมีจุดประสงคเพ่ือแกไขปญหาดวยความรับผิดชอบตามท่ีผูบริหารมอบหมาย ทีมแกปญหาสามารถชวยในการลดตนทุนการผลิตและการปรับปรุงคุณภาพของผลผลิตใหดีข้ึนแตการมีขอจํากัดเก่ียวกับอํานาจในการตัดสินใจ

3. ทีมขามสายงาน (Cross-Function Team) หมายถึง ทีมที่ประกอบดวยสมาชิกท่ีมีตําแหนงระดับเดียวกันในองคการแตมาจากคนละแผนกงานและมีความแตกตางกันในดานความรูและทักษะเฉพาะดานมาทํางานเพ่ือหาวิธีการแกปญหาท่ีตองอาศัยมุมมองและความรูความสามารถท่ีแตกตางหลากหลายรวมกัน ทีมขามสายงานจะสงเสริมใหเกิดประสิทธิผลโดยเฉพาะอยางยิ่งภายใตสถานการณที่ตองพึ่งพิงนวัตกรรม ความรวดเร็วในการทํางานและการตอบสนองความตองการของผูรับบริการอยางเต็มท่ี ทีมงานลักษณะนี้มีสวนชวยในการปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรมและเทคโนโลยีใหม ๆ ในองคการ หรือหากเปนองคการทางธุรกิจอาจเปนสิ่งชวยในการสรางความสัมพันธ

Page 10: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

17

กับผูรับบริการหรือตัวแทนจําหนาย ชวยเชื่อมโยงหนวยงานยอยท้ังหมดท่ีถูกจัดอยางแบงแยกใหเกิดการประสานสัมพันธกันอันจะนําไปสูการเพ่ิมคุณภาพของผลผลิตนวัตกรรมและการใหบริการ

4. ทีมบริหารตนเอง (Self-Managed Team) หมายถึง ทีมที่ไดรับการเอื้ออํานาจจากผูบริหารใหสมาชิกในทีมมีสิทธิในการใชดุลยพินิจเพื่อการตัดสินใจและการใชอํานาจรวมทั้งมีความรับผิดชอบตอการปฏิบัติงานท่ีไดรับมอบหมายโดยมีอิสระในการจัดการอยางสมบูรณเพ่ือใหบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไว สมาชิกในทีมบริหารตนเองยังมีสวนรวมในการกําหนดขอบเขตความรับผิดชอบในการทํางาน การตัดสินใจ การประเมินผลการปฏิบัติงานหรือการกําหนดทางเลือกเพ่ือสรางพฤติกรรมการทํางานสนองตอบความตองการในการแกปญหา การกําหนดจุดประสงคและการปรับเปลี่ยนเงื่อนไขตาง ๆ เพ่ือความสําเร็จ สมาชิกในทีมประกอบดวยบุคคลตาง ๆ ในองคการท่ีมีความหลากหลายในดานทักษะและความสามารถ ตําแหนงและอํานาจหนาที่ซึ่งแตละคนผานการฝกฝนสามารถปฏิบัติงานอยางอ่ืนไดโดยไมมีอุปสรรคเก่ียวกับความแตกตางของแผนกงานสามารถประสานสัมพันธซึ่งกันและกันไดเปนอยางดี นอกจากนั้นยังไดรับการสนับสนุนเกี่ยวกับทรัพยากรการดําเนินงาน เชน ขอมูลสารสนเทศและวัสดุอุปกรณตางที่จะนํา ไปสูความสําเร็จในการปฏิบัติตามภารกิจท่ีมีอยู ทีมบริหารตนเองสามารถสงเสริมใหเกิดผลิตภาพเพิ่มขึ้นรวมทั้งมีมาตรฐานของคุณภาพสูงข้ึน ดังนั้นการนําแนวคิดเก่ียวกับทีมบริหารตนเองมาใชในองคการจึงเปนสิ่งท่ีชวยพัฒนาความเจริญกาวหนาและเปนสิ่งชวยขจัดระดับข้ันของการบังคับบัญชาทําใหมีแนวโนมในการปรับเปลี่ยนไปสูความเปนองคการแนวราบ (Flat Organization) มากยิ่งข้ึน

5. ทีมเสมือนจริง (Virtual Team) หมายถึง ทีมท่ีสมาชิกประสานความรวมมือกันในการทํางานโดยแทบไมเผชิญหนากันแตมีปฏิสัมพันธและติดตอสื่อสารกันโดยผานตัวกลางรูปแบบตาง ๆในเชิงเทคโนโลยี เชน จดหมายอิเล็กทรอนิกส เครือขายคอมพิวเตอรโทรศัพท โทรสาร หรือการประชุมทางไกล เปนตน จากการท่ีองคการจํานวนมากขยายตัวไปสูความเปนองคการระดับโลกมีการดําเนินงานในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกท่ีหางไกลกันจึงจําเปนตองใชบุคลากรท่ีมีความชํานาญเฉพาะทางมาทํางานรวมกัน ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีการสื่อสารเกิดข้ึนอยางมากมายและรวดเร็วจึงทําใหเกิดการทํางานรวมกันในรูปทีมเสมือนจริงแมวาสมาชิกของทีมแตละคนจะอยูในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกก็ตาม ทีมเสมือนจริงมีความยืดหยุนสูงและเปนพลวัต สามารถยนยอระยะทาง ประหยัดเวลาและขามขอบเขตระหวางองคการไดอยางไมมีขอจํานอกเหนือจากนี้หากถือเอาหนาที่ของสมาชิกในทีมท่ีปฏิบัติภายในองคการเปนเกณฑอาจจําแนกทีมออกเปน ทีมการผลิต (Production Team) ซึ่งจัดตั้งข้ึนเพ่ือสรางและพัฒนาผลิตภาพ (Productivity) ใหมีคุณภาพและมาตรฐานเปนไปตามวัตถุประสงคทีมบริการ (Service Team) เปนทีมที่จัดตั้งขึ้นเพื่อมุงเนนการยกระดับคุณภาพของการอํานวยความสะดวกและการสรางความพึงพอใจตอลูกคาหรือผูใชบริการ ทีมบริหาร (Management Team)จัดตั้งข้ึนเพ่ือการกําหนดทิศทางหรือยุทธศาสตรในการดําเนินงานขององคการ ทีมโครงการ (Project

Page 11: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

18

Team) เปนทีมท่ีมีสมาชิกเปนผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานซึ่งรวมตัวเพ่ือรวมปฏิบัติงานในลักษณะท่ีเปนโครงการเก่ียวกับการดําเนินงานท่ีมีความเฉพาะเจาะจงและอยูภายใตเงื่อนไขของหวงเวลาใดเวลาหนึ่งทีมปฏิบัติการ (Action or Performing Team) ซึ่งเปนทีมที่ตองดําเนินงานภายใตเงื่อนไขใหม ๆอยูเสมอ จําเปนตองอาศัยผูท่ีมีทักษะเฉพาะทางและไดรับการฝกฝนมาอยางเขมขนหรือมีการเตรียมตัวกอนปฏิบัติงานมาเปนอยางดี ทีมคูขนาน (Parallel Team) เปนทีมซึ่งสมาชิกแตละคนตางมีงานประจําอยูในองคการอยูแลวแตไดรับมอบหมายใหรวมตัวกันปฏิบัติงานเฉพาะกิจท่ีนอกเหนือจากงานประจําโดยโครงสรางของทีมจะมีลักษณะเชนเดียวกันกับโครงสรางของงานประจําทีมเพื่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง (Change Team) เปนทีมท่ีตั้งข้ึนเพ่ือรวมมือปรับปรุงแกไขงานเฉพาะหนา ทีมสรางสรรค(Hot Team) เปนทีมท่ีตั้งข้ึนเพ่ือรวมกันคิดหาแนวทางใหม ๆ ในการปฏิบัติงานโดยทํางานอยางเปนอิสระและทีมเฉพาะกิจ (Temporary Task Forces Team) ซึ่งตั้งข้ึนเพ่ือรวมแกปญหาการทํางานเปนเรื่อง ๆ เพ่ือแกไขใหไดผลโดยเร็ว เปนตน

กระบวนการทํางานของทีมการท่ีบุคคลมารวมกลุมกันเพ่ือรวมมือกันทํางานโดยมีเปาหมายเดียวกันท่ีจะบรรลุวัตถุประสงค

ขององคการ ซึ่งเกิดจากการรวมมือกันประสานงานกันมุงดึงศักยภาพที่มีจากบุคคลแตละคนภายในกลุมออกมาชวยในการดําเนินกิจกรรมใหบรรลุเปาหมาย เพื่อสรางความสําเร็จในกับองคการซึ่งประกอบไปดวย (วราภรณ ตระกูลสฤษดิ,์ 2549 : 6 - 9; ดวงฤทัย ศรีเร, 2555 : 5)

1. การมีเปาหมายรวมกัน (Goal Sharing) หมายถึง การรับรู การเขาใจถึงแนวความคิดเกี่ยวกับวัตถุประสงคหรือเปาหมายของทีม มุงใหสมาชิกทุกคนในทีมมีสวนรวมในการวางแผนหรือดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหสอดคลองกับเปาหมายของทีม

2. การยอมรับนับถือกัน (Respectation) หมายถึง การยอมรับความแตกตางและรับฟงความคิดเห็นถึงแมจะขัดแยงกับความคิดเห็นตนโดยไมมีผลกระทบตอความสัมพันธในทีม รวมถึงการใหเกียรติซึ่งกันและกันของเพื่อนรวมทีม จนทําใหเกิดความเชื่อถือและความไววางใจตอกันเพ่ือมุงสรางงานท่ีมีคุณภาพและความสําเร็จใหแกทีม

3. ความรวมมือพรอมใจในการทํางาน (Cooperation) หมายถึง ความรวมมือของสมาชิกทุกคนในทีมในการกําหนด วิเคราะหขั้นตอนวิธีการทํางาน ชวยกันแสดงความคิดเห็น ถายทอดความสามารถเพ่ือใหการปฏิบัติงานของทีมบรรลุวัตถุประสงคตามท่ีกําหนดไว และแสวงหาเทคนิควิธีการตาง ๆ เพ่ือลดปญหาความผิดพลาดท่ีเกิดจากการปฏิบัติงาน ใหเกิดประสิทธิภาพตอการบริหารงานของทีม

4. การแบงงานตามความสามารถของบุคคล (Assignment) หมายถึง การแบงงานภายในทีมใหตรงกับตามทักษะความรู ความเชี่ยวชาญและความสามารถของพนักงานแตละคน ไดรับ

Page 12: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

19

ความไววางใจงานจากทีมงานใหแกไขปญหาการทํางานของทีม และสามารถปฏิบัติงานใหไดผลงานเปนท่ียอมรับของทีม

5. ความรับผิดชอบ (Responsibility) หมายถึง การมีความรับผิดชอบ และความตั้งใจในการทํางาน ดวยความเอาใจใสตองานท่ีไดรับมอบหมายใหเปนที่ยอมรับ เพราะความรับผิดชอบของแตละคนคือความสําเร็จของทีมงาน สมาชิกในทีมจะตองรูจักบทบาทหนาท่ีของตนเองตอทีมโดยรวมและยังตองมีความรับผิดชอบตอตนเอง

6. ความเขาใจซึงกันและกัน ความผูกพันตอกันความเขาใจซึงกันและกัน ชวยใหสมาชิกในทีมมีความผูกพันกัน เขาใจกัน เรียนรูความแตกตางกันและกัน จะชวยใหการทํางานรวมกันมีประสิทธิภาพสูงข้ึน

ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Woodcock & Francis (1989) ไดใหแนวคิดองคประกอบของทีมงานท่ีมีประสิทธิภาพจะตองประกอบดวยคุณลักษณะท่ีดีคือ

1. บทบาทท่ีสมดุล (Balance Roles) คือการผสมผสานความแตกตางของความสามารถโดยใชความแตกตางของบุคลิกภาพและวิธีการท่ีหลากหลายใหเหมาะสมกับสถานการณ ตองอาศัยความกลมกลืนและบทบาทสมดุลของสมาชิกในทีมงานบทบาทที่สมดุลเปนเรื่องที่สําคัญอยางยิ่งในการสรางทีมงานของ ผูบริหารซึ่งผูบริหารจะตองคํานึงถึงความสามารถ และความแตกตางของบุคคลในการทํางานแตละดานกอนมอบหมายงาน เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพและบรรลุเปาหมาย

2. วัตถุประสงคท่ีชัดเจนและเปาหมายท่ีเห็นพองตองกัน (Clear Objective and AgreeGoals) การบริหารงานท่ีเปดโอกาสใหบุคลากรมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติจะสงผลใหบุคลากรเกิดขวัญและกําลังใจในการทํางาน มีความรูสึกในการเปนเจาของ เกิดความภาคภูมิใจในงานท่ีไดกระทํา มีความขยันขันแข็ง กระตือรือรนท่ีคิดจะสรางสรรคงานใหกาวหนายิ่งขึ้น ทําใหการทํางานเกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ

