สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents)...

8
1 SAFET Y LIFE ตอไปนี้ขอเสนอคําจํากัดความและสาระ สําคัญเกี่ยวกับโฟมดับไฟ (Firefighting Foams) ซึ่งเปนความรูพื้นฐานของสารดับเพลิงชนิดนีโฟม (Foam) หมายถึง โฟมใชดับเพลิง เปนฟองอากาศขนาดเล็ก มีความคงทน ไมสลาย ตัวงาย ความหนาแนนนอยกวาน้ํามันหลอลื่น น้ํามันเชื้อเพลิงหรือน้ํา โฟมเกิดจากสวนผสม ของน้ํายาโฟม (อัตราสวนผสมโฟม) น้ํา และ อากาศ โดยน้ํายาโฟมกับน้ําผสมกันแลวจะได สวนผสมโฟมหรือโฟมละลายน้ําเปนของเหลว และเมื่อเติมอากาศเขาไป สวนผสมโฟมจะเปน ฟองเหมือนลูกโปงเล็กๆ อัดแนนรวมตัวกัน ใช คลุมพื้นที่เพลิงไหมตอเนื่องเปนบริเวณกวาง ลักษณะเปนผาหมคลุมไฟเพื่อไมใหลุกลามและ ดับลงไปในที่สุด โฟมละลายน้ํา (Foam Solution) คือ ของเหลวซึ่งเกิดจากการผสมน้ํายาโฟมกับน้ําใน อัตราสวนที่ถูกตอง จะเรียกวา “สวนผสมโฟม กับน้ํา” ก็ไมผิดความหมาย อัตราสวนผสมโฟม (Foam Concentrate) น้ํายาโฟมที่ผูผลิตขายใหผูใชนําไปผสมน้ําเพื่อ สรางสวนผสมสําหรับใชดับไฟ โดยผูผลิตจะ กําหนดอัตราสวนผสมไวเพื่อบอกวาน้ํายาโฟมนั้น ตองผสมน้ําในอัตราเทาใดจึงจะไดสวนผสมโฟม ที่มีคุณภาพ เชน น้ํายาโฟมอัตราสวนผสมโฟม 3% หมายถึงน้ํายาโฟมที่ตองผสมน้ําในอัตรา 3: 97 (น้ํายาโฟม 3 สวน ผสมน้ํา 97 สวน ไดสวน ผสม 100 สวน) หรืออัตราสวนโฟม 6% จะตอง ใชน้ํายาโฟม 6 สวน ผสมน้ํา 94 สวนเพื่อสราง สวนผสมโฟม 100 สวนสําหรับใชดับไฟ) ฯลฯ โฟมผสมเสร็จ (Finished Foam) สวนผสม โฟมกับน้ําที่ไดรับการเติมอากาศแลวปลอยออก จากหัวฉีดหรือชองปลอยโฟม อัตราการระบายน้ํา (Drainage Rate) อัตราการสูญเสียน้ําของฟองโฟม หรือระยะเวลา ที่น้ําปริมาณ 25% ระบายออกมาจากฟองโฟม โฟมที่มีอัตราการระบายน้ําเร็ว (ระยะระบายน้ํา สั้น) โฟมจะเบาและเคลื่อนที่บนผิวเชื้อเพลิงเร็ว สวนโฟมที่มีอัตราการระบายน้ําชา (ระยะระบาย น้ํายาว) โฟมจะหนักและเคลื่อนที่บนผิวหนา เชื้อเพลิงชา อัตราการขยายตัว (Expansion Rate) น้ํายาโฟมเมื่อผสมกับน้ําและเติมอากาศแลวจะ ไดฟองโฟม (โฟมผสมเสร็จ) มีปริมาตรเปนกี่เทา ของปริมาณน้ํายาโฟมที่ใช นั่นคือ อัตราการ ขยายตัวของโฟม ตัวอยาง โฟมอัตราการขยาย ตัว 5: 1 เมื่อใชน้ํายาโฟม 1 แกลลอนผสมน้ํา และอากาศจะไดปริมาณโฟมผสมเสร็จบรรจุเต็ม ถัง 5 แกลลอน ทั้งนี้ มีการแบงโฟมตามอัตรา การขยายตัวออกเปน 3 ชนิด ดังตอไปนีโฟมอัตราขยายตัวต่ํา (Low Expansion Rate) เปนโฟมที่มีอัตราการขยายตัวระหวาง 2:1 ถึง 20:1 โฟมอัตราขยายตัวปานกลาง (Medium www.safetylifethailand.com

Transcript of สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents)...

Page 1: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

1SAFET Y LIFE

ตอไปนีข้อเสนอคําจํากัดความและสาระสาํคัญเกีย่วกบัโฟมดับไฟ (Firefighting Foams)ซึง่เปนความรูพืน้ฐานของสารดับเพลิงชนิดนี้

โฟม (Foam) หมายถึง โฟมใชดับเพลิงเปนฟองอากาศขนาดเล็ก มีความคงทน ไมสลายตัวงาย ความหนาแนนนอยกวาน้ํามันหลอล่ืนน้ํามันเชื้อเพลิงหรือน้ํา โฟมเกิดจากสวนผสมของน้ํายาโฟม (อัตราสวนผสมโฟม) น้ํา และอากาศ โดยน้ํายาโฟมกับน้ําผสมกันแลวจะไดสวนผสมโฟมหรือโฟมละลายน้ําเปนของเหลวและเม่ือเติมอากาศเขาไป สวนผสมโฟมจะเปนฟองเหมือนลูกโปงเล็กๆ อัดแนนรวมตัวกัน ใชคลุมพื้นท่ีเพลิงไหมตอเนื่องเปนบริเวณกวางลักษณะเปนผาหมคลุมไฟเพือ่ไมใหลุกลามและดับลงไปในท่ีสุด

โฟมละลายน้ํา (Foam Solution) คือของเหลวซึง่เกดิจากการผสมน้าํยาโฟมกบัน้าํในอัตราสวนท่ีถูกตอง จะเรียกวา “สวนผสมโฟม

กับน้ํา” ก็ไมผิดความหมายอตัราสวนผสมโฟม (Foam Concentrate)

