บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2...

17
รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนินการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถุนายน 2563 บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-1 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ บทที1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาในการจัดทำรายงาน ตามที่สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้มีมติเห็นชอบในรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย ตามหนังสือพิจารณาเห็นชอบที่ ทส 1009.9/10239 ลง วันที26 สิงหาคม 2558 ของบริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด (ต่อไปนี้จะเรียกว่า “ทีทีเอ็ม”) นั้น โครงการ ต้องยึดถือและปฏิบัติตามมาตรการป ้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพ สิ่งแวดล้อมที่เสนอมาอย่างเคร่งครัด รวมทั้งจัดทำรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการฯ และเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทราบทุก 3 เดือน สำหรับโครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซียนี้ ทางจังหวัดสงขลาได้จัดตั้งคณะกรรมการไตรภาคีฯ ของ โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย เพื่อเป็นกลไกในการกำกับดูแลและควบคุมการดำเนินโครงการให้เป็นไปตาม มาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และในการประชุมคณะกรรมการไตรภาคีฯ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2551 ได้มีมติเห็นชอบให้ว่าจ้างหน่วยงานกลาง ( Third Party) เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการสิ่งแวดล้อมในระยะดำเนินการ โดยบริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็นหน่วยงานกลางเพื่อทำการศึกษาในครั้งนี้ให้จัดทำ รายงานผลการดำเนินงานของโครงการตามที่กำหนดไว้ในขอบเขตงาน สำหรับรายงานฉบับนี้เป็นรายงานผลการปฏิบัติตาม มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ระหว่างเดือนมกราคม- มิถุนายน 2563 เพื่อนำเสนอต่อหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง 1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทำรายงาน 1) เพื่อติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ( Environmental Quality Monitoring) ของโครงการ ระหว่างเดือน มกราคม-มิถุนายน 2563 2) เพื่อติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ( Environmental Mitigation Measures) 3) เพื่อจัดทำรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และนำเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณารายงานผลการดำเนินงานของหน่วยงานกลาง 1.3 รายละเอียดโครงการ 1.3.1 ที่ตั้งโครงการ โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย ตั้งอยู่เลขที 181 หมู่ 8 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัด สงขลา ดำเนินการโดย บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด มีพื้นที่โครงการ ประมาณ 947 ไร่ ประกอบด้วย พื้นที่โรงแยกก๊าซประมาณ 400 ไร่ พื้นที่กันชนและพื้นที่สีเขียวอีกประมาณ 547 ไร่ ที่ตั้งแสดงได้ดังรูปที1-1 ภายในพื้นที่โรง

Transcript of บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2...

Page 1: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-1 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

บทท่ี 1 บทนำ

1.1 ความเป็นมาในการจัดทำรายงาน

ตามที่สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้มีมติเห็นชอบในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย ตามหนังสือพิจารณาเห็นชอบที่ ทส 1009.9/10239 ลงวันที่ 26 สิงหาคม 2558 ของบริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด (ต่อไปน้ีจะเรียกว่า “ทีทีเอ็ม”) น้ัน โครงการต้องยึดถือและปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่เสนอมาอย่างเคร่งครัด รวมทั้งจัดทำรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการฯ และเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบทุก 3 เดือน

สำหรับโครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซียน้ี ทางจังหวัดสงขลาได้จัดตั้งคณะกรรมการไตรภาคีฯ ของโครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย เพื่อเป็นกลไกในการกำกับดูแลและควบคุมการดำเนินโครงการให้เป็นไปตามมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และในการประชุมคณะกรรมการไตรภาคีฯ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2551 ได้มีมติเห็นชอบให้ว่าจ้างหน่วยงานกลาง (Third Party) เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการสิ่งแวดล้อมในระยะดำเนินการ โดยบริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็นหน่วยงานกลางเพื่อทำการศึกษาในครั้งน้ีให้จัดทำรายงานผลการดำเนินงานของโครงการตามที่กำหนดไว้ในขอบเขตงาน สำหรับรายงานฉบับน้ีเป็นรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ระหว่างเดือนมกราคม-มิถุนายน 2563 เพื่อนำเสนอต่อหน่วยงานราชการที่เก่ียวข้อง

1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทำรายงาน

1) เพื่อติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม (Environmental Quality Monitoring) ของโครงการ ระหว่างเดือนมกราคม-มิถุนายน 2563