3. การเปดเผยตอกันและการเผชิญหนาเพื่อการแกไขปญหา (Openness andConfrontation) ทีมงานท่ีมีประสิทธิภาพนั้น สมาชิกในทีมงานจะตองสามารถแสดงทัศนะวิจารณใหความคิดเห็นเสนอแนะขอแตกตางโดยปราศจากความกลัว

4. การสนับสนุนและการไววางใจตอกัน (Support and Trust) การสนับสนุนจึงเปนสิ่งสําคัญท่ีสมาชิกในทีมงานมีความตองการ ฉะนั้นบทบาทของผูนําหรือผูบริหารโรงเรียนจึงควรใหการสงเสริมสนับสนุนสมาชิกในองคการของตน เชน การสนับสนุนโดยการฟง การยกยองชมเชยการแสดงความซาบซึ้ง การสงเสริม การแสดงความหวงใย ปญหาและประเด็นตาง ๆ ของงานโดยใหบุคลากรในโรงเรียนตระหนักวาผูนําหรือผูบริหารมีความจริงใจ องคการก็จะเขาใจความเก่ียวของสัมพันธระหวางงานของตนเองกับของคนอ่ืน ๆ และพรอมท่ีจะรับและใหความชวยเหลือรวมมือรวมใจอยางจริงใจ อันจะทําใหการดําเนินงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

Page 13: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

20

5. ความรวมมือ และการใชความขัดแยงในทางสรางสรรค (Co-Operation andConflict) การบริหารงานในโรงเรียนใหไดผลสําเร็จตามความมุงหมายไดคนเปนปจจัยสําคัญที่สุดในการดําเนินงาน แตเนื่องจากความแตกตางระหวางบุคคลไมวาจะเปนทัศนคติ ความเชื่อ ความนิยมความรู ความสามารถในการทํางานหรือเปาหมายในการ ทํางานท่ีตางกันเหลานี้มีสวนทําใหเกิดความขัดแยงในการทํางานไดทั้งสิ้น ผูบริหารทุกระดับจึงจําเปนตองเผชิญหนากับปญหาความขัดแยงในการทํางานอยางหลีกเลี่ยงไมได เพ่ือแกไขปญหาความขัดแยงใหเปนไปในลักษณะสรางสรรค และเปนประโยชนกับหนวยงานดวย

6. กระบวนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน (Sound Procedures) พฤติกรรมการทํางานของแตละคนมีความแตกตางกันออกไปตามความรู ประสบการณเดิม ทักษะในการทํางานและทัศนคติสวนบุคคล ดังนั้น จึงถือเปนหนาท่ีของผูบริหารท่ีจะตองสรางและพัฒนาการทํางานเปนทีมท้ังสิ้นการตัดสินใจอาจจะกระทําโดยผูบริหารเพียงคนเดียว ทีมงานท่ีดีจึงเปรียบเสมือนพลังในการปฏิบัติงานของผูบริหารใหประสบความสําเร็จนั่นเอง

7. ภาวะผูนําที่เหมาะสม (Appropriate Leadership) พฤติกรรมผูนําที่เหมาะสมข้ึนอยูกับความตองการทักษะความชํานาญของผูรวมงาน ลักษณะงานและขอจํากัดของสภาพแวดลอมขององคการนั้น ๆ ซึ่งไมสามารถกําหนดออกเปนรูปแบบรายละเอียดของผูนําไดวาควรเปนแบบใดจึงจะเหมาะสมท่ีจะนํามาใชกับผูรวมงาน หากผูนําไดยึดม่ันในพฤติกรรมการบริหารท่ีตายตัว ความมีประสิทธิผลจะลื่นไหลเปลี่ยนไปมา ภาวะผูนําท่ีเหมาะสมจะตองทําใหสอดคลองเขากับสถานการณนั้น ๆเพ่ือใหเปนไปในทางท่ีจะชวยสนับสนุนใหงานบรรลุเปาหมาย ความเปนผูนําเปนสิ่งสําคัญยิ่งสําหรับความสําเร็จในงานดานตาง ๆ ขององคการ ผูนําที่ไมมีความสามารถยอมจะเปนผูทําลายขวัญของบุคลากรในองคการ และเปนผลทําใหงานดานตาง ๆ ขาดประสิทธิภาพ แตในทางตรงกันขาม ผูนําท่ีมีความสามารถจะมีผลทําใหเปลี่ยนลักษณะของบุคลากรในองคการใหกลับกลายเปนบุคคลท่ีมีความขยันขันแข็ง และชวยใหองคการประสบผลสําเร็จไดอยางมีประสิทธิภาพ

8. การทบทวนการปฏิบัติงานอยางสมํ่าเสมอ (Regular Review) การทบทวนการบริหารงานในทีมอยางสมํ่าเสมอ จะสามารถแกไขขอบกพรองของทีมงาน ชวยใหทีมงานไดรับประสบการณเพ่ิมข้ึนฉะนั้นการทบทวนการทํางานอยางสมํ่าเสมอจึงนับวาเปนสิ่งสําคัญในการทํางานของหนวยงานหรือองคการ เพราะองคการท่ีจัดตั้งขึ้นมานั้นตางก็ตองมีการนําเอาทรัพยากรมาลงทุนทํากิจกรรมการตรวจสอบทบทวนผลการทํางานจึงเปนเครื่องมือชวยใหผูบริหารองคการรูความเปนไปวาดีหรือเลวอยางไร คุมคาเพียงใดหรือไม ซึ่งจะเห็นไดวาการทบทวนการทํางานอยางสมํ่าเสมอนี้กอใหเกิดประโยชนตอองคการหรือหนวยงาน 2 ประการ คือ ผูทํางานทราบถึงผลงานท่ีตนรับผิดชอบและในแงของตัวองคการก็จะไดขอมูลท่ีจะชวยใหสามารถรูไดวา งานท่ีทําท่ัวไปแลวนั้นทําไดดีเพียงใดซึ่งการรูดังกลาวนี้เองจะทําใหการควบคุมสั่งการตาง ๆ สามารถกระทําไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 14: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

21

9. การพัฒนาตนเอง (Individual Development) การใหสมาชิกในทีมมีประสิทธิภาพสูงข้ึนไดนั้น จะตองเริ่มท่ีการพัฒนาบุคลากรหรือพัฒนาสมาชิกภาพของบุคคลในทีมงาน โดยการฝกอบรมการใหการศึกษา การพัฒนาเปนกลุมเพราะถือวาบุคคลแตละคนมีสวนชวยใหองคการดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

10. ความสัมพันธระหวางกลุม (Sound Intergroup Relation) กลุมทํางานใดมีความสัมพันธอันดีตอกันในลักษณะสนิทสนมหรือแนนแฟน พฤติกรรมของกลุมหรือทีมจะเปนไปในทางท่ีดี สมาชิกของทีมตางก็จะเขาไปเก่ียวของสัมพันธกัน และทุกคนก็จะทุมเทความสําคัญเวลาทํางานใหกับกลุมหรือทีมงานมากข้ึน

11. การสื่อสารท่ีดี (Good Communications) พ้ืนฐานท่ีสําคัญของการบริหารงานนั้นข้ึนอยูกับการสื่อสารท่ีดีอันจะมีผลใหเกิดความเขาใจ ความรวมมือ และการประสานงานท่ีดีดวยแผนงานตาง ๆ จะไดรับการปฏิบัติมากนอยเพียงใดยอมขึ้นอยูกับผูปฏิบัติการสื่อสาร จึงเปนวิธีการเดียวท่ีสามารถกระตุนใหเขาปฏิบัติไดอยางถูกตอง

ดังนั้น การทํางานเปนทีมจะสมบูรณไดจําเปนตองใชความพยายามอยางเปนระบบและตอเนื่องยาวนาน จนเปนท่ีพึงพอใจของสมาชิกทุกคนแลว สมาชิกจะรักษาสถานภาพที่ดีของทีมไวเพ่ือพัฒนางานใหเจริญกาวหนาตอไป นอกจากนี้การทํางานเปนทีมรวมกันอยางมีประสิทธิภาพยังสอดคลอดกับการทํางานรวมกันเปนทีม ซึ่งมีกระบวนการทํางานท่ีสําคัญ 5 ข้ันตอน (มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 2559) ดังนี้

ข้ันตอนท่ี 1 การรับรูปญหา (Problem Awareness) การรับรูปญหาเปนข้ันตอนแรกในกระบวนการทํางาน “ปญหา” ในท่ีนี้ หมายถึง งานท่ีทีมไดรับมอบหมาย ซึ่งอาจเปนการปฏิบัติงานปกติ เชน ออกแบบผลิตภัณฑใหม หรือเปนการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในงาน เชน ยอดขายลดลงเปนตน ทีมตองศึกษาปญหาหรืองานท่ีไดรับมอบหมายรวมกัน กําหนดเปาหมายท่ีปฏิบัติไดหรือบรรลุไดใหชัดเจน เปาหมายท่ีชัดเจนชวยใหผูปฏิบัติ มีทิศทางในการทํางาน อีกท้ังยังเปนการเปดโอกาสใหสมาชิกมีสวนรวมในการทํางาน เขาใจเปาหมายและกระบวนการไดตรงกัน การสื่อสารเปนเครื่องมือที่สําคัญในการทําความเขาใจใหตรงกัน เทคนิคการใหขอมูลยอนกลับจะชวยใหทีมทราบไดวาสมาชิกเขาใจเปาหมายการทํางานตรงกัน

ข้ันตอนท่ี 2 การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล(Data Gathering and Analysis) การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล สมาชิกในทีมจะรวมกันกําหนดแนวทางในการรวบรวม และวิเคราะหขอมูลเพ่ือท่ีจะไดขอเท็จจริงมาทําการวิเคราะหและประมวลผล เพ่ือกําหนดทางเลือกในการแกไขปญหาและเลือกแนวทางปฏิบัติ ซึ่งอาจจะใชการสงแบบสอบถาม (Questionnaire) การสัมภาษณ (Interview)หรือการสังเกต (Observation) เพ่ือใหไดขอมูลจากกลุมตัวอยาง หรือเหตุการณจริง แลวจึงนํามา

Page 15: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

22

ศึกษารายละเอียด วิเคราะหโดยระดมความคิด (Brainstorm) รวมกัน ซึ่งจะชวยใหทีมเกิดความเขาใจในปญหา และสมาชิกมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น

ข้ันตอนท่ี 3 การวางแผนปฏิบัติการ (Action Planning) สมาชิกในทีมระดมความคิดโดยนําขอมูลท่ีไดจากการวิเคราะหปญหามากําหนดเปนวัตถุประสงคในการแกปญหา และวางแผนปฏิบัติการ (Action Planning) ท่ีเปนรูปธรรม มีข้ันตอนกอนหลัง โดยคํานึงถึงกําลังคนหรือแรงงานอุปกรณงบประมาณ เทคโนโลยี และเวลาท่ีมีอยู สมาชิกอาจเสนอทางเลือกที่แตกตางหลากหลายรวมท้ังผลท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนในแตละทางเลือก เพ่ือเปนขอมูลในการตัดสินใจเลือกทางเลือกท่ีดีท่ีสุดโดยอาจจะตองขอความรวมมือ และความคิดเห็นจากภายนอกทีม หรือที่ปรึกษาตลอดจนอาจจะรวบรวมขอมูลเพ่ือทําการศึกษาเพ่ิมเติมกอนท่ีจะกําหนดแผนที่สมบูรณได ขั้นของการวางแผนนี้ทีมตองแบงงานหรือกระจายงานใหเหมาะสมกับความสามารถของสมาชิก ถาเปนไปไดควรมีการทดลองกอนการปฏิบัติจริงเพ่ือหาขอผิดพลาด

ข้ันตอนท่ี 4 การดําเนินงาน (Action Implementation) สมาชิกรวมมือกันในการนําแผนงานไปปฏิบัติใหเปนรูปธรรม โดยตองคอยดูแลใหแผนปฏิบัติงานดําเนินไปอยางราบรื่น และมุงสูเปาหมายท่ีตองการ อาจมีการสอนงานกัน ขณะเดียวกันก็ตองคอยระวังไมใหเกิดปญหา เพ่ือคอยแกไขปญหาเฉพาะหนาท่ีอาจจะเกิดข้ึน เพ่ือไมใหลุกลามเปนปญหาใหญ

ข้ันตอนท่ี 5 การประเมินผลลัพธจากการดําเนินงาน (Evaluation of Results) สมาชิกในทีมรวมกันติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และเสนอแนะแนวทางแกไขปญหา หรือพัฒนาการ ดําเนินงานใหบรรลุเปาหมาย โดยรวมมือรวมใจและระดมความคิดในการประเมินผลการทํางาน และประสิทธิภาพของทีมงานวาการดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงคหรือไม จะตองพัฒนาตนเองอยางไร เพ่ือใหเปนทีมงานท่ีมีประสิทธิภาพตามท่ีตองการ