น้ํายาโฟมท่ีผูผลิตขายใหผูใชนําไปผสมน้ําเพื่อสรางสวนผสมสําหรับใชดับไฟ โดยผูผลิตจะกาํหนดอัตราสวนผสมไวเพือ่บอกวาน้าํยาโฟมนัน้ตองผสมน้าํในอัตราเทาใดจงึจะไดสวนผสมโฟมท่ีมีคุณภาพ เชน น้ํายาโฟมอัตราสวนผสมโฟม3% หมายถงึน้าํยาโฟมท่ีตองผสมน้าํในอัตรา 3:97 (น้าํยาโฟม 3 สวน ผสมน้าํ 97 สวน ไดสวนผสม 100 สวน) หรืออัตราสวนโฟม 6% จะตองใชน้ํายาโฟม 6 สวน ผสมน้ํา 94 สวนเพื่อสรางสวนผสมโฟม 100 สวนสําหรับใชดับไฟ) ฯลฯ

โฟมผสมเสรจ็ (Finished Foam) สวนผสมโฟมกบัน้าํท่ีไดรับการเติมอากาศแลวปลอยออกจากหัวฉีดหรือชองปลอยโฟม

อัตราการระบายน้ํา (Drainage Rate)อัตราการสญูเสยีน้าํของฟองโฟม หรือระยะเวลาท่ีน้ําปริมาณ 25% ระบายออกมาจากฟองโฟม

โฟมท่ีมีอัตราการระบายน้าํเร็ว (ระยะระบายน้าํสัน้) โฟมจะเบาและเคล่ือนท่ีบนผวิเชือ้เพลิงเร็วสวนโฟมท่ีมีอัตราการระบายน้าํชา (ระยะระบายน้ํายาว) โฟมจะหนักและเคล่ือนท่ีบนผิวหนาเชื้อเพลิงชา

อัตราการขยายตัว (Expansion Rate)น้าํยาโฟมเม่ือผสมกบัน้าํและเติมอากาศแลวจะไดฟองโฟม (โฟมผสมเสร็จ) มีปริมาตรเปนกีเ่ทาของปริมาณน้ํายาโฟมท่ีใช นั่นคือ อัตราการขยายตัวของโฟม ตัวอยาง โฟมอัตราการขยายตัว 5: 1 เม่ือใชน้ํายาโฟม 1 แกลลอนผสมน้ําและอากาศจะไดปริมาณโฟมผสมเสร็จบรรจเุต็มถัง 5 แกลลอน ท้ังนี้ มีการแบงโฟมตามอัตราการขยายตัวออกเปน 3 ชนิด ดังตอไปนี้

โฟมอตัราขยายตวัต่าํ (Low ExpansionRate) เปนโฟมท่ีมีอัตราการขยายตัวระหวาง2:1 ถงึ 20:1

โฟมอตัราขยายตวัปานกลาง (Medium

www.safetylifethailand.com

Page 2: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

2SAFET Y LIFE

Expansion Rate) เปนโฟมท่ีมีอัตราการขยายตัวระหวาง 20:1 ถงึ 200:1

โฟมอตัราขยายตวัสงู (Medium Expan-sion Rate) เปนโฟมท่ีมีอัตราการขยายตัวมากกวา 200:1

อตัราการละลายน้าํ อตัราการผสม หรอือตัราสวนน้าํยาโฟมสําหรบัผสมน้าํ (DilutionRate, Mixing Rate or Proportioning Rate) มีความหมายเหมือนกันคือ อัตราสวนผสมโฟมท่ีใชสรางสวนผสมโฟม (โฟมละลายน้าํ) แสดงไวบนถงับรรจ ุเชน หากตัวเลขอัตราสวนผสมโฟมขางถงัเขียนวา 3% หมายความวา ในทุกๆ 100แกลลอนของสวนผสมโฟม จะตองใชน้ํายาโฟม3 แกลลอน ผสมกับน้ํา 97 แกลลอน (หากตองการสวนผสมโฟม 1000 แกลลอน ใชน้าํยาโฟม 30 แกลลอน ใชน้ํา 970 แกลลอน)

ใชน้าํเคม็แทนได (Seawater Compatible)น้าํยาโฟมบางชนิดสามารถผสมกบักบัน้าํไดท้ังน้าํจืด น้าํเค็ม หรือน้ํากรอย โดยไมมีผลกระทบใดๆ ตอคุณภาพสวนผสมโฟม

การแบงชนดิโฟมตามประเภทเช้ือเพลงิ(Class of Foam) ผูผลิตหลายรายแบงชนิดผลิตภัณฑน้าํยาโฟมของตัวเองตามประเภทของเชือ้เพลิงท่ีสามารถดับได โดยท่ัวไปมี 2 ชนดิคือClass A Foam และ Class B Foam

ความรอนไดมากข้ึน เพียงผสมโฟม Class Aลงไปในน้าํท่ีใชดับไฟสามารถเพิม่ประสทิธภิาพน้ําใหสูงข้ึน 5 เทา

โฟม Class A โดยท่ัวไปผสมน้ําในอัตราสวนต้ังแต 0.1% จนถึง 1.0% [ตัวอยาง โฟม0.1 ลิตร ผสมน้ํา 99.9 ลิตร ไดสวนผสมโฟม100 ลิตร (โฟม 1 ลิตร ผสมน้ํา 999 ลิตรไดสวนผสมโฟม 1,000 ลิตร) จนถงึโฟม 1.0 ลิตร

มีฟอง และกําจดัไขมันงายข้ึน ซึง่น้ํายาลางจานอาจทําใหน้ํามีฟองลักษณะเหมือนโฟม แตไมสามารถทําใหมีคุณสมบติัเหมือนโฟมโดยเฉพาะคุณสมบัติในการดับไฟ

Class B Foam ผลิตออกมาเพื่อใชดับไฟClass B ไดแกของเหลวไวไฟ มีอยูดวยกนัหลายชนดิ ซึง่แตละชนดิมีวิธกีารใชงานแตกตางกนัไปรวมท้ังชนิดพิเศษท่ีใชกับระบบตืดต้ังประจําท่ีในบริเวณท่ีทราบแลววาอันตรายคืออะไร