2) เพื่อติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Mitigation Measures)

3) เพื่อจัดทำรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม และนำเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณารายงานผลการดำเนินงานของหน่วยงานกลาง

1.3 รายละเอียดโครงการ

1.3.1 ท่ีต้ังโครงการ

โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย ตั้งอยู่เลขที่ 181 หมู่ 8 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ดำเนินการโดย บริษัท ทรานส ์ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด มีพื้นที่โครงการ ประมาณ 947 ไร่ ประกอบด้วยพื้นที่โรงแยกก๊าซประมาณ 400 ไร่ พื้นที่กันชนและพื้นที่สีเขียวอีกประมาณ 547 ไร่ ที่ตั้งแสดงได้ดังรูปท่ี 1-1 ภายในพื้นที่โรง

Page 2: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-2 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

แยกก๊าซธรรมชาติประกอบด้วยอาคารสิ่งปลูกสร้างที่สำคัญ ได้แก่ อาคารสำนักงาน สถานพยาบาล อาคารควบคุม อาคารซ่อมบำรุง โรงเก็บอุปกรณ์ อาคารห้องวิเคราะห์ โรงอาหาร อาคารดับเพลิง ป้อมยาม และอาคารสถานีสูบถ่าย NGL ซึ่งผังโรงแยกก๊าซธรรมชาติแสดงได้ดังรูปท่ี 1-2

1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ

องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม ไทย-มาเลเซีย จากการศึกษาในรายงาน EIA และจากการผลิตจริงในปี พ.ศ. 2557 พบว่า ก๊าซธรรมชาติประกอบด้วย มีเทน (CH4 หรือ C1) อีเทน (C2H6 หรือ C2) โปรเพน (C3H8 หรือ C3) บิวเทน (C4H10 หรือ C4) เพนเทน และโมเลกุลไฮโดรคาร์บอนที่หนักกว่า (C5H12 หรือ C5+) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และสิ่งเจือปนอ่ืนๆ แสดงดังตารางท่ี 1-1

ตารางท่ี 1-1 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติท่ีผลิตจากแหล่งพื้นท่ีพัฒนาร่วม ไทย-มาเลเซีย จากการศึกษา ในรายงาน EIA และจากการผลิตจริงในปี พ.ศ. 2557

องค์ประกอบ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติใน

การออกแบบ (Mole %)* องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติที่ได้จาก การผลิตจริง (Mole %)* ปี พ.ศ. 2557

Carbon Dioxide (CO2) 23.000 7.65 Nitrogen (N2) 1.493 1.68 Methane (C1) 67.744 84.58 Ethane (C2)** 4.016 4.65 Propane (C3)*** 2.003 1.29 I-Butane (iC4) 0.536 0.05 N-Butane (nC4) 0.395 0.02 I-Pentane (iC5) 0.172 0.04 N-Pentane (nC5) 0.104 0.02 Hexane (C6) 0.129 0.01 Heptane (C7) 0.083 - Octane (C8) 0.109 - Nonane (C9) 0.072 - Decane (C10) 0.062 - Other (C11+) 0.083 - รวมทั้งหมด 100 100

ท่ีมา : รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่แวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ครั้งที่ 2), บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด ์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซลัแตนท์ จำกดั พ.ศ. 2558 หมายเหตุ: * กรณีไม่รวมน้ำและสารเจือปนปริมาณสงูสุดของน้ำและสารเจือปนที่ยอมให้มีได้ ตามสัญญาซื้อขายกา๊ซธรรมชาติจากแหลง่เจดีเอ Hydrogen Sulfide 3.45 grains/100 scf1/ Mercury 50 µg/m3 Sulfur 5.17 grains/100 scf Water 7 lbs/MMSCF gas ** กระบวนการแยกก๊าซของโรงแยกกา๊ซธรรมชาติ ไทย - มาเลเซีย จะไม่มีการแยกกา๊ซอีเทนออกเป็นผลิตภัณฑ์ โดยกา๊ซอีเทนจะเป็น องค์ประกอบหน่ึงของกา๊ซเช้ือเพลิงอุตสาหกรรม (Sales gas) *** มีการแยกกา๊ซ C3 (โปรเพน) เพื่อใช้ผสมกับกา๊ซหุงต้มให้ได้คุณสมบัติตามข้อกำหนดของกา๊ซหุงต้มที่ใช้ในประเทศไทยและประเทศ มาเลเซียเทา่น้ัน 1/scf = Standard cubic foot (1 grain = 64.8 มิลลิกรัม ดงัน้ัน 1 grain/100 scf 22.9 ไมโครกรัมต่อลติร)