กลาวโดยสรุป ในการทํางานเปนทีมนั้น มีกระบวนการทํางานท่ีสําคัญประกอบไปดวยข้ันตอนไดแก ข้ันตอนการรับรูปญหา หรือการศึกษาปญหา และกําหนดเปาหมาย ขั้นตอนการรวบรวมและวิเคราะหขอมูล เพ่ือท่ีจะไดขอเท็จจริงมาทําการวิเคราะหและประมวลผล ข้ันตอนการวางแผนปฏิบัติการ ขั้นตอนการดําเนินงาน เปนการนําแผนงานไปปฏิบัติใหเปนรูปธรรม และขั้นตอนการประเมินผลลัพธจากการดําเนินงาน เพ่ือพิจารณาวาการดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงคหรือไมจะตองพัฒนาอยางไร

รัตนาภรณ แววกระโทก (2554) ไดกลาวถึงปจจัยท่ีชวยสงเสริมใหการทํางานประสบความสําเร็จไววา มีความเก่ียวของกับปจจัยตอไปนี้

1. บรรยากาศของการทํางานท่ีมีความเปนกันเอง มีความกระตือรือรน สรางสรรคทุกคนชวยกันทํางานอยางจริงจัง อบอุน

Page 16: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

23

2. ความไววางใจกัน (Trust) คือหัวใจสําคัญของการทํางานเปนทีม ทุกคนในทีมไววางใจซึ่งกันและกัน สื่อสารกันอยางเปดเผยและซื่อสัตยตอกันและกัน

3. มอบหมายงานอยางชัดเจน ทุกคนในทีมเขาใจวัตถุประสงค เปาหมายและยอมรับภารกิจหลักของทีม

4. บทบาท (Role) สมาชิกแตละคนเขาใจและปฏิบัติตามบทบาทของตน และเรียนรูเขาใจในบทบาทของผูอ่ืนในทีม ทุกบทบาทมีความสําคัญ รวมท้ังบทบาทในการชวยรักษาความเปนทีมงานใหม่ันคง เชน การประนีประนอม การอํานวยความสะดวก การใหกําลังใจ เปนตน

5. วิธีการทํางาน (Work Procedure) สิ่งสําคัญท่ีควรพิจารณา คือ5.1 การติดตอสื่อสารท่ีชัดเจนและทุกคนกลาท่ีจะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งจะนําไปสู

การทํางานท่ีมีประสิทธิภาพ5.2 การตัดสินใจรวมกัน ทุกคนในองคการยอมเกิดความผูกพันท่ีจะทําใหสิ่งท่ีตนเอง

ไดมีสวนรวม5.3 ภาวะผูนํา คือ บุคคลท่ีไดรับการยอมรับจากผูอ่ืน ควรสงเสริมใหทุกคนไดมีโอกาส

แสดงความเปนผูนํา5.4 กฎเกณฑตาง ๆ ท่ีจะเอ้ือตอการทํางานรวมกันใหบรรลุเปาหมาย ควรเปดโอกาส

ใหสมาชิกไดมีสวนรวมในการกําหนดกฎเกณฑท่ีจะนํามาใชรวมกัน6. การมีสวนรวมในการประเมินผล ทีมงานควรมีการประเมินผลการทํางาน เปนระยะ

ในรูปแบบท้ังไมเปนทางการ และเปนทางการ โดยสมาชิกทุกคนมีสวนรวมในการประเมินผลงานทําใหสมาชิกไดทราบความกาวหนาของงาน ปญหา อุปสรรคท่ีเกิดข้ึน รวมท้ังพัฒนากระบวนการทํางานหรือการปรับปรุงแกไขรวมกัน ซึ่งในท่ีสุดสมาชิกจะไดทราบวาผลงานบรรลุเปาหมาย และมีคุณภาพมากนอยเพียงใด

7. การพัฒนาทีมงานใหเขมแข็ง มีองคประกอบดังตอไปนี้7.1 พัฒนาศักยภาพทีมงาน ดวยการสรางแรงจูงใจทางบวก สมาชิกมีความสัมพันธท่ีดี

ตอกัน มีการจัดกิจกรรมสรางพลังทีมงาน เกิดความมุงม่ันท่ีจะทํางานใหประสบผลสําเร็จ7.2 การใหรางวัล ปจจุบันการพิจารณาผลการปฏิบัติงานของหนวยงานไมเอ้ือตอการ

ทํางานเปนทีม สวนใหญจะพิจารณาผลการทํางานเปนรายบุคคล ดังนั้นระบบรางวัลท่ีเอ้ือตอการทํางานเปนทีม คือ การท่ีทุกคนไดรางวัลอยางยุติธรรมทุกคน คือ ควรสนับสนุนการใหรางวัลแกการทํางานเปนทีมในลักษณะท่ีวางอยูบนพ้ืนฐานการใหรางวัลกับกลุม (Group Base Reward System)

อรสุดา ดุสิตรัตนกุล (2557 : 16 - 17) ไดกลาวถึงการท่ีทีมงานสามารถจะทํางานรวมกันไดอยางดีและมีประสิทธิภาพ ข้ึนอยูกับปจจัยตาง ๆ ไดแก เปาหมาย บทบาทของสมาชิก กระบวนการทํางานและความรับผิดชอบในความสําเร็จ ระหวางสมาชิก มีรายละเอียดดังนี้

Page 17: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

24

1. เปาหมาย (Goals) ทีมงานจะทํางานไดก็ตอเม่ือของทีมงานรับผิดชอบในการ ทํางานใหบรรลุเปาหมายรวมกัน การใหสมาชิกในทีมงาน มีสวนรวมในการตั้งเปาหมายจึงเปนปจจัยสําคัญของการพัฒนาทีมงาน โดยเปาหมายท่ีกําหนดรวมกันนั้น ควรมีความชัดเจนสมาชิกทุกคนรับรูและเขาใจตรงกัน เปาหมายท่ีดีควรมีลักษณะวัดได

2. บทบาท (Roles) บทบาทของสมาชิกในทีมงานถือเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาการทํางานเปนทีม ซึ่งตองคํานึงถึงความชัดเจนของบทบาท โดยการทบทวนบทบาทของสมาชิกทุกคนใหเขาใจตรงกัน เม่ือทํางานรวมกันมาระยะหนึ่ง หรือเม่ือมีสมาชิกใหม ท้ังนี้เพ่ือปองกันการขัดแยงในบทบาทท่ีอาจเกิดข้ึนเนื่องจากสมาชิกในทีมงาน แสดงบทบาทของตนไมสอดคลองกับความเปนจริง

3. กระบวนการทํางาน (Procedures) กระบวนการในการพัฒนาการทํางานเปนทีมเพ่ือใหบรรลุเปาหมายรวมกับควรตองมีการตรวจสอบกระบวนการทํางาน สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการตรวจสอบ มีดังนี้

3.1 การตัดสินใจ การพัฒนาการทํางานของทีมงานทุกทีมมีสิ่งท่ีตองคํานึงถึงเก่ียวของกับเรื่องของการตัดสินใจ ดังนี้

3.1.1 ผูท่ีมีหนาท่ีรับผิดชอบในการตัดสินใจ3.1.2 วิธีดําเนินการตัดสินใจ3.1.3 การมีสวนรวมในการตัดสินใจของสมาชิกในทีมงาน ขอควรคํานึงถึงเหลานี้

จะถูกนํามาเปนหลักในการวางระบบการตัดสินใจเพ่ือใหไดผล การตัดสินใจท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพสูง3.2 การสื่อสารควรเปดโอกาสใหสมาชิกภายในทีมงานไดรับการติดตอสื่อสารกันได

อยางอิสระการทีสมาชิกไดรับรูขาวสารทีเกี่ยวกับเรื่องภายในทีมงานของตนเอง และเรื่องระหวางทีมงานกับสิ่งแวดลอมภายนอก จะทําใหเกิดความเขาใจตรงกันในการทํางาน นอกจากนี้ควร ตรวจสอบเกี่ยวกับลักษณะความสัมพันธภายในทีมอยางเสมอเชนการเปดเผยจริงใจตอกันและกัน รับฟงกันและกัน เปนตน เพราะจะสงผลตอประสิทธิภาพของงานดวย

3.3 การประชุมปรึกษาหารือ เปนหัวใจสําคัญของการ ทํางานเปนทีมเพื่อใหงานมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะตองอาศัยการแสดงความคิดเห็นของสมาชิกในทีมงานใหมากท่ีสุดเทาท่ีจะทําไดเรียกวา “การระดมสมอง” (Brainstorming)

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต (2559) กลาวา การทํางานเปนทีมเปนท้ังศาสตรและศิลป ทีมงานท่ีมีประสิทธิผลนอกจากสมาชิกมีความรูเก่ียวกับแนวคิดหรือหลักการทํางานเปนทีมในสวนของศาสตรสมาชิกตองมีศิลปะในการปรับใชความรูใหเหมาะสมกับสถานการณดวย สําหรับปจจัยที่มีผลตอการทํางานเปนทีมใหประสบความสําเร็จ ไดแก

1. กระบวนการทํางานเปนทีม2. ภาวะผูนํา

Page 18: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

25

3. ทักษะในการทํางานเปนทีม ไดแก การความความไววางใจ การตัดสินใจ การสื่อสารการจัดการกับความขัดแยง

4. การพัฒนาทีมงาน5. การปรับปรุงประสิทธิภาพของทีมงาน

กลาวโดยสรุป จากทบทวนเอกสารท่ีผานมาพบวา ผูวิจัยสรุปไดวา การทํางานรวมกันเปนทีมมีองคประกอบ คือ

1. มีเปาหมายรวมกันการทํางาน ตามทิศทางท่ีสมาชิกทุกคนรวมกันกําหนดข้ึน เพ่ือใหเกิดความเขาใจวัตถุประสงคของการทํางานทีตรงกันจะเกิดผลดี สมาชิกทุกคนในทีมงานจะตองมีแนวคิดเก่ียวกับวัตถุประสงคและเปาหมายของทีมในเรื่องเดียวกัน

2. การยอมรับนับถือ คือ การรับฟงซึงกันและกัน เคารพในบทบาทหนาทีของกันและกันยอมรับในความแตกตางของกันและกันดวยความจริงใจ และพรอมทีจะรวมกันทํางานดวยความเต็มใจ

3. การรวมมือพรอมใจกันในการทํางานทุกคนในทีมลวนมีความสําคัญ ประดุจฟนเฟองของเครื่องจักรกลไก ซึงจะขาดไมไดแมแตนอตตัวเล็ก ๆ เพียงตัวเดียว งานของกลุมก็เชนเดียวกันกลาวคือ งานกลุมของเรามิอาจทําไดสําเร็จเพียงลําพังแคความสามารถของคน ๆ เดียวเทานั้นหากตองอาศัยความรวมมือรวมแรงรวมใจของสมาชิกทุก ๆ คน ในการระดมความคิด ชวยกันแสดงความคิดเห็นอันจะเปนประโยชนในการวางแผนแนวทาง ชวยกันวิเคราะหวางแผนการทํางานและละเอียดลึกซึ้งไป

4. การแบงงานกันทําตามความสามารถ คือการจัดแบงการทํางานถือเปนหัวใจสําคัญของการทํางานเปนทีม หลักการแบงหนาท่ีกันทําภายในทีมงานควรยึดหลักการแบงความรู ความสามารถความพึงพอใจ

5. ความรับผิดชอบ สมาชิกในทีมจะตองรูจักบทบาทหนาทีของตนเองตอกลุมสมาชิกโดยรวม และยังตองมีความรับผิดชอบตอตนเองจึงจะชวยใหงานทํางานเปนทีมประสบคามสําเร็จกลาวคือ ทีมสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค

6. ความเขาใจซึงกันและกัน ความผูกพันตอกันความเขาใจซึงกันและกัน ชวยใหสมาชิกในทีมมีความผูกพันกัน เขาใจกัน

องคประกอบของการทํางานเปนทีมท่ีมีประสิทธิภาพศูนยฝกอบรมและพัฒนาทรัพยากรบุคคล (2553) ไดใหคําจํากัดความของการทํางานเปนทีมท่ีดี

ท่ีจะสงผลใหผลการปฏิบัติงานเปนไปอยางมีประสทิธิภาพนั้น ควรประกอบไปดวยปจจัยตาง ๆ เหลานี้1. วัตถุประสงคท่ีชัดเจน และเปาหมายท่ีเห็นพองตองกัน เพ่ือใชเปนแนวทางการปฏิบัติงาน

ท่ีตองการทําใหองคการบรรลุผลสําเร็จท่ีคาดหวังไวในการดําเนินงานใหเปนไปตามภารกิจขององคการ

Page 19: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

26

1.1 การกําหนดวัตถุประสงคท่ีดี โดยผูนําและสมาชิกภายในทีม มีสวนรวมในการกําหนดหนาท่ีความรับผิดชอบ และวัตถุประสงครวมกัน ควรกําหนดจุดมุงหมายไวใหชัดเจนท่ีผลงานมากกวาการกระทํา

1.2 ประโยชนของการกําหนดวัตถุประสงค เพ่ือใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ ใชเปนเครื่องมือในการรวมพลังในการทํางาน และใชเปนเครื่องมือวัดความสําเร็จหรือความลมเหลวในงาน

1.3 คุณลักษณะของวัตถุประสงคที่ดี คือ เขียนเปนลายลักษณอักษร เขาใจงายสามารถปฏิบัติไดจริง ไมขัดตอขอบังคับ และ นโยบายอ่ืน ๆ ในหนวยงาน