เนื่องจากของเหลวไวไฟชนิดตางๆ มีปฏิกิริยาตอฟองโฟมไมเหมือนกัน โฟมชนิด

Class A Foam โฟมใชดับไฟท่ีเกิดจากเชื้อเพลิง Class A เชน ไม กระดาษ ยาง เสื้อผาเปนสารดับเพลิงชนิดสลายตัวทางชีวภาพ เม่ือผสมน้ําในอัตราสวนท่ีถกูตองจะใหฟองโฟมท่ีมีลักษณะของสารดับเพลิงเปยก (Wetting Agent)โดยจะเปล่ียนแปลงคุณสมบติัของน้าํใน 2 ลักษณะนั่นคือ ทําใหเชื้อเพลิงเปยกซึ่งน้ําจะซึมทะลุเขาไปในเนื้อเชื้อเพลิง Class A ได และทําใหความตึงผวิของน้าํลดลง มีความออนตัว และยดึติดผวิหนาเชื้อเพลิงท้ังในแนวราบและแนวด่ิงโดยไมไหลลงมา โดยรวมแลวน้าํในสวนผสมโฟมดูดซบั

ผสมน้ํา 99 ลิตร ไดสวนผสมโฟม 100 ลิตร]สามารถผสมน้ําไดท้ังแบบผสมในถัง แบบทอดูดทางกล หรือระบบฉีดผสมโฟมอิเล็กทรอนกิสซึ่งแบบอิเล็กทรอนิกสใหความแมนยําในเร่ืองของอัตราสวนผสมกบัน้าํ แตแบบทอดูดทางกลนิยมใชมากท่ีสุด

มีคนกลาว หากเติมน้ํายาลางจานลงไปในน้าํเล็กนอยจะไดสิง่ท่ีเหมือนโฟม Class A ซึง่เปนเร่ืองไมจริง เพราะโฟมดับเพลิงมีโครงสรางทางเคมีซบัซอนกวาน้าํยาลางจานธรรมดา ถกูละนํายาลางจานทําใหน้าํเปล่ียนแปลงไป เชน ล่ืน

Page 3: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

3SAFET Y LIFE

เดียวกัน เม่ือใชกับไฟเกิดจากเหลวไวไฟชนิดหนึ่งไดผลแตอาจไมไดผลกับของเหลวไวไฟอีกชนิดหนึ่ งเนื่องจากสวนผสมทางเคมีตางกันรวมท้ังรูปแบบการใชงาน โฟมท่ีใชกับระบบติดต้ังประจําท่ีแลวใหประสิทธิภาพสูง ในบางกรณอีาจไมเหมาะสมสาํหรับใชงานในรูปแบบอ่ืน

ดวยเหตุผลดังกลาว หนวยดับเพลิงท่ัวไปตองเตรียมโฟมชนิดท่ีสามารถดับไฟท่ีเกิดจากของเหลวไวไฟหลายชนดิท่ีเผชญิเหตุเปนประจาํสวนใหญพวกเขาเลือกใชโฟม AR-FFF (AlcoholResistant, Aqueous Film Forming Foam) ซึ่งก็คือโฟมสรางชั้นฟลมน้ําตอตานแอลกอฮอลเปนโฟมเอนกประสงค ใชงานไดหลากหลายโฟม ชนิดนี้สามารถใชอัตราสวนผสมตํ่า (3%)ผสมน้าํเพือ่ดับไฟเกดิจากน้าํมันเชือ้เพลิง และใชอัตราสวนผสมท่ีสงูกวา (6%) ผสมน้าํเพือ่ดับไฟเกิดจากสารละลายชนิดมีข้ัว (Polar Solvents)เชน แอลกอฮอล (สารไวไฟ Polar Solvents คือสารท่ีผสมน้าํมาแลว ทําใหฟองโฟมท่ีไมใชชนดิตอตานแอลกอฮอลสลายตัวไปอยางรวดเร็ว)

โฟมสรางฟลมน้าํ (AFFF; Aqueous FilmForming Concentrate) อัตราสวนสม 1%, 3%หรือ 6% มีท้ังชนดิผลิตจากวัตถสุงัเคราะห เชนสารสรางโฟมสังเคราะห (Synthetic FoamingAgents) สารลดความตึงผิวของน้ําประเภทไฮโดรคารบอน (hydrocarbon Surfactants) สารทําละลาย (Solvents) เชน สารเพิ่มความหนืดสารตอตานการเยือกแข็ง สารเพิ่มฟองโฟม(Viscosity Leveler, Freezing-point Depressant,Foam Booster) สารเคมีลดความตึงผิวของน้ํากลุมฟลูออโร (Fluoro Chemical Surfactants)เกลือปริมาณเล็กนอย สารสรางความคงตัวของ

โฟม (Foam Stabilizers) เพื่อใหโฟมระบายน้ําชาลงและเพิ่มความตานทานเปลวไฟ

ฟองโฟมไดจากน้าํยาโฟม AFFF ใชดับไฟเกดิจากของเหลวไวไฟไฮโดรคารบอนในลักษณะเดียวกบัฟองโฟมท่ีไดโฟมโปรตีนและโฟมฟลูออโรโปรตีน แตมีลักษณะพเิศษเพิม่เติมข้ึนมา นัน่คือจะมีฟลมน้ําท่ีเหนียวและยืดหยุนเกิดข้ึนบนผิวหนาของเหลวไวไฟชนดิไฮโดรคารบอนซึง่ทําใหโฟม AFFF มีคุณสมบัติโดดเดนมากในดานการควบคุมเพลิงไหมและลมเปลวไฟอยางรวดเร็วเม่ือ

ชนืดไมมีรูอากาศ (Non-aspirating DischargeDevices) ความแตกตางของอุปกรณ 2 ชนดิคือชนดิมีรูอากาศสามารถดึงอากาศภายนอกเขามาผสมกับสวนผสมโฟมกับน้ําภายในตัวอุปกรณสวนชนิดไมมีรูอากาศไมมีลักษณะ ดังกลาว

สวนผสมโฟม AFFF กบัน้ําใชพลังงานตํ่าในการทําใหสวนผสมท่ีเปนของเหลวขยายตัวเปนฟองโฟม แตเม่ือกลายเปนฟองโฟม ของเหลวท่ีระบายออกจากฟองโฟมจะมีคาความตึงผวิตํ่าซึง่สามารถสรางชั้นฟลมลอยบนผิวหนาเชื้อเพลิง

ใชดับไฟเกิดจากการหก ลน ร่ัวไหลของน้ํามันเชื้อเพลิงชนดิไฮโดรคารบอน

ในสถานการณเพลิงไหม เปนเร่ืองเปนไปไมไดท่ีจะสงัเกตเพลิงไหมกาํลังถกูดับดวยชัน้ฟลมฟองโฟมท่ีมองไมเห็นกอนฟองโฟมจะคลุมผิวหนาเชื้อเพลิงท้ังหมด แตในความเปนจริงโฟมกาํลังทําหนาท่ีของตัวเองอยางสมบรูณแบบสวนผสมโฟม AFFF กบัน้าํสามารถใชดับไฟเกิดจากของเหลวไวไฟไดดวยอุปกรณฉีดโฟมท้ังชนดิมีรูอากาศ (Aspirating Discharge Devices และ