Page 3: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-3 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

รูปท่ี 1-1 ท่ีต้ังโครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย

Page 4: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-4 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

รูปท่ี 1-2 แผนผังพื้นท่ีโครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย

ท่ีมา : รายงานการวิเคราะหผ์ลกระทบสิ่งแวดลอ้มฉบับเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย, 2558

Page 5: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-5 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

1.3.3 กระบวนการผลิต กระบวนการแยกก๊าซจะใช้กระบวนการผลิตแบบกลั ่นลำดับส่วน โดยลดอุณหภูมิด้วยการลดความดัน

(Expander Process) แล้วส่งเข้าหอแยกลำดับส่วน เพื่อแยกผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยอาศัยคุณสมบัติจุดเดือดของก๊าซ แต่ละชนิดที่แตกต่างกัน ผลิตภัณฑ์ที่ได้ คือ ก๊าซเชื้อเพลิงอุตสาหกรรม ก๊าซหุงต้ม (LPG) และก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL: Natural Gasoline) และผลิตภัณฑ์พลอยได้ คือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก ดังน้ี

▪ หน่วยกำจัดปรอท (Mercury Removal Unit) เพื่อดักจับและกำจัดสารปรอทซ่ึงปนมากับก๊าซธรรมชาติมิให้ปนเปื้อนเข้าสู่กระบวนการแยกก๊าซ โดยใช้ Activated Carbon

▪ หน่วยแยกก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 Removal Unit) เพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ บางส่วนออกจากก๊าซธรรมชาติ โดยใช้สารละลาย Amine (MDEA)

▪ หน่วยกำจัดความชื้น (Dehydration Unit) เพื่อดูดซับน้ำหรือความชื้น ออกจากก๊าซธรรมชาติโดยการ ใช้สารดูดความชื้น (Molecular Sieve)

▪ หน่วยแยกก๊าซเชื ้อเพลิงอุตสาหกรรม (Sales Gas Separation Unit) ประกอบด้วยหอแยกก๊าซเย็น (Cold Separator) และหน่วยแยกก๊าซอีเทน (De-Ethanization Unit) ก๊าซแห้งจากหน่วยกำจัดความชื้น จะถูกลดความดัน และอุณหภูมิลงทำให้ก๊าซอีเทน โพรเพน และก๊าซไฮโดรคาร์บอนอ่ืนที่หนักกว่า ควบแน่นเป็นของเหลวไหลออกด้านล่างของหอแยกก๊าซเย็นไปสู่หน่วยแยกก๊าซอีเทน ส่วนก๊าซมีเทนที ่มีสถานะก๊าซไหลออกด้านบนหอแยกก๊าซเย็น ก๊าซเชื้อเพลิงอุตสาหกรรม (ซ่ึงองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซมีเทนและอีเทน) จะถูกส่งไปยังหน่วยเพิ่มความดัน ก๊าซเชื้อเพลิง ก่อนส่งทางท่อฯ ไปยังประเทศมาเลเซียต่อไป

▪ หน่วยแยกก๊าซโพรเพน (De-Propanization Unit) ทำหน้าที่แยกก๊าซโปรเพน ซ่ึงจะแยกออกมาเป็นก๊าซโพรเพนที่ด้านบนหอแยก

▪ หน่วยแยกก๊าซหุงต้มและก๊าซโซลีนธรรมชาติ (LPG and NGL unit) ก๊าซเหลวจากส่วนล่างของหอแยกก๊าซโพรเพน จะไหลเข้าหอแยกก๊าซหุงต้มและถูกเพิ่มอุณหภูมิ จนได้ก๊าซหุงต้มออกมาที่ด้านบนของหอแยกก๊าซ ส่วนก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL) จะออกทางด้านล่างของหอแยก

▪ หน่วยกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S removal unit) เพื่อกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่อาจมีการ ปนเปื้อนออกจากก๊าซเชื้อเพลิงอุตสาหกรรม