2. ความเปดเผยตอกัน และการเผชิญหนาเพ่ือแกปญหา เปนสิ่งสําคัญตอการทํางานเปนทีมท่ีมีประสิทธิภาพสมาชิกจะตองการแสดงความคิดเห็นอยางเปดเผย ตรงไปตรงมา แกปญหาอยางเต็มใจและจริงใจ เพ่ือใหสามารถอยูรวมกันและทํางานรวมกันเปนอยางดี โดยมีการเรียนรูเก่ียวกับบุคคลอ่ืนในดานความตองการ ความคาดหวัง ความชอบหรือไมชอบ ความรูความสามารถความสนใจความถนัดจุดเดนจุดดอยและอารมณรวมท้ังความรูสึกความสนใจนิสัยใจคอ

3. การสนับสนุนและความไววางใจตอกัน สมาชิกในทีมจะตองไววางใจ ซึ่งกันและกันโดยแตละคนมีเสรีภาพแสดงความคิดเห็นอยางตรงไปตรงมา โดยไมตองกลัววาไดรับผลรายท่ีจะมีตอเนื่องมาภายหลัง สามารถทําใหเกิดการเปดเผยตอกัน และกลาท่ีจะเผชิญหนาเพ่ือแกปญหาตาง ๆ ไดเปนอยางดี

4. ความรวมมือและการใหความขัดแยงในทางสรางสรรค ผูนํากลุมหรือทีมจะตองทํางานอยางหนักในอันท่ีจะทําใหเกิดความรวมมือดังนี้

4.1 การสรางความรวมมือกับบุคคลอื่น ในการสรางความรวมมือเพื่อความเขาใจซึ่งกันและกัน และมีบุคคลอยูสองฝายคือผูขอความรวมมือ และผูใหความรวมมือ ความรวมมือจะเกิดข้ึนไดเมือฝายผูใหเต็มใจและยินดีจะใหความรวมมือ เหตุผลท่ีทําใหขาดความรวมมือไมชวยเหลือกันคือ การขัดผลประโยชน ไมอยากใหคนอื่นไดดีกวา สัมพันธภาพไมดี วัตถุประสงคของทั้งสองฝายไมตรงกัน ไมเห็นดวยกันวิธีทํางานขาดความพรอมท่ีจะรวมมือ หรืองานท่ีขอความรวมมือนั้นเสี่ยงภัยมากเกินไป หรือเพราะความไมรับผิดชอบตอผลงานสวนรวม

4.2 การขัดแยง หมายถึง ความไมลงรอยกันตามความคิด หรือการกระทําที่เกิดขึ้นระหวางสองคนขึ้นไปหรือระหวางกลุม โดยมีลักษณะที่ไมสอดคลอง ขัดแยง ขัดขวาง ไมถูกกันจึงทําใหความคิดหรือการทํากิจกรรมรวมกันนั้นเสียหาย หรือดําเนินไปไดยากไมราบรื่น ทําใหการทํางานเปนทีมลดลง นับเปนปญหา อุปสรรคท่ีสําคัญยิ่ง

1) สาเหตุของความขัดแยง ผลประโยชนขัดกัน2) ความคิดไมตรงกัน หรือองคการขัดแยงกัน3) ความรูความสามารถตางกัน ทําใหมีลักษณะการทํางานตางกัน

Page 20: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

27

4) การเรียนรูตางกัน ประสบการณท่ีมีมาไมเหมือนกัน5) เปาหมายตางกัน

4.3 วิธีแกความขัดแยง การแกความขัดแยงเปนเรื่องของทักษะเฉพาะบุคคล การแกปญหาความขัดแยงในการทํางานเปนทีม ควรใชวิธีการแกปญหารวมกันไมพูดในลักษณะท่ีแปลความหรือมุงตัดสินความไมพูดในเชิงวิเคราะหไมพูดในลักษณะที่แสดงตนเหนือกวาผูอื่น หรือไมพูดในลักษณะท่ีทําใหผูอ่ืนเจ็บปวด เสียหนา อับอาย เจ็บใจ หรือการพยายามพูดหาประเด็นความขัดแยงไมกลาวโจมตีวาใครผิดใครถูก

5. กระบวนการทํางาน และการตัดสินใจท่ีถูกตองและเหมาะสม งานท่ีมีประสิทธิภาพนั้นทุกคนควรจะคิดถึงงานหรือคิดถึงผลงานเปนอันดับแรก ตอมาควรวางแผนวาทําอยางไรงานจึงจะออกมาดีไดดังท่ีเราตองการ อยางไรก็ตามกอนท่ีจะตัดสินใจนั้นจุดมุงหมายควรจะมีความขัดแยงและสมาชิกทุกคน ควรมีความเขาใจในจุดมุงหมายของการทํางานเปนอยางดี จุดมุงหมายที่ชัดเจนถือเปนหัวใจสําคัญดวยเหตุนี้ จุดมุงหมายควรตองมีความชัดเจน และ สมาชิกทุกคนมีความเขาใจอยางดีเพราะจะนําไปสูแนวทางในการทํางานวาตองทําอยางไร จึงจะบรรลุตามเปาหมายของงาน ใหไดผลของงานออกมาไดอยางดีท่ีสุด

การตัดสินใจสั่งการเปนกระบวนการข้ันพ้ืนฐานของการบริหารงาน ผูบริหารหรือผูนําทีมเปนบุคคลสําคัญในการท่ีจะมีสวนในการตัดสินใจ วิธีการท่ีผูบริหารใชในการตัดสินใจหลายวิธีคือผูบริหารตัดสินใจเพ่ือแกปญหา โดยไมตองซักถามคนอ่ืน หรือผูบริหารจะรับฟงความคิดเห็นกอนตัดสินใจกลาวคือ ผูบริหารยังคงตัดสินใจดวยตนเองแตข้ึนอยูกับความคิดเห็นและขอมูลอ่ืน ๆ ท่ีผูบริหารไดรับมาจากสมาชิกของทีม บางครั้งผูบริหารอาจจะตัดสินใจรวมกับทีมงานท่ีคัดเลือกมา โดยที่ผูบริหารนําเอาปญหาใหทีมงานอภิปราย แลวใหทีมงานตัดสินใจหรือทีมงาน อาจจะมอบหมายการตัดสินใจใหคนใดคนหนึ่งหรือกลุมยอมท่ีเห็นวาเหมาะสมก็ได

ท้ังนี้ ข้ันตอนในการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิ์ภาพ ประกอบดวยข้ันตอนท่ีสําคัญ 4 ข้ันตอนคือ

1) ทําความเขาใจอยางชัดเจนในเหตุผล สําหรับการตัดสินใจ2) วิเคราะหลักษณะของปญหาท่ีจะตัดสินใจ3) ตรวจสอบทางเลือกตาง ๆ ในการแกปญหาโดยพิจารณาถึงผลท่ีอาจเกิดตามมาดวย4) การนําเองผลการตัดสินใจไปปฏิบัติ5) ภาวะผูนําท่ีเหมาะสม ผูนํา หรือ หัวหนาทีมควรทําหนาท่ีเปนผูชี้แนะประเด็น

ท่ีสําคัญในการทํางานตามบทบาทของผูนํา คือการแบงงานกระจายงานใหสมาชิกทุกกลุมตามความรูความสามารถสําหรับสมาชิกของทีมงานท่ีไดรับการคัดเลือกใหเปนผูนํา ตองพรอมที่จะทําหนาท่ี

Page 21: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

28

ใหเหมาะสมกับงานท่ีไดรับมอบหมายโดยการใหการสนับสนุนนําทีมใหประสบผลสําเร็จ สงเสริมใหมีบรรยากาศท่ีดีในการทํางานเปนทีม มีการพัฒนาบุคลากรและทีมงาน

6. การตรวจสอบทบทวนผลงานและวิธีในการทํางาน ทีมงานท่ีดีไมเพียงแตดูจากลักษณะของทีมและบทบาทท่ีมีอยูในองคการเทานั้น แตตองดูวิธีการท่ีทํางานดวยการทบทวนงาน แนะนําใหทีมงานไดเรียนรูจากประสบการณท่ีทํา รูจักคิด การไดรับขอมูลปอนกลับเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของแตละคน หรือ ของทีม

7. การพัฒนาตนเอง การทํางานเปนทีมท่ีมีประสิทธิภาพพยายามท่ีจะรวบรวมทักษะตาง ๆของแตละคน การพัฒนาบุคคลากรในองคการมักจะมองในเรื่องทักษะและความรูท่ีแตละคนมีอยูแลวก็ทําการฝกอบรมพัฒนาคนใหมีความสามารถสูงข้ึนอันจะมีผลดีในการทํางานใหดีขึ้น ผูบริหารหรือผูนําตองมีความรูในการบริหารคน สามารถสอนพัฒนาคนใหมีลักษณะท่ีดีข้ึน

นอกจากนี้ กิตติกร คัมภีรปรีชา (2557 : 33 - 34) ไดสรุปองคประกอบของการทํางานเปนทีมไววา การทํางานเปนทีมประกอบดวยองคประกอบที่สําคัญ 5 สวนดวยกัน ไดแก (1) งานหรือวัตถุประสงคของทีม (2) ระบบการจัดการภายในทีม (3) ผูนําทีม (4) สมาชิกในทีม และ (5) อํานาจหนาท่ีความรับผิดชอบของคนในทีม ดังนี้

1. งานหรือวัตถุประสงคของทีม (Job หรือ Objective) ถือเปนหัวใจหลักของทีมเพราะเปนตัวกําหนดองคประกอบอ่ืนของทีม และเปนสิ่งท่ีสมาชิกทุกคนจะตองยึด เปนแนวทางในการปฏิบัติหนาท่ีของตน งานหรือวัตถุประสงคของทีมท่ีเห็นกันบอย ๆ ในปจจุบันก็เชน มุงแกปญหามุงผลิตหรือพัฒนา มุงจัดการหรือบริหารระบบ มุง ชวยเหลือสนับสนุนหรือซอมบํารุง มุงแสดงหรือสรางความบันเทิง มุงบริการหรือขาย มุงควบคุมหรือตรวจสอบมุงปฏิบัติการหรือลงแรงกระทํา

2. ระบบการจัดการภายในทีม (Organizational system) หมายถึง ระบบการดําเนินการภายในทีม ไดแก ข้ันตอนการทํางานหรือข้ันตอนการประสานงาน ระหวางกันระเบียบและบรรทัดฐานภายในทีม ลําดับหนาท่ีความรับผิดชอบหรือ โครงสรางวิธีการสื่อสารรวมถึงรูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน

3. ผูนําทีม (Team leader) คือบุคคลหรือกลุมบุคคลท่ีมีหนาท่ีตัดสินใจและบริหารงานโดยรวมของทีม เปนสวนสําคัญท่ีชวยสรางและสนับสนุนใหการทํางานของสมาชิกใน ทีมราบรื่นและประสบผลสําเร็จเปนคนท่ีจะคอยควบคุมดูแลในภาพรวมโดยคอยรับ ฟงขอมูลและความคิดเห็นของสมาชิกคนอ่ืนเพ่ือนํามาใชในการตัดสินใจผูนําควรจะมี ความสามารถในการบริหารท้ังงานและบุคคล

4. สมาชิกในทีม (Team Member) หมายถึงสมาชิกทุกคนในทีมโดยท่ัวไป จํานวนสมาชิกในทีมหนึ่ง ๆ อาจมีไดตั้งแต 2 คนไปจนถึงหลายสิบคน ข้ึนนอยูกับปริมาณงาน และลักษณะงาน และอาจมาจากหลายหนวยงานหรือหลายภาคสวนมารวมตัวกันใน รูปแบบทีมขามสายงานหรืออาจจะมาจากสายงานหรือกลุมเดียวกันก็ไดไมจํากัดเพศ ยกเวนในทีมบางประเภท เชนหนวยทหารจูโจม นักบิน

Page 22: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

29

คนงานเหมืองแรซึ่งสมาชิกในทีมสวนใหญมักจะเปนเพศชายโดยสมาชิกแตละคนจําเปนจะตองตระหนักถึงวัตถุประสงคของทีมและบทบาทหนาท่ีของตนเปนอยางดี

5. อํานาจหนาที่ความรับผิดชอบ (Authorization) เปนสิ่งที่จะคอยจํากัดขอบเขตการทํางานของสมาชิกโดยมากมักจะมอบหมายตามตําแหนงและความชํานาญและ มีความสอดคลองกันระหวางหนาท่ีของสมาชิกแตละคนเพ่ือใหการทํางานเปนไปดวย ความราบรื่นตัวอยางเชนอํานาจหนาท่ีของผูนําทีม คือการบริหารจัดการทรัพยากรใน การทํางานใหแกสมาชิกอยางเพียงพอและการตัดสินใจในเรื่องสําคัญ ๆ ตาง ๆ