Page 4: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

4SAFET Y LIFE

เม่ือใชอัตราไหลและความดันเทากันสวนผสมโฟม AFFF กบัน้ํา ฉีดดวยอุปกรณชนิดไมมีรูอากาศจะสามารถฉีดไดระยะไกลกวาฉีดดวยอุปกรณชนิดมีรูอากาศ โฟมท่ีฉีดออกจากอุปกรณไมมีรูอากาศโดยท่ัวไปจะดับไฟเกดิจากของเหลวความดันไอตํ่าท่ีหกร่ัวไหลไดเร็วกวาโฟมท่ีฉีดจากอุปกรณมีรูอากาศเล็กนอยเนื่องจากหัวฉีดไมมีรูอากาศใหโฟมท่ีอัตราขยายตัวตํ่ากวาซึ่งมีน้ําในฟองโฟมปริมาณมากกวาจึงเคล่ือนท่ีบนผิวหนาเชื้อเพลิงไดเร็วกวา

เม่ือใชโฟม AFFF เทคนิคการใชงานไมยุงยากเหมือนกับการใชโฟมโปรตีนหรือโฟมฟลูออโรโปรตีน โฟม AFFF สามารถใชวิธฉีีดจากใตพืน้ (Sub-surface Injection) กไ็ดเชนกนั แตวิธดัีงกลาวตองใชกับถังบรรจุเชือ้เพลิงประเภทไฮโดรคารบอนมาตรฐาน หามใชกับถังบรรจุเชื้อเพลิงประเภทสารละลาย/แอลกอฮอล

อัตราสวนผสมในการใชงานของโฟมAFFF ท่ีผูผลิตแนะนําคือ 3%-6% สําหรับผสมน้าํเพือ่สรางโฟมละลายน้าํใชดับไฟเกดิจากการร่ัวไหลของเชื้อเพลิงไฮโดรคารบอนดวยอัตราการละลายน้ําตํ่าท่ี 0.10 แกลลอน/นาที/ตารางฟุต (gpm/sq.ft.) ในขณะท่ีโฟมโปรตีนและโฟมฟลูออโรโปรตีนมีอัตราการละลายน้าํท่ี0.16 แกลลอน/นาที/ตารางฟุต (gpm/sq.ft.)

โฟม AFFF เหมาะสาํหรับใชงานในลักษณะโฟมท่ีผสมไวแลวลวงหนาและใชงานรวมกบัสารดับเพลิงประเภทผงเคมีแหง ในคลังน้ํามันขนาดใหญมีการใชผงเคมีแหงกบัโฟมพรอมกนัเพือ่ดับไฟเกดิจากการหก ลน ร่ัวไหลของน้าํมันเชื้อเพลิง (Oil Spill Fire)

โฟมสรางฟลมน้าํตานทานแอลกอฮอล(AR-AFFF; Alcohol Resistant-Aqueous FilmForming Foam) โฟม AR-AFFF มีจําหนายในอัตราสวนผสม 3%/6% และ 3%/3% ดวยเหตุผล เพลิงไหมเกิดจากของเหลวไวไฟท่ีผสมน้ํามาแลวดับยากกวาเพลิงไหมเกิดจากเชื้อเพลิงไฮโดรคารบอน ตัวอยาง เพลิงไหมเกิดจากของเหลวไวไฟประเภทสารทําละลาย/แอลกอฮอลซึ่งมีฤทธิ์ทําลายโฟม AFFF มาตรฐานหรือโฟมฟลูออโร โปรตีน โดยน้าํในสวนผสมโฟมจะรวมกับแอลกอฮอลเนื่องจากแอลกอฮอลผสมน้าํไดตลอดเวลา ผลท่ีตามมา น้ําในฟองโฟมหายไปฟองโฟมยบุตัวลงและสลายตัว ผวิหนาเชือ้เพลิงท่ีเคยถกูโฟมคลุมไวกจ็ะโผลข้ึนมาสมัผสัอากาศและความรอนอีกคร้ังเกิดการลุกติดข้ึนมาใหมและลุกลามตอไป เพื่อแกปญหานี้จึงไดมีการผลิตโฟม AR-AFFF มาใชงานแทน วิธกีารคือ ใชโฟม AFFF ธรรมดาเปนพื้นฐานแลวเติมสารโพลเีมอรโมเลกุลหนักลงไประหวางกระบวนการผลติ

เม่ือใชโฟม AR-AFFF ดับไฟท่ีเกิดจากเชื้อเพลิงประเภทสารทําละลายมีข้ัว (PolarSolvent) สารเชือ้เพลิงดังกลาวนีจ้ะพยายามดูด

ซับน้ําจากฟองโฟม แตสารโพลีเมอรในโฟมจะเรงสรางเยื่อกั้นระหวางผิวหนาเชื้อเพลิงกับฟองโฟม โดยเยือ่กัน้จะปองกนัไมใหฟองโฟมถกูสารเชื้อเพลิงประเภทแอลกอฮอลทําลาย

อัตราสวนผสมโฟมหรือน้ํายาโฟม AR-AFFF เขมขนและหนดืมาก เม่ือใชงานโฟมชนดินี้คร้ังแรกอาจทําใหบางคนไมเชือ่วาเปนน้าํยาโฟมเหมือนกับเจลเหนียวๆ มากกวา และคงใชงานไดไมดี แตจริงๆ แลว เปนธรรมดาท่ีโฟมชนิดนี้จะขนและมีลักษณะเหมือนเจล นัน่เพราะมีสารโพลีเมอรซึ่งเปนสวนผสมหลักสําหรับใชดับไฟเกดิจากสารทําละลายมีข้ัวชนดิตางๆ น้าํยาโฟมAR-AFFF สมัยใหมออกแบบมาเพื่อใชงานกับเคร่ืองผสมโฟม เชน ตัวดูดผสมในทอ (In-lineEductors) ถงุบรรจโุฟมในถงั (Bladder Tanks)ระบบผสมดวยความดันเคร่ืองสูบน้ําสมดุล(Balanced Pressure Pump Systems)