สำหรับรายละเอียดแผนผังกระบวนการผลิตแสดงได้ดังรูปท่ี 1-3 ผังแสดงผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้จากแหล่งก๊าซธรรมชาติในพื้นที่พัฒนาร่วม ไทย-มาเลเซีย (JDA) ในปัจจุบันแสดงได้ดังรูปที่ 1-4 รวมทั้งการขนส่ง NGL ทางรถบรรทุกทั้งหมด 3 เส้นทาง คือ จากโรงแยกก๊าซฯ-ด่านศุลกากรปาดังเบซาร์ จากโรงแยกก๊าซฯ-ด่านศุลกากรบ้านประกอบ และจากโรงแยกก๊าซฯ-คลังสารองปิโตรเลียมอากิแบมออยล์

จากข้อมูลตามที ่ระบุไว้การขอเปลี ่ยนแปลงรายละเอียดโครงการในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ของโครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย, 2553 ได้ทำการขอเปลี่ยนแปลงจำนวนรถบรรทุกในการขนส่งสูงสุดจาก 80 คันต่อวันเป็น 26 คันต่อวัน (เฉลี่ยที่ 12 คันต่อวัน จันทร์ถึงศุกร์ และ ไม่มีการขนส่งในวันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์) อันเน่ืองมาจากปริมาณผลิตภัณฑ์ NGL ที่ผลิตได้จะมีปริมาณค่อนข้างคงที่ คือ กรณีที่ผลิตปกติไม่มีการหยุดซ่อมบำรุง จะได้ผลิตภัณฑ์ NGL สูงสุด 49,345 ตัน/ปี และกรณีที่มีการหยุดซ่อมบำรุง จะได้ผลิตภัณฑ์ NGL 45,195 ตัน/ปี น้อยกว่าที่ได้ประมาณการณ์ไว้ในรายงาน EIA ฉบับเดิมถึง 3 เท่า ส่งผลให้การก่อสร้างท่อและทุ่นสูบถ่ายในทะเลเพื่อขนส่ง NGL ในปริมาณดังกล่าวทางเรือน้ัน ไม่สอดคล้องกับเกณฑ์การพิจารณาทางเลือกในการขนส่งผลิตภัณฑ์ NGL ซ่ึงตั้งอยู่

Page 6: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-6 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

บนพื้นฐานของความเหมาะสมทางเศรษฐศาสตร์ควบคู่กับลักษณะของผลกระทบสิ่งแวดล้อม เนื่องจากข้อเท็จจริงใหม่ที่เกิดขึ้นแสดงให้เห็นว่าการขนส่งผลิตภัณฑ์ NGL ทางท่อในปัจจุบันยังไม่มีความเหมาะสมทั้งในเชิงการปฏิบัติและการลงทุน

Page 7: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-7 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

รูปท่ี 1-3 แผนผังกระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติของโครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย

Page 8: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-8 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

รูปท่ี 1-4 แผนผังแสดงผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตได้จกแหล่งก๊าซธรรมชาติในพื้นท่ีพัฒนาร่วม ไทย-มาเลเซีย (JDA) ในปัจจุบัน

Page 9: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนินการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-9 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

1.4 แผนการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

จากรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ ได้กำหนดเพื่อให้โครงการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ใน 10 ประเด็น ได้แก่

(1) มาตรการทั่วไป (2) การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ (3) การติดตามตรวจสอบเสียงและการสั่นสะเทือน (4) การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ (5) การติดตามตรวจสอบขยะและของเสียอันตราย (6) การติดตามตรวจสอบนิเวศทางบก (7) การติดตามตรวจสอบการคมนาคมขนส่งและการจราจร (8) การติดตามตรวจสอบอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (9) การติดตามตรวจสอบคุณภาพชีวิต (10) มาตรการที่บริษัทฯ ควรขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานอ่ืน โดยรายละเอียดของมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมแสดงได้ดังตารางท่ี 1-2

Page 10: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-10 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

ตารางท่ี 1-2 มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนินการ) คุณภาพสิ่งแวดล้อม ดัชนีที่ติดตามตรวจสอบ จุดติดตามตรวจสอบ ความถี่ / ช่วงเวลา

1. คุณภาพอากาศในบรรยากาศ

1. ฝุ่นละอองรวม (TSP) 2. ฝุ่นละอองที่มีขนาดน้อยกว่า หรือเท่ากับ 10 ไมครอน (PM10) 3. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) 4. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) 5. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) 6. ก๊าซไฮโดรคาร์บอนทั้งหมด (THC) 7. ก๊าซนันมีเทนไฮโดรคาร์บอน (NMHC) 8. ปรอท (Hg) 9. ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์ (H2S) 10. ความเร็วและทศิทางลม (WSWD)