กลาวโดยสรุป ในการทํางานเปนทีมใหมีประสิทธิภาพนั้น ตั้งประกอบไปดวยองคประกอบท่ีสําคัญ ไดแก งานหรือวัตถุประสงคของทีม ซึ่งเปนตัวกําหนดองคประกอบอ่ืนของทีมแลสมาชิกทุกคนตองยึดเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาท่ีของตน ระบบการจัดการภายในทีม ไดแกข้ันตอนการทํางานผูนําทีม คือบุคคลท่ีมีหนาท่ีตัดสินใจบริหารงาน เพ่ือสนับสนุนใหการทํางานของทีมประสบผลสําเร็จสมาชิกในทีม และอํานาจหนาท่ีความรับผิดชอบท่ีมอบหมายใหสมาชิกของทีมทุกคน เปนตน

แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิภาพการทํางาน

ความหมายของประสิทธิภาพในการทํางานการปฏิบัติงานของพนักงาน ท่ีสามารถปฏิบัติงานท่ีไดรับมอบหมายไดอยางถูกตอง ครบถวน

ตรงตามเปาหมายท่ีองคกรตั้งไว และผลงานท่ีไดเปนงานท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน ซึ่งประกอบดวยนักวิชาการและสถาบันท่ีเก่ียวของกับการศึกษา ไดใหความหมายของการทํางานเปนทีมไวอยางหลากหลายดังนี้

Gibson (1988 : 37 อางถึงใน กันตยา เพ่ิมพูน, 2552 : 6) กลาววา บุคคลท่ีมีประสิทธิภาพในการทํางาน คือ บุคคลท่ีตั้งใจปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถ ใชกลวิธีหรือเทคนิคการทํางานท่ีสรางผลงานไดมาก ไดผลงานท่ีมีคุณภาพเปนท่ีนาพอใจ โดยสิ้นเปลืองทุน คาใชจาย พลังงานและเวลานอย เปนบุคคลท่ีมีความสุขและพอใจในการทํางาน เปนบุคคลท่ีมีความพอใจจะเพ่ิมพูนคุณภาพและปริมาณผลงาน คิดคน ดัดแปลงวิธีการทํางานใหไดผลดียิ่งข้ึน

ประเวศน มหารัตนสกุล (2553) กลาววา ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง การทํางานท่ีไดผลผลิตหรือผลลัพธตามท่ีตองการ โดยใชทรัพยากรท่ีมีมูลคานอยกวามูลคาของผลลัพธ

จิตราวรรณ ถาวรวงศสกุล (2554) สรุปวา ประสิทธิภาพในการทํางาน หมายถึง การทํางานใหบรรลุเปาหมาย โดยใชทรัพยากรในการดําเนินงานนอยที่สุดและผลลัพธที่ออกมาคือ องคการประสบความสําเร็จ มีกําไร ท้ังนี้ ประสิทธิภาพในการทํางานมีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เนื่องจากเปนตัวขับเคลื่อนใหองคการเดินหนาตอไปและประสบความสําเร็จ

Page 23: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

30

สมยศ แยมเผื่อน (2551) กลาววา ประสิทธิภาพในการทํางานเปนสิ่งท่ีเกิดจากความพึงพอใจของพนักงานท่ีทํางาน รวมกันเปนกลุม การมีปฏิสัมพันธระหวางบุคคล โดยพิจารณาถึงภารกิจท่ีปฏิบัติความสามารถ ความพึงพอใจท่ีจะทํางานรวมกันในอนาคต ซึ่งการบรรลุผลการปฏิบัติงานตามเปาหมายอยูในมาตรฐานดานปริมาณ คุณภาพ และเหมาะสมกับเวลาในผลงานท่ีออกมาซึ่งจะชวยใหองคกรบรรลุภารกิจขององคการท่ีสําคัญไดสําเร็จ โดยเฉพาะในดานการแสดงใหเห็นถึงศักยภาพในการทํางานรวมกัน

จากการท่ีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของคําวาประสิทธิภาพ ดังนั้น ผูวิจัยจึงสามารถสรุปความหมายของคําวาประสิทธิภาพไดวา หมายถึง ความสามารถในการบรรลุจุดมุงหมายโดยใชทรัพยากรต่ําสุด การมีสมรรถนะสูง การทํางานใหเสร็จ โดยสูญเวลาและเสียพลังงานนอยท่ีสุดกลาวคือ ทํางานไดเร็วและไดงานท่ีดี โดยสิ้นเปลืองตนทุน คาใชจาย พลังงาน และเวลานอยท่ีสุด

องคประกอบของประสิทธิภาพในการทํางานVroom and Deci (1997) ไดทําการศึกษาพบวา ในการปฏิบัติงานของบุคคลท่ีจะกอใหเกิด

ผลดีมีประสิทธิภาพจะตองประกอบดวยองคประกอบ 2 ดาน คือ ความสามารถความชํานาญของผูปฏิบัติงานและการจูงใจในการปฏิบัติงานท่ีนําไปสูการใชความสามารถอยางเต็มท่ี การปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพนั้น จึงมีความจําเปนตองคํานึงถึงความพึงพอใจและแรงจูงใจในการปฏิบัติงานใหเกิดข้ึนกับบุคคลเสียกอน

แนวคิด Harrington (1911) เปนทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมโดย Harrington ไดกลาวถึงแนวการทํางานเพ่ือใหไดมาตรฐาน The Twelve Principles of Efficiency ไดกลาวถึงหลักประสิทธิภาพการบริหารงานขององคกร 12 ประการท่ีสําคัญดังนี้

1. Clearly defined ideals กําหนดเปาหมายใหชัดเจน2. Common sense ใชหลักเหตุผลท่ัวไป พิจารณาจากความเปนไปไดของงาน3. Competent counsel ใหคําแนะนําท่ีดี มีหลักถูกตองสมบูรณ4. Discipline รักษาระเบียบวินัยในการทํางาน5. The fair deal ปฏิบัติงานดวยความยุติธรรม6. Reliable information มีขอมูลพรอมทํางานท่ีเชื่อถือได7. Dispatching มีการรายงานผลการทํางานเปนระยะ8. Standards and schedules มีมาตรฐานงานเสร็จตามเวลา9. Standardized conditions มีผลงานไดมาตรฐาน10. Standardized operations ดําเนินงานถือเปนมาตรฐานได11. Written standard-practice instructions มาตรฐานท่ีกําหนดสามารถปฏิบัติได12. Efficiency-reward ใหบําเหน็จ รางวัลแกผูปฏิบัติงานดี มีประสิทธิภาพ

Page 24: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

31

ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Peterson & Plowman (1989) ไดใหแนวคิดที่ใกลเคียงกับHarring Emerson โดยตัดทอนบางขอลง และสรุปองคประกอบของประสิทธิภาพไว 4 ขอ ประกอบดวย

1. คุณภาพของงาน (Quality) จะตองมีคุณภาพสูงคือผูผลิตและผูใชไดประโยชนคุมคาและมีความพึงพอใจผลการทํางานมีความถูกตองไดมาตรฐาน รวดเร็ว นอกจากนั้นผลงานท่ีมีคุณภาพควรกอเกิดประโยชนตอองคกรและสรางความพึงพอใจของลูกคาหรือผูมารับบริการ

2. ปริมาณงาน (Quantity) งานท่ีเกิดข้ึนจะตองเปนไปตามความคาดหวังของหนวยงานโดยผลงานท่ีปฏิบัติไดมีปริมาณท่ีเหมาะสมตามท่ีกําหนดไวในแผนงาน หรือเปาหมายท่ีบริษัทวางไวและควรมีการวางแผน บริหารเวลา เพ่ือใหไดปริมาณงานตามเปาหมายท่ีกําหนดไว

3. เวลา (Time) คือเวลาท่ีใชในการดําเนินงานจะตองอยูในลักษณะท่ีถูกตองตามหลักการเหมาะสมกับงานและทัน สมัยมีการพัฒนาเทคนิคการทํางานใหสะดวกรวดเร็วข้ึน

4. คาใชจายในการดําเนินงาน (Costs) ในการดําเนินงานท้ังหมดจะตองเหมาะสมกับงานและวิธีการคือจะตองลงทุนนอยและใหไดผลกําไรมากท่ีสุดประสิทธิภาพในมิติของคาใชจาย หรือในเรื่องของทุนการผลิต ไดแก การใชทรัพยากรดานการเงิน คน วัสดุเทคโนโลยีท่ีมีอยูอยางประหยัดและคุมคาและใหเกิดการสูญเสียนอยท่ีสุด

สอดคลองการปฏิบัติงานของพนักงาน ท่ีสามารถปฏิบัติงานท่ีไดรับมอบหมายไดอยางถูกตองครบถวน ตรงตามเปาหมายที่องคกรตั้งไว และผลงานที่ไดเปนงานที่มีคุณภาพและมาตรฐานซึ่งประกอบดวย (นิพจน ปาปะเก, 2555 : 24; ไพศาล คําแกว, ธนายุ ภูวิทยาธร และวรรณวิชณียทองอินทราช, 2559 : 200; กิตติคุณ ลาภเบญจพร, 2559)

1. คุณภาพงาน (Quality of Work) หมายถึง การมีความรูความเขาใจในการปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานท่ีไดรับมอบหมายไดถูกตอง ครบถวน ซึ่งผลงานมีคุณภาพดี

2. ปริมาณงาน (Quantity of Work) หมายถึง การปฏิบัติงานท่ีไดปริมาณงานตรงกับจํานวนงานท่ีวางแผนไว และมีปริมาณเหมาะสมตามเปาหมายอยูเสมอ

3. เวลาในการทํางาน (Timing of Work) หมายถึง การใชเวลาในการปฏิบัติงานท่ีสามารถทํางานไดเสร็จกอนหรือภายในระยะเวลาท่ีกําหนดไว อยางมีคุณภาพและเปนไปตามมาตรฐาน

จิตติมา อัครธิติพงศ (2556) ยังไดกลาววา ประสิทธิภาพในการทํางานในองคการเปนหัวใจสําคัญในการนําองคการไปสูการบรรลุผลความสําเร็จของการดําเนินงาน องคการจะมีผลผลิตเปนท่ีนาพอใจท้ังในดานการผลิต การบริการ มีความเจริญกาวหนา และสรางความพึงพอใจแกลูกคาและบุคลากรองคการ ซึ่งองคประกอบการพัฒนาประสิทธิภาพการทํางานท่ีสําคัญ มีดังนี้

1. สิ่งแวดลอมนอกองคการ ไดแก ตลาดความตองการของลูกคา สภาพเศรษฐกิจของสังคมและประเทศ เชน ภาวะเงินเฟอ สภาพคลองทางการเงินการธนาคาร กําลังการซื้อของลูกคาความเปลี่ยนแปลงของสังคม

Page 25: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

32

2. สิ่งแวดลอมในองคการไดแก นโยบาย วิสัยทัศน และปรัชญาขององคการที่กําหนดทิศทางการดําเนินงาน วัฒนธรรมองคการ และการจัดบรรยากาศการทํางานท่ีสงเสริมการทํางานของบุคลากร

3. ปจจัยขององคการไดแก สภาพความพรอมขององคการในดานที่ดิน อาคารสถานท่ีอุปกรณเครื่องมือเครื่องใช เงินทุน เทคโนโลยี และศักยภาพของบุคคล ดานบุคลากรหรือบุคคลถือเปนหัวใจของการพัฒนาประสิทธิภาพขององคการ บุคคลตองมีประสิทธิภาพในการทํางาน ดังนั้นองคประกอบดานตัวบุคคลท่ีจําไปสูการพัฒนาประสิทธิภาพการทํางาน ไดแก ปรัชญาและอุดมการณบุคลิกภาพ ความตองการ คานิยม เปาประสงคของชีวิตและหารทํางาน การสํารวจตนเอง ความสามารถในการพิชิตอุปสรรคในการทํางาน และการสรางความเชื่อม่ันในตนเอง เปนตน

4. กระบวนการขององคการ เปนองคประกอบสําคัญลําดับสองตอจากองคประกอบดานบุคคล กระบวนการท่ีสําคัญขององคการ คือ การดําเนินงานท้ังหมดท่ีจะทําใหเกิดการผลิต และการบริการท่ีนาพอใจ ขอบขายของกระบวนการขององคการท่ีเอ้ือตอการเพ่ิมประสิทธิภาพขององคการไดแก การจัดโครงสรางงานขององคการ การวางแผน การจัดองคการในดานบุคลากร การสรางแรงจูงใจในการทํางาน การควบคุมคุณภาพการทํางาน และการพัฒนาองคการเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ

นอกจากนี้ สมพิศ สุขแสน (2556) ยังไดกลาววา การท่ีจะเกิดประสิทธิภาพการทํางานนั้นตองมีองคประกอบ 2 สวนหลักคือ ผูท่ีทํางานกับ โครงสรางการทํางาน สําหรับในเรื่องของคนทํางานจะตองมีแนวคิดการปฏิบัติตัวในการทํางานและการพัฒนาตนเองอยูเสมอ ดังนั้นคนทํางานท่ีมีประสิทธิภาพควรมีลักษณะดังนี้