โฟม AR-AFFF อัตราสวนผสม 3%/6%ออกแบบมาเพือ่ใหใชอัตราสวน 3% สาํหรับดับไฟเกดิจากสารไฮโดรคารบอนมาตรฐานท่ัวไป ขณะท่ีอัตราสวน 6% ใชดับไฟเกดิจากสารทําละลายมีข้ัว/แอลกอฮอล สําหรับโฟมอัตราสวนผสม3%/3% ใหใชอัตราสวนผสม 3% ท้ังการดับไฟเกดิจากเชือ้เพลิงไฮโดรคารบอนและเชือ้เพลิงสารทําละลายมีข้ัว/แอลกอฮอล

เม่ือใชโฟม AR-AFFF ในอัตราสวนถกูตองผสมนํ้าแลวนําไปดับไฟเกิดจากสารไฮโดรคารบอนประสิทธิภาพดับไฟท่ีไดจะเทียบเทากับการใชโฟม AFFF มาตรฐาน ฟลมท่ีมองไมเห็นจะกอตัวข้ึน ความเร็วในการเคล่ือนตัวเพื่อคลุมผิวหนาเชื้อเพลิงไมตางกัน ไมวาจะใชหัวฉีดมีรูอากาศ

Page 5: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

5SAFET Y LIFE

หรือไมมีรูอากาศ แตการใชหัวฉีดมีรูอากาศจะมีประสทิธภิาพกวาเพราะสามารถฉีดฟองโฟมลงบนผวิหนาเชือ้เพลิงประเภทแอลกอฮอลไดอยางนิม่นวลกวา จากนัน้ฟองโฟมจะคอยๆ เคล่ือนท่ีครอบคลุมผวิหนาเชือ้เพลิงอยางชาๆ และท่ัวถงึอีกท้ังไมทําใหผิวหนาเชื้อเพลิงกระฉอกจนเกิดการลุกลามอีกดวย ในกรณีเกดิเพลิงไหมขนาดใหญและตองฉีดโฟมจากระยะไกล อัตราการใชโฟม (Application Rate) จะเปนตัวแปรสําคัญในการพจิารณาใชชนดิหัวฉีดและวิธดัีบไฟ ท้ังนี้เทคนคิการใชโฟมและตัวแปรดานประสทิธภิาพของการใชอัตราสวนผสม 3% ของโฟม AR-AFFFจะเหมือนกันไมวาจะเปนชนิดอัตราสวนผสม3%/6% หรือ 3%/3%

โฟมสงัเคราะห/สารสรางฟอง (อัตราการขยายตวัสงู) [Synthetic/Detergent (HighExpansion) Foam Concentrate] โดยปกติ น้าํยาโฟมชนดินีจ้ะใชอัตราสวนผสม 1.5% ถงึ 2.5%ผลิตจากการผสมสารลดความตึงผิวประเภทไฮโดรคารบอนกับสารทําละลาย สวนผสมโฟมอัตราการขยายตัวสูงกับน้ําจะใชงานกับเคร่ืองกาํเนดิโฟมขายตัวปานกลางหรือขยายตัวสงู ข้ึนอยูกบัความตองการจะนาํไปใชงานในพืน้ท่ีปองกนัหรือระงับเพลิงไหมในพื้นท่ีลักษณะพิเศษ เชนหองใตดิน อุโมงคเหมืองแร หองบรรทุกสินคาบนเรือ ฯลฯ ซึง่เม่ือตองการควบคุมเพลิงไหมใหอยูเฉพาะในพื้นท่ี จึงปลอยโฟมอัตราการขยายตัวสงูท่ีมีฟองน้าํหนกัเบาในปริมาณมากเติมเขาไปจนเต็มพื้นท่ี

โฟมอัตราขยายตัวสูงจะมีอัตราขยายตัว400: 1 จนถงึ 1,000: 1 ข้ึนอยูกบัอุปกรณผลิตฟองโฟมหรือเคร่ืองกําเนิดฟองโฟท่ีใช

โฟมอัตราขยายตัวจะดับไฟดวยวิธทํีาใหอุณหภูมิเยน็ลงและทําใหเปลวไฟมอด สามารถดับไดท้ังไฟท่ีเกดิจากเชือ้เพลิงชนดิของแข็งและเชื้อเพลิงชนิดของเหลวไวไฟ นอกจากนี้ โฟมอัตราการขยายตัวสงูยงัใชควบคุมการร่ัวไหลของแกสธรรมชาติเหลว (LNG) ไดดี ชั้นท่ีอยูลึกไปของโฟมอัตราการขยายตัว 500:1 ทําหนาท่ี

เปนฉนวนกัน้ความรอนรอบบริเวณท่ีแกส LNGร่ัวไหลจงึลดความรอนท่ีสงเขามา สงผลใหอัตราการกล่ันตัวเปนไอของแกสนอยลง และเนือ่งจากโฟมอัตราขยายตัวสูงมีน้ําท่ีผนังฟองโฟมนอยมีน้าํหนกัเบาและฟุงกระจายจึงไมเหมาะสมกบัการใชงานกลางแจง สาํหรับโฟมอัตราการขยายตัวปานกลาง 50:1-60:1 โฟมมีความหนาแนน

และมีน้าํท่ีผนงัฟองโฟมมากกวา สามารถนาํไปใชงานกลางแจงได แตยังไดรับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศ

โฟมไฟ A (Class A Foam Concentrate)เปนสารผสมชนิดสลายตัวทางชีวภาพจากสารสรางฟองและสารดับเพลิงเปยก เม่ือนาํไปผสมกับน้ําในอัตราสวนท่ีถูกตองจะทําใหคุณสมบัติของน้ําเกิดการเปล่ียนแปลง 2 ประการ ไดแก1) เพิ่มประสิทธิภาพการทําใหเชื้อเพลิงเปยกน้ําซึมทะลุเชื้อเพลิงประเภท A ไดดีและลึกข้ึน