1. บริเวณอาคารสำนักงานโรงแยกก๊าซฯ 2. บริเวณบ้านป่างาม 3. บริเวณบ้านตลิ่งชัน 4. บริเวณบ้านป่าไผ่ 5. บริเวณบ้านโคกสัก 6. บริเวณบ้านวังงู1/

ปีละ 4 ครั้ง ครั้งละ 7 วันต่อเนื่อง ตลอดระยะดำเนินการ

11. เบนซีน (Benzene) 12. โทลูอีน (Toluene) 13. ไซลีน (Xylene)

1. สถานีสูบถ่าย NGL1/ 2. ริมร้ัวด้านทศิตะวันออกของโรงแยกก๊าซฯ 3. ริมร้ัวด้านทศิตะวันตกของโรงแยกก๊าซฯ 4. ริมร้ัวด้านทศิใต้ของโรงแยกก๊าซฯ 5. ริมร้ัวด้านทศิเหนือของโรงแยกก๊าซฯ

ปีละ 2 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน ตลอดระยะดำเนินการ

14. เบนซีน1/ 1. บริเวณบ้านป่างาม 2. บริเวณบ้านตลิ่งชัน 3. บริเวณบ้านป่าไผ่ 4. บริเวณบ้านโคกสัก 5. บริเวณบ้านวังงู

ปีละ 2 ครั้ง ครั้งละ 5 วันต่อเนื่อง ตลอดระยะดำเนินการ

15. ปรอทในก๊าซธรรมชาติ วัดปรอทจากแหล่งผลิตหลังจากผ่านหน่วยกำจัดปรอทก่อนเข้าโรงแยกก๊าซ

ตรวจวัดต่อเนื่องโดยใช้ Online Mercury analyzer

Page 11: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-11 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

ตารางท่ี 1-2 (ต่อ) มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนินการ) ประเด็นสิ่งแวดล้อม ดัชนีที่ติดตามตรวจสอบ จุดติดตามตรวจสอบ ความถี่ / ช่วงเวลา

1. คุณภาพอากาศในบรรยากาศ (ต่อ)

16. สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) โดยใช้เครื่องวดั VOCs Potable detector ดว้ยพนักงาน

บริเวณระบบสูบถ่าย NGL สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

17. ฝุ่นละอองที่มขีนาดน้อยกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) 1/

1. บริเวณอาคารสำนักงานโรงแยกก๊าซฯ1/ 2. บริเวณบ้านป่างาม1/ 3. บริเวณบ้านตลิ่งชัน1/ 4. บริเวณบ้านป่าไผ่1/ 5. บริเวณบ้านโคกสัก1/

ปีละ 2 ครั้ง ในเดือนกุมภาพันธ์และสิงหาคม

ตลอดระยะดำเนินการ

2. คุณภาพอากาศที่ระบายออกจากปล่อง 1. ฝุ่นละอองรวม (TSP) 2. ฝุ่นละอองที่มีขนาดน้อยกว่า หรือเท่ากับ 10 ไมครอน (PM10) 3. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) 4. ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจนในรูปของ ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NOX as NO2) 5. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) 6. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (H2S) 6. ก๊าซไฮโดรคาร์บอนทั้งหมด (THC) 7. ก๊าซนันมีเทนไฮโดรคาร์บอน (NMHC) 8. ปรอท (Hg) 9. ก๊าซมีเทน (CH4)

1. Gas Turbine Generator จำนวน 3 ปล่อง 2. Gas Turbine Compressor จำนวน 2 ปล่อง 3. Hot oil Heater จำนวน 1 ปล่อง 4. Thermal Oxidizer จำนวน 2 ปล่อง

ปีละ 4 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

10. สารอืนทรีย์ระเหยทั้งหมด (Total VOCs) 1. ปลายปล่องถ่านกัมมันต์ (A) 2. ปลายปล่องถ่านกัมมันต์ (B) 1/

ปีละ 2 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

Page 12: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-12 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

ตารางท่ี 1-2 (ต่อ) มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนินการ) ประเด็นสิ่งแวดล้อม ดัชนีที่ติดตามตรวจสอบ จุดติดตามตรวจสอบ ความถี่ / ช่วงเวลา