1. ความฉับไว หมายถึง การใชเวลาไดอยางดีที่สุด รวดเร็ว ไมทํางานลาชา นั่นคือคนท่ีมีประสิทธิภาพ ควรทํางานใหเสร็จตามกําหนดเวลา หรืองานบริการ ผูรับบริการยอมตองการความรวดเร็ว ดังนั้นผูใหบริการจะตองสรางวัฒนธรรมการใหบริการแบบเบ็ดเสร็จจุดเดียว (One StopService)

2. ความถูกตองแมนยํา หมายถึง การผิดพลาดในงานนอย มีความแมนยําในกฎระเบียบขอมูล ตัวเลข หรือสถิติตาง ๆ ไมเลินเลอจนทําใหเกิดความเสียหายแกองคการ

3. ความรูหมายถึง การมีองคความรูในงานดีรูจักศึกษาหาความรูในเรื่องงานที่ทําอยูตลอดเวลา คนท่ีมีประสิทธิภาพควรแสวงหาความรูอยูตลอดเวลา ท้ังการเรียนรูดวยตนเอง องคการผูอ่ืน อินเทอรเน็ต เปนตน และสามารถนําความรูนั้นมาปรับปรุงการทํางานใหดีข้ึน

4. ประสบการณหมายถึง การรอบรู หรือรูรอบดาน จากการไดเห็น ไดสัมผัส ไดลงมือปฏิบัติบอย ๆ มิใชมีความรูดานวิชาการแตเพียงอยางเดียว การเปนผูมีประสบการณในการทํางานสูงจะทํางานผิดพลาดนอย สมควรท่ีองคการจะตองรักษาบุคคลเหลานี้ใหอยูกับองคการใหนานที่สุดเพราะคนเหลานีจ้ะทําใหองคการพัฒนาไดเร็ว

Page 26: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

33

5. ความคิดสรางสรรคหมายถึง การคิดริเริ่มสิ่งใหม ๆ มาใชในองคการ เชน คิดระบบการใหบริการท่ีลดข้ันตอน การประเมินผลการปฏิบัติงานแบบใหม การบริหารงานแบบเชิงรุก เปนตนคนท่ีมีประสิทธิภาพจึงเปนคนท่ีชอบคิด หรือ เกงคิด หรือมองไปขางหนาตลอดเวลา ไมใชคนท่ีชอบทํางานตามคําสั่ง และจะตองไมทํางานประจําวันเหมือนกับหุนยนต

กลาวโดยสรุป องคประกอบในการพัฒนาการทํางานใหมีประสิทธิภาพ ไดแก สิ่งแวดลอมภายนอกองคการ เชน ตลาด สภาพเศรษฐกิจ สังคมในขณะนั้น สิ่งแวดลอมภายในองคการ เชนนโยบาย วิสัยทัศน ปรัชญา วัฒนธรรมองคการ เปนตน ปจจัยขององคการ เชน ความพรอมของงบประมาณและเครื่องมือในการปฏิบัติงาน เปนตน และกระบวนการขององคการ เชน การจัดโครงสรางงาน การวางแผน การจัดการดานบุคลากร การสรางแรงจูงใจ การควบคุมคุณภาพและการพัฒนาองคการ เปนตน นอกจากนี้ ยังมีปจจัยเสริมที่ทําใหการทํางานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เชนความฉับไว ความถูกตองแมนยํา ความรู ประสบการณ และความคิดสรางสรรค เปนตน

การวัดประสิทธิภาพในการทํางานการประเมินผลการปฏิบัติงาน ไดมีนักวิชาการไดใหคํานิยามของการประเมินผลการปฏิบัติงานไว

อยางหลากหลาย ตามแนวคิดดังตอไปนี้เจษฎา นกนอย (2552) กลาววา การประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใชดัชนีวัดผล

การปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators: KPI’s) เปนวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานวิธีหนึ่งท่ีไดรับความนิยมอยางแพรหลายในปจจุบันโดยเฉพาะองคการท่ีมุงเนนการบริหารจัดการสมัยใหมโดยเปนวิธีการประเมินท่ีพัฒนามาจากวิธีการประเมินท่ียึดผลสําเร็จของงานหรือวัตถุประสงคเปนหลัก(Result or Objective Based Approach) ท้ังนี้เพราะวิธีการดังกลาวมีขอจํากัดหรือจุดออนในแงของความเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน พันธกิจและกลยุทธการดําเนินงานขององคการในอันท่ีจะทําใหองคการมีความไดเปรียบทางการแขงขัน (Competitive Advantage) จึงไดมีการพัฒนาเปนดัชนีวัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators : KPI’s) เพ่ือประเมินผลความสําเร็จขององคการเพ่ือใหม่ันใจไดวาองคการจะสามารถเจริญเติบโตและแขงขันไดอยางยั่งยืน

ท้ังนี้ การประเมินผลการปฏิบัติงานคือ การวัดเพ่ือใหทราบวาผลการปฏิบัติงานของผูปฏิบัติงานแตละคนนั้นไดผลเปนประการใด แลวนําเอาผลท่ีวัดไดนั้นมาประเมินคาวามีคาเปนอยางไรเพ่ือใชประโยชนในการบริหารงานงานบุคคลใหบรรลุตามเปาหมายที่กําหนดไว เชน เพื่อพิจารณาความดีความชอบ เลื่อนข้ันเงินเดือนประจําปหรือเพ่ือพัฒนาบุคคลการแจงผลการประเมินใหผูถูกประเมินทราบผลการปฏิบัติงานของตนวามีขอเดนขอดอยอยางไร เพ่ือจะไดปรับปรุงการทํางานของตนใหดีข้ึนและผลการประเมินยังจะเปนเครื่องชวยพิจารณาหาความตองการในการ ฝกอบรมดวย (กรมสงเสริมอุตสาหกรรม, 2558) ท้ังนี้ จดุมุงหมายของการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีดังตอไปนี้

Page 27: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

34

1. เพ่ือทราบผลการปฏิบัติงานของพนักงาน ผลการปฏิบัติงานของพนักงานทั้งหมดชวยใหผูบริหารสามารถตัดสินใจไดวาพนักงานคนนั้นมีคาควรแกการปฏิบัติงานตอในตําแหนงเดิมหรือมีคาควรแกการใหความดีความชอบหรือไม

2. เพ่ือทราบจุดเดนจุดดอยของพนักงาน ในผลการปฏิบัติงานผูประเมินสามารถระบุจุดเดนจุดดอยของพนักงานได ท้ังนี้เพ่ือนํามาสงเสริมและพัฒนาความสามารถของพนักงานและพิจารณามาตรการแกไขปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน

3. เพ่ือทราบคุณสมบัติท่ีจําเปนในการเลื่อนข้ันเลื่อนตําแหนง ผลการปฏิบัติงานแสดงใหเห็นวาพนักงานผูนั้นพรอมท่ีจะไดรับการเลื่อนข้ันเลื่อนตําแหนงใหรับผิดชอบสูงข้ึนหรือไม

4. เพ่ือทราบระดับศักยภาพของพนักงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานจะชวยใหทราบระดับความสามารถที่แฝงอยูของพนักงาน ซึ่งจะนํามาพัฒนาและใชประโยชนใหไดอยางเต็มท่ีท้ังยังชวยใหวางแผนและพัฒนาแนวอาชีพของพนักงานไดอยางดีอีกดวย

5. เพ่ือเสริมสรางและรักษาสัมพันธภาพอันดีระหวางผูบังคับบัญชากับพนักงาน การปรึกษาหารือกันในการแกไขปรับปรุงจุดออนและขอบกพรองตาง ๆ ในการปฏิบัติงานการโยกยายพนักงานอยางเหมาะสมและการใหความดีความชอบ ตลอดจนการเลื่อนข้ันเลื่อนตําแหนงดวยความเปนธรรมโดยการใชผลการปฏิบัติงานเปนหลักในการพิจารณายอมนํามาซึ่งความเขาใจอันดีระหวางพนักงานกับผูบังคับบัญชา

6. เพ่ือเสริมสรางและรักษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขององคกร ซึ่งเปนจุดมุงหมายท่ีสําคัญยิ่งประเภทหนึ่ง โดยการนําผลการประเมินไปใชเพ่ือปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขององคกรใหดีข้ึน และรักษาระดับของผลการปฏิบัติงานใหอยูในระดับมาตรฐานท่ีตองการเสมอ

กลาวโดยสรุป ในการวัดประสิทธิภาพในการทํางานนั้น มีจุดมุงหมายเพ่ือใหทราบผลการปฏิบัติงานของพนักงาน ซึ่งจะชวยใหผูบริหารสามารถตัดสินใจไดวาพนักงานคนนั้นมีคาควรแกการปฏิบัติงานตอในตําแหนงเดิม หรือมีคาควรแกการใหความดีความชอบหรือไม เพ่ือทราบจุดเดนจุดดอยของพนักงาน อันจะนํามาซึ่งการพัฒนาความสามารถของพนักงาน เพ่ือทราบคุณสมบัติท่ีจําเปนในการเลื่อนขั้นเลื่อนตําแหนง เพื่อใหทราบระดับศักยภาพของพนักงาน เพื่อเสริมสรางและรักษาสัมพันธภาพอันดีระหวางผูบังคับบัญชากับพนักงาน และเพื่อเสริมสรางและรักษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขององคกร เปนตน

ผลของการทํางานเปนทีมท่ีมีตอประสิทธภิาพการทํางาน

จากการทบทวนแนวคิดทฤษฎีท่ีเก่ียวของเก่ียวกับการทํางานเปนทีม ผูวิจัยไดประยุกตใชแนวคิดเก่ียวกับการทํางานเปนทีมของ วราภรณ ตระกูลสฤษดิ์ (2549 : 6 - 9) และ ดวงฤทัย ศรีเร (2555 : 5)

Page 28: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

35

ท่ีสรุปไววา องคประกอบของการทํางานเปมทีมท่ีจะสงผลตอความสําเร็จขององคกรประกอบไปดวย6 ดาน ไดแก

1. ดานการมีเปาหมายรวมกัน เปนการรับรู การเขาใจถึงแนวคิด วัตถุประสงคหรือเปาหมายของทีมหรือขององคกรของสมาชิกทุกคน เพ่ือใหสมาชิกไดมีสวนในการวางแผนหรือดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหสอดคลองกับเปาหมายดังกลาว สอดคลองกับแนวคิดของ สัมมนา สีหมุย (2553)กลาววา การท่ีทีมงานหรือกลุมบุคคลท่ีมีความแตกตางกันมาอยูรวมกัน จะตองมีการกําหนดวัตถุประสงคและจุดมุงหมายไวรวมกัน เพ่ือใหสมาชิกทุกคนใชทักษะ ประสบการณ และความสามารถชวยกันทํางานและแกไขปญหาเพ่ือใหบรรลุเปาหมายเดียวกันไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ดานการยอมรับนับถือกัน เปนการยอมรับในความแตกตาง รับฟง รวมท้ังใหเกียรติซึ่งกันและกัน การไดรับการยอมรับจะทําใหเกิดความเชื่อถือ ไววางใจ ไวเนื้อเชื่อใจ อันจะทําใหการทํางานเปนทีมประสบความสําเร็จไดไมยาก เนื่องจากความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของทีมงานการยอมรับนับถือกันระหวางทีมงานสงผลสืบเนื่องไปจนถึงการยอมรับนับถือในตัวองคกรอันจะนํามาซึ่งประสิทธิภาพการทํางานในท่ีสุด สอดคลองกับผลการศึกษาของ Abdullah, A.B. (2012) ท่ีพบวาปจจัยดานการไดรับการยอมรับมีความสัมพันธในระดับสูงกับตัวแปรดานความจงรักภักดีตอองคการ

3. ดานความรวมมือพรอมใจในการทํางาน เปนการพรอมใจ ชวยเหลือ ทุมเท สอดประสานกันในการทํางานของสมาชิกในองคกร เพ่ือใหการปฏิบัติงานของทีมบรรลุวัตถุประสงคตามท่ีกําหนดไวจนเกิดประสิทธิภาพตอการบริหารงานของทีม ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Woodcock (1989)ท่ีกลาววาการทํางานท่ีมีประสิทธิภาพจะตองประกอบดวย การสนับสนุนและการไววางใจตอกันซึ่งเปนหนาท่ีขององคกรหรือผูนําในการสงเสริมใหเกิดบรรยากาศดังกลาว โดยใหบุคลากรเขาใจความเก่ียวของสัมพันธระหวางงานของตนเองกับของคนอ่ืน ๆ และพรอมท่ีจะรับและใหความชวยเหลือรวมมือรวมใจอยางจริงใจ อันจะทําใหการดําเนินงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพตอไป

4. ดานการแบงงานตามความสามารถของบุคคล เปนการจัดสรรงานใหแกสมาชิกของกลุมแตละคนโดยคํานึงถึงทักษะ ความรู ความเชี่ยวชาญและความสามารถของพนักงานแตละคน ท้ังนี้การแบงงานตามความสามารถ เปนการวางแผนปฏิบัติการ (Action Planning) ตามกระบวนการทํางานเพ่ือสงเสริมใหการทํางานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระจายงานใหเหมาะสมกับความสามารถของสมาชิก ถาเปนไปไดควรมีการทดลองกอนการปฏิบัติจริงเพ่ือหาลดขอผิดพลาดท่ีอาจเกิดข้ึนได(มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 2559)