Class A Foam

Page 6: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

6SAFET Y LIFE

2) เพิ่มคุณสมบัติความเปนโฟมของน้ํา ทําใหน้ํายึดติดกับผิวหนาเชื้อเพลิงไดท้ังแนวด่ิงและแนวราบโดยไมไหลลนออกมา น้ําจึงดูดซับความรอนไดมากข้ึน กลาวกนัวา เพยีงเติมน้าํยาโฟมไฟ A เพียงเล็กนอยลงไปในน้ํา น้ําจะมีประสิทธิภาพดับไฟเพิ่มข้ึนถึง 5 เทาสารดับเพลิงเปยก (Wetting Agent) มีลักษณะคลายกบัโฟมไฟ A โดยเฉพาะคุณสมบติัเพิม่ประสิทธภิาพดับไฟของน้าํ แตสารดับเพลิงเปยกไมใชโฟมและเม่ือเติมลงไปในน้ําแลวจะไมทําใหเกิดฟองโฟม

โฟมฟลูออโรโปรตีน (FluoroproteinFoam Concentrate) มีท้ังชนิดอัตราสวนผสม3% และ 6% ใชกรรมวิธีเดียวกับการผลิตโฟมโปรตีนเพียงแตเติมสารลดความตึงผิวประเภทฟลูออโรคารบอน (Fluorocarbon Surfactants)ลงไป โดยสารท่ีเพิ่มลงไปในโฟมโปรตีนทําใหประสทิธภิาพของโฟมฟลูออโรโปรตีนเหนอืกวาโฟมโปรตีนธรรมดาในสองดาน ไดแก 1) โฟมฟลูออโรโปรตีนสามารถตานทานการผสม/การปนเปอนของเชื้อเพลิง ทําใหโฟมไหลล่ืนไปบนผวิหนาเชือ้เพลิงไดดีหลังจากฉีดลงไปบนของเหลวไวไฟ และ 2) เนื่องจากโฟมฟลูออโรโปรตีน

ถงักจ็ะลอยตัวข้ึนมาผานชัน้ตางๆ ของเชือ้เพลิงจนถงัผวิหนาแลวแผคลุมพืน้ท่ีดานบนสดุท้ังหมด

ในบางกรณี โฟมฟลูออโรโปรตีนใชในอุตสาหกรรมผลิตเชือ้เพลิงไฮโดรคารบอน โดยนําไปดับไฟถังเก็บเชื้อเพลิง ดวยเหตุท่ีจําเปนตองใชกบัอุปกรณฉีดโฟมชนดิมีรูอากาศ ผูผลิตจงึแนะนาํอัตราการใชงานของสวนผสมโฟมกบัน้าํสาํหรับฉีดคลุมเชือ้เพลิงไฮโดรคารบอนซึง่หก

ลน ร่ัวไหลท่ี 0.16 แกลลอน/นาที/ตารางฟุตโฟมฟลูออโร-โปรตีนสรางช้ันฟลม

(FFFP; Film Forming Fluoro-Protein) โฟมชนดินี้พัฒนาจากโฟม AFFF และโฟมฟลูออโร โปรตีนโดยใชโฟมฟลูออโรโปรตีนเปนพืน้ฐานแลวเพิม่สาร ลดความตึงผวิของน้าํ “ฟลอูอโรคารบอน”เขาไป โฟม FFFP ไดรับการเสริมประสทิธภิาพใหลมเปลวไฟไดเร็วเหมือนโฟม AFFF แตปกคลุมเชือ้เพลิงเหนยีวแนนปองกนัการลุกติดไฟข้ึนมาใหมเหมือนโฟมฟลูออโรโปรตีน นั่นคือ โฟมFFFP รวมเอาประสิทธิภาพของโฟม AFFF และโฟมฟลูออโรโปรตีนมาอยูดวยกนั ยกเวนในบางสถานการณ เชน โฟม FFFP จะไมมีคุณสมบติัลมเปลวไฟของโฟม AFFF เม่ือดับไฟเกดิจากน้าํมันเชือ้เพลิงหกหรือร่ัวไหลในกรณเีคร่ืองบนิตกหรือรถขนสงน้ํามันนพลิกควํ่าบนถนนหลวง และเม่ือใชกับไฟท่ีไหมลึกลงไปใตผิวหนาเชื้อเพลิงจะไมมีคุณสมบติัปองกนัการลุกติดข้ึนมาใหมของโฟมฟลูออโรโปรตีน

โฟม FFFP สามารถใชงานไดกบัหัวฉีดท้ังชนดิมีรูอากาศและชนิดไมมีรูอากาศ เม่ือใชกับหัวฉีดชนดิไมมีรูอากาศจะไมไดอัตราขยายตัวดีเทาโฟม AFFF ท่ีใชกับหัวฉีดชนิดเดียวกัน ท้ังนี้เม่ือใชโฟม FFFP ดับไฟท่ีเกิดจากสารเชื้อเพลิงไฮโดรคารบอน หก ร่ัวไหล อัตราการใชงานคือ0.10 แกลลอน/นาที/ตารางฟตุ

โฟมโปรตนี (Protein Foam Concentrate)มีใชงานท่ีอัตราสวนผสม 3% หรือ 6% เปนโฟมไดมาจากการยอยสลายของโปรตีน สารรกษาสภาพ และวัตถกุนัเสียซึง่ใหผลิตภัณฑท่ีมีความคงตัวและมีฟองโฟมหนาแนน แตจะตองใชกับ

ตอตานการปนเปอนจากเชื้อเพลิงจึงสามารถฉีดลงไปท่ีผวิหนาเชือ้เพลิงโดยตรงซึง่โฟมจะไมถกูไอสารเชือ้เพลิงเขาแทนท่ีจนโฟมเสือ่มสภาพ

โฟมชนดินีส้ามารถใชงานไดกบัเคร่ืองผลิตโฟมแบบแรงดันสูงสะทอนกลับและฉีดโฟมลงไปใตผิวหนาเชื้อเพลิงเพื่อใหโฟมกระจายไปถึงพื้นลางสุดของถังเก็บเชื้อเพลิงไฮโดรคารบอนแบบฝาปดรูปกรวย เม่ือโฟมถึงฐานลางสุดของ

Protein Foam

Page 7: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

7SAFET Y LIFE

อุปกรณชนิดมีรูอากาศ และฟองโฟมมีโอกาสไดรับการปนเปอนจากเชื้อเพลิงหากฉีดตรงๆลงไปท่ีผวิหนาเชือ้เพลิง ดังนัน้การใชโฟมโปรตีนตองคํานงึถึงเทคนิคการฉีดเปนสําคัญ โดยตองฉีดโฟมลงไปท่ีผวิหนาเชือ้เพลิงอยางนุมนวลท่ีสดุเทาท่ีจะทําได อัตราการใชงานของสวนผสมโฟมโปรตีนกับน้ําสําหรับดับไฟท่ีเกิดจากเชื้อเพลิงไฮโดรคารบอนท่ีอัตราการละลายน้ําคือ 0.16แกลลอน/นาที/ตารางฟตุ เนือ่งจากโฟมมีความม่ันคงจงึเคล่ือนตัวอยางชาๆ เม่ือฉีดคลุมเชือ่เพลิงท่ีเปนของเหลวไวไฟ