3. เสียง 1. ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (LAeq 24 hour) 1. ริมร้ัวด้านทศิเหนือของโรงแยกก๊าซฯ 2. ริมร้ัวด้านทศิใต้ของโรงแยกก๊าซฯ 3. ริมร้ัวด้านทศิตะวันออกของโรงแยกก๊าซฯ 4. ริมร้ัวด้านทศิตะวันตกของโรงแยกก๊าซฯ 5. บริเวณบ้านป่างาม1/ 6. บริเวณบ้านตลิ่งชัน1/ 7. บริเวณบ้านป่าไผ่1/ 8. บริเวณบ้านโคกสัก1/ 9. บริเวณบ้านวังงู1/ 10. บริเวณบ้านนนท์1/

ปีละ 4 ครั้ง ครั้งละ 3 วันต่อเนื่อง ตลอดระยะดำเนินการ

2. Noise Contour Map บริเวณพ้ืนที่โรงแยกก๊าซ ปีละ 1 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ 4. คุณภาพน้ำ 4.1 คุณภาพน้ำผิวดิน 1. ความขุ่น

2. สารแขวนลอย 3. ออกซิเจนละลาย 4. ค่าการนำไฟฟ้า 5. น้ำมันและไขมัน 6. ปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอน 7. ปรอท 8. บีโอดี 9. พีเอช 10. อุณหภูมิ

1. นำ้ในคลองที่ระยะ 500 เมตร จากปากคลองสะกอม 2. นำ้ในคลองที่ระยะ 500 เมตร จากปากคลองนาทับ

ทุก 3 เดือน ตลอดระยะดำเนินการ

11. ความเค็ม1/ บริเวณตอนเหนือและตอนล่างของโรงแยกก๊าซ รัศมีห่างจากโรงแยกก๊าซ 1 กิโลเมตร ในคลองสะกอมและคลองนาทับ1/

ทุก 6 เดือน ตลอดระยะดำเนินการ

Page 13: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-13 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

ตารางท่ี 1-2 (ต่อ) มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนินการ) ประเด็นสิ่งแวดล้อม ดัชนีที่ติดตามตรวจสอบ จุดติดตามตรวจสอบ ความถี่ / ช่วงเวลา

4.2 คุณภาพน้ำทะเล 1. ความขุ่น 2. สารแขวนลอย 3. ออกซิเจนละลาย 4. ค่าการนำไฟฟ้า 5. น้ำมันและไขมัน 6. ปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอน 7. ปรอท 8. บีโอดี 9. พีเอช 10. อุณหภูมิ

1. น้ำทะเลนอกฝั่งคลอง ที่ระยะ 500 เมตร ห่างจาก ปากคลองสะกอม 2. น้ำทะเลนอกฝั่งคลอง ที่ระยะ 500 เมตร ห่างจาก ปากคลองคลองนาทับ 3. น้ำทะเลบริเวณชายฝั่งหน้าโรงแยกก๊าซฯ

ทุก 3 เดือน ตลอดระยะดำเนินการ

4.3 คุณภาพน้ำทิ้ง 1. ค่าการนำไฟฟ้า 2. ปรอท 3. พีเอช 4. อุณหภูมิ

1. น้ำที่ออกจากหน่วยกำจัดปรอทในก๊าซธรรมชาติ (S 1.1, S 1.2, S 1.3) 2. บ่อสังเกตการณ์คุณภาพน้ำ (S2)

ทุกวันตลอดระยะดำเนินการ

1. สารแขวนลอย 2. ออกซิเจนละลาย 3. สังกะสี 4. คลอไรด์ 5. ไนเตรต 6. ซัลเฟต 7. ทีดีเอส 8. ปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอน

บ่อสังเกตการณ์คุณภาพน้ำ (S2) ทุกสัปดาห์ ตลอดระยะดำเนินการ

1. พีเอช 2. อุณหภูมิ

จุดปล่อยน้ำสู่ระบบ Land Treatment (S3) ทุกเดือน ตลอดระยะดำเนินการ

Page 14: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-14 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

ตารางท่ี 1-2 (ต่อ) มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนินการ) ประเด็นสิ่งแวดล้อม ดัชนีที่ติดตามตรวจสอบ จุดติดตามตรวจสอบ ความถี่ / ช่วงเวลา

4.3 คุณภาพน้ำทิ้ง (ต่อ) 3. บีโอดี 4. ซีโอดี 5. ค่าการนำไฟฟ้า 6. ทีเคเอ็น 7. น้ำมันและไขมัน 8. โคลิฟอร์มแบคทีเรีย