5. ดานความรับผิดชอบ ถือเปนความตั้งใจ เอาใจใสตองานท่ีไดรับมอบหมายของสมาชิกแตละคน ซึ่งจะสงผลตอความสําเร็จของทีมงาน ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของอรสุดา ดุสิตรัตนกุล(2557) ปจจัยในดานการทํางานเปนทีมของบุคลากรในดานความรับผิดชอบมีความสัมพันธกับระดับประสิทธิภาพในการทํางาน ซึ่งผลการศึกษายังพบอีกวา ระดับประสิทธิภาพในการทํางานในดานความ

Page 29: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

36

รับผิดชอบและเอาใจใสในงานเปนปจจัยท่ีสงผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรอยูในระดับสูง

6. ดานความเขาใจซึ่งกันและกัน เปนการเรียนรูถึงความแตกตางของกันและกัน เห็นอกเห็นใจกัน ทําใหเกิดความผูกพัน ทําใหเกิดความรวมไมรวมมือระหวางกัน ซึ่งจะชวยใหการทํางานรวมกันมีความราบรื่นและประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน กลาวคือ ประสิทธิภาพการทํางาน เกิดจากความรวมมือในการทํางาน และความรวมมือจะเกิดข้ึนไดเมือฝายผูใหเต็มใจและยินดีจะใหความรวมมือซึ่งตองเกิดจากความเขาอกเขาใจซึ่งกันและกันนั่นเอง (ศูนยฝกอบรมและพัฒนาทรัพยากรบุคคล, 2553)

สําหรับการประเมินประสิทธิภาพของการทํางาน จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวของ พบวามีการจําแนกประสิทธิภาพของงานไวอยางหลายหลาย อยางไรก็ตาม ในการศึกษาครั้งนี้ ไดประยุกตใชแนวคิดนักวิชาการ ไดแก แนวคิดของ นิพจน ปาปะเก (2555 : 24) ไพศาล คําแกว, ธนายุ ภูวิทยาธรและวรรณวิชณีย ทองอินทราช (2559 : 200) และกิตติคุณ ลาภเบญจพร (2559) ท่ีไดสรุปถึงเปาหมายและผลงานท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานขององคกรไววา สามารถวัดได 3 ดาน ไดแก

1. คุณภาพของงาน เปนผลของการปฏิบัติงานท่ีไดรับมอบหมายไดอยางถูกตอง ครบถวนเปนไปตามมาตฐาน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ ปเตอรสันและโพวแมน (Peterson & Plowman,1989) ท่ีไดสรุปองคประกอบของประสิทธิภาพไววา งานจะตองมีคุณภาพสูง มีประโยชนตอองคกรมีความคุมคา สรางความพึงพอใจแกลูกคาหรือผูมารับบริการ ผลการทํางานมีความถูกตองไดมาตรฐานรวดเร็ว เปนตน

2. ปริมาณของงาน เปนผลของการปฏิบัติงานที่ไดปริมาณงานตรงกับจํานวนงานท่ีวางแผนไว และมีปริมาณเหมาะสมตามเปาหมายอยูเสมอ ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ สมยศแยมเผื่อน (2551) ที่กลาววา ประสิทธิภาพในการทํางาน เปนผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานดานปริมาณตรงตามเปาหมายท่ีไดกําหนดไว ซึ่งจะชวยใหองคกรบรรลุ ภารกิจขององคการท่ีสําคัญไดสําเร็จ นอกจากนี้ยังสอดคลองกับแนวคิดของ ปเตอรสันและโพวแมน (Peterson & Plowman,1989) ท่ีกลาวไววา ปริมาณงานท่ีสื่อใหเห็นถึงประสิทธิภาพการทํางานตองเปนไปตามความคาดหวังของหนวยงาน โดยผลงานท่ีปฏิบัติไดมีปริมาณท่ีเหมาะสมตามท่ีกําหนดไวในแผนงาน หรือเปาหมายท่ีองคกรวางไว

3. เวลาในการทํางาน เปนการใชเวลาในการปฏิบัติงานท่ีสามารถทํางานไดเสร็จกอนหรือภายในระยะเวลาที่กําหนดไว โดยไดงานที่มีคุณภาพและปริมาณตามที่กําหนด ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Gibson (1988 : 37 อางถึงใน กันตยา เพ่ิมผล, 2552 : 6) ท่ีกลาววา บุคคลท่ีมีประสิทธิภาพในการทํางาน คือ บุคคลท่ีตั้งใจปฏิบัติงานเพ่ือใหไดผลงานท่ีมีคุณภาพเปนท่ีนาพอใจ โดยสิ้นเปลืองทุนและเวลานอย รวมทั้งสอดคลองกับแนวคิดของ Peterson & Plowman (1989) ที่กลาวไววา

Page 30: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

37

การทํางานอยางมีประสิทธิภาพ เวลาท่ีใชในการดําเนินงานจะตองถูกตองตามหลักการเหมาะสมกับงานและมีความทันสมัย มีการพัฒนาเทคนิคการทํางานใหสะดวกรวดเร็วข้ึน

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

พลธรรม พลการ (2558) ทําการศึกษาเรื่อง การพัฒนารูปแบบการทํางานเปนทีมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในการจัดการแขงขันกีฬาของการกีฬาแหงประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษารูปแบบการทํางานเปนทีมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติ ศึกษาถึงความสัมพันธ และอิทธิพลของปจจัยในการทํางานเปนทีมท่ีสงผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน รวมท้ัง เพ่ือพัฒนารูปแบบการทํางานเปนทีมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในการจัดการแขงขันกีฬาของการกีฬาแหงประเทศไทย โดยใชรูปแบบการวิจัยเชิงผสมผสานท้ังเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณเขาดวยกันกลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาคือ พนักงานของการกีฬาแหงประเทศไทย ท่ีปฏิบัติหนาท่ีในการแขงขันกีฬาแหงชาติ ครั้งท่ี 40 การแขงขันกีฬาเยาวชนแหงชาติ ครั้งท่ี 28 และการแขงขันกีฬาคนพิการแหงชาติครั้งท่ี 30 จําแนกเปนผูบริหาร 20 คน พนักงาน 230 คน และผูชวยปฏิบัติงาน 150 คน ท้ังในสวนกลางและในสวนภูมิภาค รวมจํานวนท้ังสิ้น 400 คน ผลการศึกษาพบวา รูปแบบการทํางานเปนทีมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในการจัดการแขงขันกีฬาของการกีฬาแหงประเทศไทย ยังเปนรูปแบบท่ีไมมีการเชื่อมตอประสานกันระหวางทีมยอย ๆ ยังขาดศูนยรวมในการติดตอประสานงาน และไมมีการสรุปผลการปฏิบัติงานรายวันเพื่อการวางแผนในการปองกัน แกไข ในปญหาที่เกิดขึ้นผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา ปจจัยดานการทํางานเปนทีมท้ัง 5 ดานมีอิทธิพลในทิศทางเดียวกันตอประสิทธิภาพในการทํางานเปนทีมโดยท่ีปจจัยดานกระบวนการหรือการดําเนินงาน มีคาความสัมพันธกับดานบรรยากาศในการทํางานเปนที่สูงสุด หากดําเนินการในรูปแบบการทํางานเปนทีมอยางมีประสิทธิภาพแลวจะสงผลตอการประหยัดบุคลากรท่ีใชในการดําเนินงานไดมากท่ีสุด นอกจากนี้ผลการศึกษายังชี้ใหเห็นวา รูปแบบของการทํางานเปนทีมท่ีเหมาะสมกับการปฏิบัติงานในการจัดการแขงขันกีฬาของการกีฬาแหงประเทศไทย ควรจะตองอาศัยปจจัยทางดานบรรยากาศการทํางานเปนทีมซึ่งจะสงผลตอประสิทธิภาพในการทํางานเปนทีมสูงท่ีสุด

อรสุดา ดุสิตรัตนกุล (2557) ทําการศึกษาเรื่อง ปจจัยท่ีสงผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรณีศึกษาเฉพาะกรณีของบุคลากรสวนกลางโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาถึงระดับประสิทธิภาพในการทํางานของบุคลากร รวมทั้ง ศึกษาปจจัยท่ีสงผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณกลุมตัวอยางคือ บุคลากรสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณท่ีปฏิบัติงานท่ีสวนกลาง จํานวน270 คน สุมตัวอยางแบบสะดวก (Simple Random Sampling) เก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามและ

Page 31: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

38

วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติในการวิเคราะห ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญจะเปนเพศหญิงมีอายุระหวาง 41 - 50 ป สถานภาพโสด มีการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี สวนใหญมีตําแหนงพนักงานราชการ ไดรับเงินเดือนไมเกิน 20,000 บาท มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 1 - 6 ป บุคลากรสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณมีความคิดเห็นเก่ียวกับปจจัยดานบุคคล ดานความผูกพันกับหนวยงาน ดานการทํางานเปนทีม และดานความกาวหนาในตําแหนงงาน อยูในระดับดีมากมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยดานสภาพแวดลอมในการทํางานอยูในระดับดีที่สุด ผลการศึกษาดานระดับประสิทธิภาพในการทํางานพบวา ดานความขยันหม่ันเพียร ความรับผิดชอบและเอาใจใสในงาน และความซื่อสัตยและภักดีตอองคการอยูในระดับสูง ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา ปจจัยในการปฏิบัติงานดานบุคคลของบุคลากร ปจจัยในดานการทํางานเปนทีมของบุคลากรของ และปจจัยในการปฏิบัติงานดานความกาวหนาในการปฏิบัติงานของบุคลากรของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ มีความสัมพันธกับระดับประสิทธิภาพในการทํางานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

กัญญนันทน ภัทรสรณสิริ (2555) ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอประสิทธิภาพการทํางานของบุคลากร :กรณีศึกษาสําหรับสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงสถานภาพทั่วไปของบุคลากรท่ีตอบแบบสอบถาม รวมท้ังศึกษาคิดเห็นท่ีเก่ียวกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอประสิทธิภาพการทํางานของบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาคือบุคลากรทางการศึกษาท่ีปฏิบัติงานในสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ใชจํานวน 73 คน รวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลคือ จํานวน รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานสหสัมพันธเพียรสัน คา t-test และสมการถดถอย ผลของการศึกษาสรุป ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 41.94 ป สถานภาพสวนใหญแตงงานแลว สวนใหญมีการศึกษาอยูในระดับปริญญาโท มีอายุการทํางาน 15 ป และมีรายไดตอเดือน 10,000 - 19,999 บาท ผลการทดสอบสมมติฐานโดยหาความสัมพันธพบวาปจจัยทุกปจจัย ไดแก ปจจัยสวนบุคคล สภาพแวดลอมในการทํางานความผูกพันตอหนวยงาน การทํางานเปนทีม ความกาวหนาในการทํางาน เทคโนโลยีสารสนเทศรายไดและสวัสดิการ มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิภาพการทํางาน อยางไรก็ตามเม่ือทําการวิเคราะหความสัมพันธดวยสมการถดถอย (Multiple Regression) พบวา ปจจัยมีอิทธิพลตอประสิทธิภาพการทํางานของบุคลากรอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ไดแก ปจจัยดานความกาวหนา และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ขวัญชัย พูลวิวัฒนชัยการ (2556) ทําการศึกษาเรื่อง ระบบการทํางานและการทํางานเปนทีมท่ีสงผลตอประสิทธิผลของการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการ (ยานสีลม) โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาการทํางานเปนทีมท่ีสงผลตอประสิทธิผลของการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการ(ยานถนนสีลม) และเพ่ือศึกษาระบบการทํางานท่ีสงผลตอประสิทธิผลของการทํางานของพนักงาน