อายุการเก็บโฟม (Shelf Life) หมายถึงระยะเวลาท่ีน้าํยาโฟมยงัมีความคงตัวและสามารถใชงานไดโดยไมมีการเปล่ียนแปลงคุณลักษณะดานประสิทธิภาพอยางเห็นไดชัด อายุการเก็บโฟมข้ึนอยูกับสวนผสมของน้ํายาโฟม อุณหภูมิโดยรอบท่ีจัดเก็บโฟม วัสดุท่ีใชทําท่ีเก็บโฟม(ถังบรรจุน้ํายาโฟม) ในกรณีท่ีโฟมอยูในถังบรรจุท่ีมาจากโรงงานผลิต อายุการเก็บโฟม20-25 ป เปนไปไดสาํหรับโฟม AFFF, AR-AFFFและโฟมสังเคราะหชนิดอ่ืนๆ ท่ีจัดเก็บตามวิธีท่ีผูผลิตแนะนาํ เขมงวดเร่ืองอุณหภูมิจดัเกบ็และบรรจุในถังเดิมท่ีมาจากโรงงานผลิต สําหรับโฟมโปรตีนซึ่งไมใชโฟมสังเคราะห แตเปนโฟมไดจากธรรมชาติตามสูตรของผูผลิต โอกาสจะเนาเสยีหรือเสือ่มสภาพจงึมีสงูกวาโฟมสงัเคราะหแตหากจดัเกบ็ตามคําแนะนาํของผูผลิต ควบคุมอุณหภูมิจัดเก็บใหเปนไปตามท่ีกําหนดไว และบรรจุอยูในถังเดิมท่ีมาจากโรงงานผลิต เปนไปไดท่ีอายุการเก็บจะยาวนานถึง 10 ป

ขอจํากัดในการใชโฟมดบัไฟ (Limitationon the Use of Foam)

เนื่องจากมีสวนผสมของน้ํา โฟมจึงเปนตัวนําไฟฟา

เชนเดียวกับน้ํา โฟมไมเหมาะสมจะ

นาํไปใชดับไฟเกดิจากโลหะติดไฟ (ไฟ Class D) ไมควรนําโฟมไปดับไฟท่ีเกิดจากหรือ

เกีย่วของกบัแกสหรือของเหลวท่ีมีอุณหภูมิตํ่าสดุ เม่ือฉีดโฟมลงไปท่ีของเหลวกําลังลุก

ไหมซึ่งมีอุณหภูมิเกิน 100 ํC (212 ํF) น้ําในสวนผสมโฟมจะกลายเปนฟองกระเซ็นหรือหกลนออกมา

ในการดับไฟตองเตรียมสวนผสมโฟมในปริมาณท่ีพอเพียงสําหรับการใชงานเสมอ

ขอไดเปรยีบของโฟมดบัไฟ (Advantageof Foam)

ใช ฉีดปกคลุมเพลิงไหม ไดอย างมีประสิทธิภาพ และทําใหไฟเย็นลง

ทําหนาท่ีเปนตัวกั้นไอสารเชื้อเพลิงปองกันไมใหไอสารเชื้อเพลิงระเหยข้ึนมา

สามารถใชดับไฟ Class A เนื่องจากมีน้ําอยูในสวนผสมในปริมาณมาก

ใชฉีดคลุมน้ํามันท่ีกลนร่ัวไหล ทําใหสามารถใชน้ําไดอยางประหยัด

และคุมคา เปนสารดับเพลิงท่ีใหประสิทธิภาพ

สูงสดุในการดับไฟถงับรรจขุองเหลวไวไฟ สามารถใชไดกับท้ังน้ําจืด นําเค็ม น้ํา

กระดาง น้ําออน ไมแตกตัวอยางฉับพลัน แตจะดับไฟ

อยางตอเนือ่งตามลําดับข้ันตอน โฟมจะคลุมเพลิงไหมอยางม่ันคงและ

ดูดซบัความรอนจากเชือ้เพลิงซึง่จะไมทําใหเกดิการลุกติดไฟข้ึนมาใหม

สวนผสมโฟมไมหนักและระบบโฟมใชพื้นท่ีไมมากในการติดต้ัง

ขอแนะนําในการใชโฟม (PracticalFoam Issues)

สวนผสมโฟมจะมีความคงตัวเม่ือผสมกับน้ําอุณหภูมิตํ่า (ระหวาง 1.7 ํC-26.7 ํC)

เพื่ อปองกันสารปนเปอนในอากาศเขาไปในระบบโฟม ใหนําอากาศบริสุทธเขาไปในหัวฉีดโฟมตลอดเวลา

แรงดันหัวฉีดโฟม (Nozzle Pressures)ตองอยูในระหวาง 3.4 - 13.8 บาร (50-200ปอนด/ตารางนิว้)

เม่ือมีการหก ลน ร่ัวไหลของของเหลวไวไฟ ใหรีบปองกนัการลุกติดไฟดวยการฉีดโฟมคลุมผิวหนาเชื้อเพลิงท้ังหมดไว

ไมแนะนําใหใชโฟมดับไฟท่ีเกิดจากอุปกรณไฟฟาท่ีมีกระแสไฟฟาเดินอยู

หามใชโฟมดับไฟท่ีเกิดจากวัตถุท่ีมีปฏิกิริยากับน้ํา เชน แม็กนีเซียม ไททาเนียมโปแตสเซียม ฯลฯ

รปูแบบการใชโฟม (Foam Applications)ตามมาตรฐาน NFPA 11 การใชงานโฟม

ม ี 2 รูปแบบ ไดแก ระบบโฟม (Foam System)