1. น้ำมันและไขมัน 2. พีเอช 3. อุณหภูมิ 4. บีโอดี 5. ซีโอดี 6. ทีเคเอ็น 7. สารแขวนลอย 8. TDS 9. ซัลไฟด์

น้ำในคูระบายน้ำก่อนออกจากพ้ืนที่โครงการ ทุกเดือน ตลอดระยะดำเนินการ

5. ขยะและของเสียอันตราย 1. ปริมาณขยะที่ผลิตและตกค้าง 2. การกำจัด

พ้ืนที่โรงแยกก๊าซ ทุกสัปดาห์ ตลอดระยะดำเนินการ

6. นิเวศทางบก 1. พฤติกรรมนกเขาชวา 2. คุณภาพเสียงของนกเขาชวา 3. ติดตามการดำเนินงานของกองทุนนกเขาชวา

1. ตามระยะความห่างจากโรงแยกก๊าซ ในทศิใต้ลม คือที่ระยะ ไม่เกิน 3 ก.ม. 2. ตามระยะความห่างจากโรงแยกก๊าซ ในทศิใต้ลม คือที่ระยะ 3-5 กม. 3. ที่ตัวเมืองจะนะ

เดือนละ 1 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

Page 15: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-15 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

ตารางท่ี 1-2 (ต่อ) มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนินการ) ประเด็นสิ่งแวดล้อม ดัชนีที่ติดตามตรวจสอบ จุดติดตามตรวจสอบ ความถี่ / ช่วงเวลา

6. นิเวศทางบก (ต่อ) 4. ชนิดพันธุ์ และการกระจายตัวของสตัว์ป่าโดยเฉพาะนก 5. การทดแทนทางธรรมชาติของสังคมพืชพรรณไม้เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง

1. รัศมีระยะ 5 กิโลเมตร บริเวณด้านหน้าโรงแยกก๊าซ (เหนือลม) 2. รัศมีระระ 5 กิโลเมตร บริเวณด้านหลังโรงแยกก๊าซ (ท้ายลม)

ปีละ 1 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

7. การคมนาคมขนส่งและการจราจร 1. บันทึกสถิติการเกิดอุบัติเหตุ ถนนสาย 43 ก่อนเข้าพ้ืนที่ก่อสร้างโรงแยกก๊าซและถนนทางเข้าบ้านตลิง่ชัน

บันทึกสถานการณ์ประจำวัน

2. สถิติการเกิดอุบัติเหตุจากการจราจรเส้นทางขนส่ง NGL

จากโรงแยกก๊าซฯ จะนะ-คลังสำรองปิโตรเลียมอากิแบมออยล์ ทุก 3 เดือน ตลอดระยะดำเนินการ

8. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1. ตรวจสุขภาพของพนักงานก่อนรับเข้าทำงาน และตรวจประจำปี

พ้ืนที่โรงแยกก๊าซ ปีละ 1 ครั้ง

2. ตรวจสุขภาพประจำปีพนักงานที่มีการสัมผัสสารไอระเหย NGL โดยการตรวจหาสารเบนซีน โทลูอีน และไซลีน

พ้ืนที่โรงแยกก๊าซ ได้แก่ - พนักงานประจำสถานีสูบถ่าย NGL - พนักงานขับรถบรรทุก NGL

ปีละ 1 ครั้ง

3. สถิติการเจ็บป่วย/ อุบัติเหตุจากการทำงาน พ้ืนที่โรงแยกก๊าซฯ ทุกเดือน ตลอดระยะดำเนินการ

4. ระดับเสียง 8 ชั่วโมง (LAeq 8 hours) ภายในพ้ืนที่ปฏิบัติการ จำนวน 7 จุด ได้แก่ - สำนักงาน - หน่วยแยกก๊าซ - เครื่องกำเนิดไฟฟ้า - โรงซ่อมบำรุง - จุดขนถา่ยผลิตภัณฑ์ - ลานพักถัง - เครื่องกังหันก๊าซที่ใช้อัดความดันก๊าซ

ปีละ 4 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

5. ระดับเสียงสะสมติดตัวบุคคล1/ ภายในพ้ืนที่ปฏิบัติการ ปีละ 1 ครั้ง

Page 16: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-16 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

ตารางท่ี 1-2 (ต่อ) มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนินการ) ประเด็นสิ่งแวดล้อม ดัชนีที่ติดตามตรวจสอบ จุดติดตามตรวจสอบ ความถี่ / ช่วงเวลา

8. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ต่อ) 6. ความเข้มของแสงสวา่ง ภายในพ้ืนที่ปฏิบัติการ จำนวน 2 จุด ได้แก่ - สำนักงาน - โรงซ่อมบำรุง

ปีละ 4 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

7. แสงในเวลากลางคืน1/ ภายในพ้ืนที่โรงแยกก๊าซฯ1/ ปีละ 1 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ 8. ความร้อน ภายในพ้ืนที่ปฏิบัติการ จำนวน 3 จุด ได้แก่

- หน่วยแยกก๊าซ - เครื่องกำเนิดไฟฟ้า - เครื่องกังหันก๊าซที่ใช้อัดความดันก๊าซ

ปีละ 4 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

9. ฝุ่นขนาดเล็ก 10 ไมครอน ภายในพ้ืนที่ปฏิบัติการ จำนวน 3 จุด ได้แก่ - สำนักงาน - โรงซ่อมบำรุง - จุดขนถา่ยผลิตภัณฑ์

ปีละ 4 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

10. สารเคมีในสถานประกอบการ - ไฮโดรเจนซัลไฟล์ (H2S)

- ปริมาณไฮโดรคาร์บอนทั้งหมด (THC) ภายในพ้ืนที่ปฏิบัติการ จำนวน 4 จุด ได้แก่ - หน่วยแยกก๊าซ - โรงซ่อมบำรุง - ลานพักถัง - จุดขนถา่ยผลิตภัณฑ์

ปีละ 4 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

- เบนซีน1/ - โทลูอีน1/ - ไซลีน1/ - เฮกเซน1/ - ปรอท1/ - เมทานอล1/

ภายในพ้ืนที่ปฏิบัติการ1/ ปีละ 1 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

Page 17: บทที่ 1eia.onep.go.th/images/monitor/1596008349.pdf · 2020. 7. 29. · 1.3.2 องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนาร่วม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนนิการ) บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างเดือนมกราคม-มิถนุายน 2563

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิต์ แอนด์ เอ็นจิเนยีริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด หน้า 1-17 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 by TISI, 17025:2017 by DSS ได้รับการรับรอง ISO 9001: 2015 และ ISO 14001: 2015 จากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ

ตารางท่ี 1-2 (ต่อ) มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ไทย-มาเลเซีย (ระยะดำเนินการ) ประเด็นสิ่งแวดล้อม ดัชนีที่ติดตามตรวจสอบ จุดติดตามตรวจสอบ ความถี่ / ช่วงเวลา

8. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ต่อ) 11. ตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ

อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย - สถานีสูบถ่าย NGL ในโรงแยกก๊าซฯ จะนะ และรถบรรทุก NGL ทุกคัน

ปีละ 2 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

12. ช่วงการดำเนินการ M10 Metering - ตรวจสอบความแม่นยำในการตรวจวัดของม ิ เตอร ์ของหน่วยว ัดหน ่วยว ัด M10 Metering เพ่ือให้เป็นไปตามมาตรฐาน AGA 3

M10 Metering ทุก 6 เดือน ตลอดระยะดำเนินการ

- ตรวจสอบแนวเชื่อม โดยตรวจสอบทุกรอยเชื่อม - ตรวจสอบก่ีสึกกร่อนของหน่วยวัด M10 Metering บริเวณที่มีความเสี่ยงสูง เช่น บริเวณข้องอ หรือบริเวณที่ก๊าซมีความเร็วสูง ตามมาตรฐาน ASME B31.G และ ASME B31.8

M10 Metering ทุกปี ตลอดระยะดำเนินการ

9. สังคม-เศรษฐกิจ และการมีส่วนร่วมของชุมชน 1. ทัศนคติทางสังคม 2. การเปลี่ยนแปลงการจ้างงาน

บริเวณอำเภอจะนะ ปีละ 1 ครั้ง ตลอดระยะดำเนินการ

3. ความคดิเห็นต่อการขนส่ง NGL 1. ชุมชนในรัศมี 500 เมตร จากโรงแยกก๊าซ 2. ชุมชน/หมู่บ้านบริเวณเส้นทางขนส่ง NGL จากโรงแยกก๊าซฯ จะนะ

ปีละ 1 ครั้ง

หมายเหตุ : 1/ ตรวจวัดเพ่ิมเติมจากรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมฯ (EIA) ตามมติท่ีประชุมอนุกรรมการฯ