Page 32: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

39

ระดับปฏิบัติการ (ยานถนนสีลม) กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานอยูในบริเวณเขตธุรกิจสีลม กรุงเทพมหานคร จํานวน 400 คน เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการวิจัย สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก คาความถ่ี คารอยละ คาคะแนนเฉลี่ยคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหทางสถิติ โดยใชการวิเคราะห t-Test ทดสอบคาเฉลี่ยของประชากรศาสตร 2 กลุม การวิเคราะหความแปรปรวนแบบจําแนกทางเดียว F-Test (One WayANOVA) และการวิเคราะหสมการถดถอยเชิงเสนแบบพหุคูณ (Multiple Linear Regression)ผลการศึกษาพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย มีอายุระหวาง 26 - 29 ป สถานภาพสมรสมีการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี รายไดเฉลี่ยตอเดือน 15,001 - 20,000 บาท และอายุงานที่ทําในองคการ 3 - 5 ป ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา ปจจัยสวนบุคคลดานเพศ อายุ สถานภาพระดับการศึกษา รายไดเฉลี่ยท่ีแตกตางกันมีประสิทธิผลของการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการ(ยานสีลม) ไมแตกตางกัน สวนอายุงานท่ีทําท่ีแตกตางกันมีประสิทธิผลของการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการ (ยานสีลม) แตกตางกัน การทํางานเปนทีมและระบบงานของบริษัทที่สงผลตอประสิทธิผลของการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการ (ยานสีลม) พบวา การทํางานเปนทีมดานการอภิปรายอยางเปดเผย (Beta= 0.170) และระบบงานของบริษัทดานการติดตามและประเมินผล(Beta = 0.330) สงผลตอประสิทธิผลของการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการ (ยานสีลม) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ปริศนา พิมพา (2558) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองคการปกครองสวนทองถ่ินในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน และศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองคการปกครองสวนทองถ่ินในเขตอําเภอธาตุพนมจังหวัดนครพนม กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาคือ บุคลากรท่ีปฏิบัติงานอยูในองคการปกครองสวนทองถ่ินในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนมจํานวน 232 คน เก็บรวบรวมขอมูลดวยแบบสอบถาม สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาเฉลี่ยคารอยละ ความถ่ี สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน และการวิเคราะหสมการถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบวา ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร องคการปกครองสวนทองถ่ินในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยรวมและรายดานอยูในระดับมากที่สุดดานท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุด ไดแก ดานปริมาณงาน และดานท่ีมีคาเฉลี่ยต่ําสุด ไดแก ดานคุณภาพของงานปจจัยท่ีมีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองคการปกครองสวนทองถ่ินในเขตอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยรวมและรายดานอยูในระดับมากท่ีสุด ดานท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุด ไดแกปจจัยดานการมีสวนรวมรับผิดชอบในการทํางาน และดานท่ีมีคาเฉลี่ยต่ําสุด ไดแก ปจจัยดานภาวการณทํางาน

Page 33: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

40

สันติภพ วงคสิริ (2551) ทําการศึกษาเรื่อง แนวทางการเสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิานของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัท สยามกลาส อินดัสทรี จํากัด โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานในฝายปฏิบัติการผลิต ประชากรท่ีใชในการศึกษาคือ พนักงานในฝายปฏิบัติการผลิต บริษัท สยามกลาส อินดัสทรี จํากัด จํานวน 100 คน เก็บรวบรวมขอมูลดวยแบบสอบถาม ทําการประมวลผลและคํานวณอัตราสวนรอยละ และคาเฉลี่ย ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชาย อายุ 31 ปขึ้นไป มีสถานภาพสมรส จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน - ปลาย หรือเทียบเทา ตําแหนง เจาหนาที่/พนักงาน รายไดเฉลี่ยตอเดือน10,001 - 15,000 บาท โดยมีประสบการณในการทํางาน 5 ปข้ึนไป ผลการศึกษา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน พบวาในภาพรวมมีคาเฉลี่ย (3.36) อยูในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณาความพึงพอใจตอปจจัยคํ้าจุนและปจจัยจูงใจพบวาอยูในระดับปานกลาง ขอเสนอแนะท่ีไดจากการศึกษา องคการควรใหความสําคัญเปนอันดับแรกและตองทําการปรับปรุงแกไขโดยดวน ไดแก การตัดสินใจของผูบังคับบัญชา ความชัดเจนของการกําหนดสายบังคับบัญชา รายไดท่ีจะพอเลี้ยงตัวเองและครอบครัวการจัดสวัสดิการดานตาง ๆ ของบริษัท บรรยากาศในสถานที่ทํางานที่เอื้ออํานวยตอการทํางานเครื่องมือ เครื่องใช อุปกรณในการทํางาน การจัดสิ่งอํานวยความสะดวกในการทํางาน การไดรับการพิจารณาความดี ความชอบโดยยึดหลักคุณธรรม

Noraini and Anuar (2014) ศึกษาผลกระทบของความขัดแยงในการทํางานเปนทีมในอุตสาหกรรมโรงแรม กรณีศึกษาธุรกิจโรงแรมในภาคเหนือของประเทศมาเลเซีย สืบเนื่องมาจากภาวะความขัดแยงเปนภาวะท่ีบุคคลพยายามหลีกเลี่ยง โดยเฉพาะความขัดแยงในการทํางานเปนทีมซึ่งจะสงผลใหประสิทธิภาพในการทํางานในภาพรวมลดลงดวย มีปจจัยคอนขางหลากหลายท่ีสงผลใหเกิดความขัดแยงในการทํางานเปนทีม เชน การใชอํานาจในการสั่งงานในฐานะหัวหนาทีม ความพึงพอใจของพนักงาน พฤติกรรม การสื่อสาร และความแตกตางระหวางบุคคล วัตถุประสงคสําคัญในการศึกษาครั้งนี้คือ การคนหาปจจัยท่ีแทจริงท่ีกอใหเกิดความขัดแยงในการทํางานเปนทีม รวมท้ัง ศึกษาปฏิกิริยาของผูมีสวนเก่ียวของในชวงกอน ระหวางและหลังการเกิดความขัดแยงขึ้นในทีม กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ ธุรกิจโรงแรมท่ีตั้งอยูในตอนเหนือของประเทศมาเลเซีย การศึกษาครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางจํานวน 200 ราย ทดสอบสมมติฐานดวยสถิติการถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression) ผลการทดสอบสมติฐานพบวา เพศ พฤติกรรมหรือลักษณะสวนบุคคล เปนปจจัยท่ีทําใหเกิดความขัดแยงในการทํางานเปนทีม นอกจากนี้ ผลการทดสอบยังพบวา ภาวะผูนําของผูนําทีม ความพึงพอใจของพนักงานและการติดตอสื่อสารในทีม มีความสัมพันธในทิศทางตรงกันขามกับการเกิดความขัดแยงในทีม นั่นคือ มีสวนทําใหความขัดแยงภายในทีมลดลงนั่นเอง

Page 34: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

41

Anuja and Arulrajah (2013) ทําการศึกษาเปรียบเทียบการทํางานเปนทีมของบุคลากรในธนาคารของรัฐและธนาคารเอกชนในประเทศศรีลังกา โดยมีวัตถุประสงคการศึกษาเพื่อศึกษารูปแบบการทํางานเปนทีมของบุคลากร การปรับตัวในการทํางานเปนทีมของพนักงานโดยเปรียบเทียบผลการศึกษาในธนาคาร 4 แหง จําแนกเปนธนาคารของรัฐ 2 แหง และธนาคารเอกชน 2 แหง รวมท้ังทดสอบความแตกตางของการปรับตัวในการทํางานเปนทีมจําแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษาระดับตําแหนง แผนกท่ีทํางานและประสบการณการทํางาน เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคที่ 1 ผูศึกษารวบรวมขอมูลโดยการศึกษาทบทวนจากแหลงขอมูลทุติยภูมิ เชน รายงานประจําป และวิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหเนื้อหา สําหรับวัตถุประสงคท่ีสองเก็บรวบรวมขอมูลโดยรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางบุคลากรของธนาคารจํานวน 115 ราย โดยใชแบบสอบถาม วิเคราะหขอมูลดวยคาความถ่ีรอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และตารางไขว ผลการศึกษาพบวา บุคลากรธนาคารเอกชนจะมีระดับการทํางานเปนทีมสูงกวาบุคลากรในธนาคารของรัฐ ผลการศึกษาพบวาธนาคารท้ัง 4 แหงมีการปรับตัวเพ่ือยอมรับการทํางานเปนทีมในระดับสูง ผลการศึกษาศึกษาพบวาเพศ อายุ ระดับการศึกษาระดับตําแหนง แผนกท่ีทํางานและประสบการณการทํางาน สงผลใหพนักงานมีการปรับตัวเพ่ือยอมรับการทํางานเปนทีมท่ีแตกตางกัน

Abdullah. (2012) ทําการศึกษาการทํางานเปนทีมและผลกระทบท่ีมีตอความจงรักภักดีของบุคลากรในอุตสาหกรรมโรงแรม ใน Klang Valley ประเทศมาเลเซีย สืบเนื่องจากผูประกอบการจํานวนมากในธุรกิจโรงแรมประสบปญหาการรักษาพนักงานท่ีมีคุณภาพไวกับองคการ เนื่องจากยังไมสามารถตอบสนองความพึงพอใจและไมสามารถกอใหเกิดความภักดีของบุคลากรตอองคการไดการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาความพึงพอใจและความจงรักภักดีของบุคลากร โดยกําหนดตัวแปรดานความพึงพอใจ 13 ตัวแปร ผลการศึกษาความสัมพันธดวยการทดสอบ Correlationพบวาตัวแปรดานความพึงพอใจ 4 ดาน ไดแก ความสัมพันธกับหัวหนางาน การไดรับการยอมรับสภาพการทํางานและทํางานเปนทีม มีความสัมพันธในระดับสูงกับตัวแปรดานความจงรักภักดีตอองคการท้ังนี้ การศึกษาดังกลาวไดมีขอเสนอแนะวาควรมีการศึกษาความพึงพอใจและความจงรักภักดีในกลุมพนักงานใหมีความหลากหลายยิ่งข้ึน ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้เนนศึกษาเฉพาะในกลุมของพนักงานผูใหบริการแกลูกคาโดยตรงเทานั้น เพ่ือใหการกําหนดแนวทางในการเพ่ิมความพึงพอใจและความภักดีตอองคการไดอยางครอบคลุมพนักงานทุกภาคสวนในท้ังองคการไดมากข้ึน

Jerry (2012) ศึกษาปจจัยท่ีสงผลกระทบตอประสิทธิภาพการทํางานของบุคลากรภาครัฐโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาปจจัยดานแรงจูงใจท่ีสงผลตอประสิทธิภาพในการทํางานของบุคลากรภาครัฐในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งในพบวาในประเทศสหรัฐอเมริกานั้นมีบุคลากรภาครัฐกวา 5 ลานคนดังนั้น การศึกษาเพ่ือทราบแรงจูงใจหรือปจจัยที่สงผลใหบุคลากรดังกลาวปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น จึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่งท่ีจะนําไปสูการหาแนวทางในการพัฒนาศักยภาพ

Page 35: บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่ ...ir.sru.ac.th/bitstream/123456789/659/8/chapter2.pdf · 2019. 6. 18. · แบบเอทีอาร

42

ของบุคลากร อันจะทําใหการบริหารจัดการงบประมาณของภาครัฐมีความคุมคาและมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน เครื่องมือท่ีใชในการศึกษาครั้งนี้คือ แบบสํารวจขอมูล ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้เลือกเก็บรวบรวมกับบุคลากรภาครัฐในพ้ืนท่ีของในรัฐ Wyoming สําหรับการรวิเคราะหขอมูลนั้นจะใชเทคนิคการวิเคราะหองคประกอบ (Factor Analysis) เพ่ือคนหาปจจัยท่ีสงผลตอประสิทธิภาพการทํางาน ผลการศึกษาพบวา บุคลากรภาครัฐตัวอยางคอนขางมีความอิสระในการทํางาน กลุมตัวอยางมีความพึงพอใจในงานท่ีทํา และมีความกาวหนาในหนาท่ีการงาน มีการทํางานรวมกันในลักษณะเปนทีม อยางไรก็ตามเห็นวาในการทํางานยังขาดการสื่อสารท่ีดีระหวางกัน ไมไดรับการชี้แนะหรือการบริหารจัดการที่ดีจากองคการเทาท่ีควร รวมท้ัง ยังไมไดรับการจัดสรรงบประมาณและเครื่องมือในการทํางานท่ีเหมาะสมดังนั้น เพ่ือใหการทํางานมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน หนวยงานภาครัฐท่ีเก่ียวของควรพัฒนาดานการบริหารจัดการ การสื่อสารในองคการ การจัดสรรงบประมาณและเครื่องมือในการปฏิบัติงานใหมีความเหมาะสมยิ่งข้ึน

Körner, et al (2014) ทําการศึกษาเรื่อง ความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมองคการ การทํางานเปนทีมและความพึงพอใจของบุคลากรท่ีทํางานท่ีทํางานรวมกันระหวางวิชาชีพ (Interprofessional)ในการศึกษาครั้งนี้ เนนการศึกษาประสิทธิภาพการทํางานเปนทีมโดยใช IPO model (Input-Process-Output) โดยกําหนดใหปจจัยนําเขาคือ วัฒนธรรมองคการ การทํางานเปนทีมระหวางวิชาชีพคือ กระบวนการ และผลลัพธคือ ความพึงพอใจในงาน เก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางบุคลากรในสถานพยาบาลเพื่อการฟกฟนจํานวน 272 ราย ในประเทศเยอรมณี วิเคราะหขอมูลโดยใชสมการโครงการ (Structural Equation Modeling: SEM) โดยโปรแกรมทางคณิตศาสตรAMOS version 20.0 วิเคราะหขอมูลดวยวิธี Maximum-likelihood ผลการศึกษาพบวา วัฒนธรรมองคการและการทํางานเปนทีม เปนปจจัยท่ีสามารถทํานายความพึงพอใจในการทํางานได นอกจากนี้ยังพบวา วัฒนธรรมองคการเปนปจจัยท่ีสงผลใหการทํางานเปนทีมประสบความสําเร็จได