Page 8: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

8SAFET Y LIFE

และการฉีดโฟมดวยมือ (Handline)ระบบโฟม (Foam System) หมายถึง

การใชงานโฟมท่ีเปนระบบครบวงจรติดต้ังในพื้นท่ีปกปอง มีอุปกรณจายน้ํายาโฟมและน้ําอุปกรณผสมโฟมและอุปกรณโฟมฉีดโฟม รวมอยูในระบบเดียวกัน บังคับการทํางานอัตโนมัติหรือบังคับดวยมือ พรอมดวยอุปกรณประกอบท่ีสาํคัญ เชน เคร่ืองสบูน้าํ อุปกรณตรวจจบัเพลิงอุปกรณบังคับการทํางาน ฯลฯ ระบบโฟมท่ีใชกันอยูในปจจุบันแบงออกเปนประเภทยอย ดังตอไปนี้

ระบบโฟมอดัอากาศ (CAFS; CompressedAir Foam System) ใชอุปกรณปลอยโฟมดวยแรงดันอากาศท่ีเชือ่มตอกบัหองผสมโฟมโดยตรงเพือ่ฉีดหรือปลอยโฟมลงบนพืน้ท่ีเปาหมาย บงัคับการทํางานดวยระบบตรวจจบัอัตโนมัติหรือบงัคับดวยมือ โฟมจะถกูฉีดออกมาดวยแรงดันอากาศทําใหคลุมผิวหนาเชื้อเพลิงไดอยางรวดเร็วและท่ัวถึง ใชดับไฟเกิดจากของเหลวติดไฟไดและของเหลวไวไฟ แตหามใชดับไฟตอไปนี้

ไฟเกิดจากสารเคมีประเภท เซลลูโลสไนเตรทซึ่งปลอยออกซิเจนหรือสารออกซิไดซ

ออกมาในปริมาณมาก ไฟเกิดจากอุปกรณไฟฟาในพื้นท่ีเปด

ซึ่งมีกระแสไฟฟาเดินอยู ไฟเกิดจากโลหะท่ีมีปฏิกิริยากับน้ํา

เชน โซเดียม โปแตสเซยีม โซเดียมโปแตสเซยีมอัลลอย (NaK)

ไฟเกิดจากวัตถุอันตรายมีปฏิกิริยากบัน้ํา เชน ไทรเอทิล-อะลูมิเนียม ฟอสฟอรัสเพนทอกไซด ฯลฯ และ

ไฟเกิดจากแกสเหลวไวไฟ ระบบตดิตัง้ประจําที ่(Fixed System)

ระบบซึง่โฟมจะไหลไปตามทอจากสถานผีสมโฟมท่ีเปนศูนยกลางไปยงัอุปกรณฉีดหรือปลอยโฟมแลวฉีดสวนผสมโฟมลงไปคลุมพืน้ท่ีปกปองดวยเคร่ืองสูบน้ําติดต้ังถาวรในระบบ

ระบบเคลื่อนที่ (Mobile System) ระบบซึ่ ง อุ ปกรณ ผลิ ตส วนผสมโฟมติ ดต้ั งบนลอเล่ือนท่ีเคล่ือนท่ีไดเองหรือถูกลากจูงดวยพาหนะอ่ืน โดยตองมีสวนเชือ่มตอกบัน้าํสาํรองหรือโฟมท่ีผสมเสร็จแลวสําหรับใชฉีดดับไฟในบริเวณท่ีอยูหางออกไป

ระบบยกหิว้ (Portable System) อุปกรณ ผลิตสวนผสมโฟม น้าํ น้าํยาโฟม สายสบู หัวฉีดท่ีรวมกันเปนระบบฉีดโฟมสามารถยกห้ิวไปยังจดุท่ีตองการใชโฟมได

ระบบก่ึงติดตั้งประจําที่ (SemifixedSystem) เปนระบบหัวฉีดโฟมหรือหัวปลอยโฟมติดต้ังประจาํท่ีสามารถตอเขากบัสายสบูหรือทอซึง่เชือ่มกบัอุปกรณผลิตโฟมท่ีอยูหางออกไปในระยะท่ีปลอดภัยได

การฉีดโฟมดวยมือ (Handline) ประกอบดวยสายสูบและหัวฉีดโฟมท่ีถือไดดวยมือ

หัวฉีดมอนเิตอร (Monitor) เปนหัวฉีดโฟมขนาดใหญ มี 2 ชนิดคือ

หัวฉีดมอนิ เตอรประจําท่ี (Fixed

Monitor) เปนหัวฉีดปน (Cannon) ฉีดโฟมไดในปริมาณมากในแตละคร้ัง ติดต้ังประจําท่ีบนพื้นท่ีรองรับท้ังพื้นราบและพื้นยกระดับ

หัวฉีดโฟมเคล่ือนยายได (PortableMonitor) เปนหัวฉีดปน (Cannon) ฉีดโฟมไดในปริมาณมากในแตละคร้ัง ติดต้ังบนแทนรองรับเคล่ือนท่ีไดหรือลอเล่ือนเดินทางไปยงัจดุเกดิเหตุ

หัวฉีดโฟมมือถือ (Nozzle) ใชฉีดหรือปลอยสวนผสมโฟมไปยังเพลิงไหม มีใชกันอยูหลายชนิด อาทิ

หัวฉีดโฟมหรืออุปกรณปลอยโฟมประจาํท่ี (Foam Nozzle or Fixed Foam Maker)หัวฉีดโฟมออกแบบมาเพือ่ใชตอกบัสายสบูท่ีสงสวนผสมโฟมเขามาสาํหรับฉีดออกไปคลุมเพลิงไหม โดยสวนใหญจะเปนชนิดมีรูอากาศ

หั วฉีดดูดโฟมด วยตัวเอง (Self-Educting Nozzle) เปนหัวฉีดท่ีเชื่อมตอกับอุปกรณผสมโฟมผานทอดูด (Venturi) ชวงสัน้ๆหรือทอยดืหยุนไดสาํหรับใชดูดโฟมสงไปยงัหัวฉีดเพือ่ฉีดโฟมคลุมเพลิงไหม

ตัวปลอยโฟมดวยแรงดันสงู [PressureFoam Maker (High Back Pressure or ForcingType)] ใชหลักการดูดสวนผสมโฟมเขาไปยงัตัวปลอยโฟมชนิดมีรูอากาศผานทอดูด (Venturi)ดวยแรงดันอากาศ

REFERENCE1. NFPA 11; Standard for Low-, Me-

dium-, and High-Expansion Foam 2010Edition

2. Foam Basics; David's Fire Equip-ment, http://www.davidsfire.com/foam_basics.htm

3. Firefighting foam; Wikipedia, thefree encyclopedia, https://en.wikipedia.org/wiki/Firefighting_foam

Fixed Monitor