บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project -...

96
1 บทที1 บทนํา ความสําคัญของปญหา สิ่งแวดลอมประกอบดวยสิ่งตางๆ ที่อยูบนโลก ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือที่มนุษย สรางขึ้น สามารถมองเห็นและจับตองได และที่ไมสามารถมองเห็นหรือจับตองไมได สิ่งแวดลอม สวนใหญจะมีความสัมพันธกันและมีความสําคัญตอมนุษยมาก การดํารงชีวิตของมนุษยจําเปนตอง อาศัยสิ่งแวดลอมที่อยูในสภาพสมบูรณ เนื่องจากสิ่งแวดลอมมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด เมื่อสิ่งแวดลอมอยางหนึ่งเปลี่ยนทันที จะสงผลใหสิ่งแวดลอมอีกอยางหนึ่งเสื่อมสภาพลงหรือถูก ทําลาย ซึ่งมีผลทําใหคุณภาพชีวิตของมนุษยเลวลงดวย เชน ตนไมถูกทําลายจะสงผลใหเกิดน้ําทวม ฉับพลัน หนาดินพังทลาย หรือฝนไมตกตองตามฤดูกาล อากาศแปรปรวนและรอนขึ้นหรือการทีอากาศเปนมลพิษ เนื่องจากมีกาซคารบอนมอนออกไซดสูงซึ่งกอใหเกิดอันตรายตอมนุษย หรือน้ําใน แมน้ําลําคลองมีการทิ้งขยะมูลฝอยของเสียลงในน้ําทําใหปลาหรือสิ่งมีชีวิตในน้ําอยูไมไดหรือตายไป มนุษยก็ไมสามารถนําน้ํานั้นมาใชอุปโภคบริโภคไดอีก หรือการชะลางของฝนหรือน้ําปาไหลหลาก จะทําใหพืชและสิ่งอื่นๆ ที่อาศัยอยูในดินถูกทําลายไปดวย หรือสัตวปาซึ่งใหประโยชนทั้งในดาน วิชาการ เศรษฐกิจ และอื่น เชน นก แมลง ที่ชวยกําจัดศัตรูพืช ก็เปนสวนประกอบหนึ่งที่รักษา ความสมดุลแหงธรรมชาติไว จะเห็นไดวาสิ่งแวดลอมมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน มนุษยจะมี คุณภาพชีวิตที่ดีหรือไมดีขึ้นอยูกับความสมดุลของสิ่งแวดลอมนั่นเอง (อุดม, 2548) อุทยานแหงชาติคือพื้นที่หนึ่งที่ประกอบดวยทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญทางระบบ นิเวศวิทยาซึ่งมีความสวยงามที่เปนเอกลักษณเฉพาะตัวไมวาจะเปนทัศนียภาพอันงดงาม น้ําตก ถ้ํา และภูเขา หรือดอกไม และสัตวนานาชนิดที่มีความสําคัญ การจัดตั้งอุทยานแหงชาติในประเทศไทย เริ่มขึ้นจริงจังเมื่อสงครามโลกครั้งที2 สิ้นสุดลง ผลสืบเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของ ประชากรในประเทศ ทําใหความบีบคั้นทางเศรษฐกิจมีมาก ถิ่นที่อยูอาศัยของสัตวปาถูกเปลี่ยนเปน ชุมชนและพื้นที่เกษตร ปาไมที่อุดมสมบูรณถูกบุกรุกแผวถางเปนไรราง สัตวปาถูกนํามาเปนสินคา และอาหาร บางชนิดอยูในสภาพที่กําลังจะสูญพันธุและบางชนิดถึงกับสูญพันธุไปแลว ความพยายาม ในการจัดตั้งอุทยานแหงประเทศไทยเริ่มจริงจังและเกิดผลสําเร็จ โดยมีวัตถุประสงคเพื่ออนุรักษ ดูแล ปองกัน และปราบปราม การลักลอบทําลายทรัพยากรธรรมชาติทุกชนิดที่อยูในอุทยานแหงชาติ

Transcript of บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project -...

Page 1: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

1

บทที่ 1

บทนํา

ความสําคัญของปญหา ส่ิงแวดลอมประกอบดวยส่ิงตางๆ ที่อยูบนโลก ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือที่มนุษย สรางขึ้น สามารถมองเห็นและจับตองได และที่ไมสามารถมองเห็นหรือจับตองไมได ส่ิงแวดลอมสวนใหญจะมคีวามสัมพันธกันและมีความสําคัญตอมนุษยมาก การดาํรงชีวิตของมนุษยจําเปนตองอาศัยส่ิงแวดลอมที่อยูในสภาพสมบูรณ เนื่องจากสิ่งแวดลอมมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด เมื่อส่ิงแวดลอมอยางหนึ่งเปลี่ยนทันที จะสงผลใหส่ิงแวดลอมอีกอยางหนึ่งเสื่อมสภาพลงหรือถูกทําลาย ซ่ึงมีผลทําใหคุณภาพชีวิตของมนษุยเลวลงดวย เชน ตนไมถูกทําลายจะสงผลใหเกดิน้ําทวมฉับพลัน หนาดินพังทลาย หรือฝนไมตกตองตามฤดูกาล อากาศแปรปรวนและรอนขึ้นหรือการที่อากาศเปนมลพิษ เนื่องจากมีกาซคารบอนมอนออกไซดสูงซึ่งกอใหเกิดอันตรายตอมนุษย หรือน้ําในแมน้ําลําคลองมีการทิ้งขยะมลูฝอยของเสียลงในน้ําทําใหปลาหรือส่ิงมีชีวิตในน้ําอยูไมไดหรือตายไป มนุษยก็ไมสามารถนําน้ํานัน้มาใชอุปโภคบริโภคไดอีก หรือการชะลางของฝนหรือน้ําปาไหลหลากจะทําใหพืชและสิ่งอื่นๆ ที่อาศัยอยูในดนิถูกทําลายไปดวย หรือสัตวปาซึ่งใหประโยชนทั้งในดานวิชาการ เศรษฐกิจ และอื่น ๆ เชน นก แมลง ที่ชวยกําจัดศัตรูพืช ก็เปนสวนประกอบหนึ่งที่รักษาความสมดุลแหงธรรมชาติไว จะเหน็ไดวาสิ่งแวดลอมมคีวามสัมพันธซ่ึงกันและกัน มนุษยจะมีคุณภาพชวีิตทีด่ีหรือไมดีขึ้นอยูกับความสมดุลของสิ่งแวดลอมนั่นเอง (อุดม, 2548)

อุทยานแหงชาติคือพื้นที่หนึ่งที่ประกอบดวยทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญทางระบบนิเวศวิทยาซึ่งมีความสวยงามที่เปนเอกลักษณเฉพาะตวัไมวาจะเปนทัศนียภาพอันงดงาม น้ําตก ถํ้าและภเูขา หรือดอกไม และสัตวนานาชนดิที่มีความสําคัญ การจัดตั้งอุทยานแหงชาติในประเทศไทย เร่ิมขึ้นจริงจังเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ส้ินสุดลง ผลสืบเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของประชากรในประเทศ ทําใหความบีบคั้นทางเศรษฐกิจมมีาก ถ่ินที่อยูอาศัยของสัตวปาถูกเปลี่ยนเปนชุมชนและพืน้ที่เกษตร ปาไมที่อุดมสมบูรณถูกบุกรุกแผวถางเปนไรราง สัตวปาถูกนาํมาเปนสินคาและอาหาร บางชนิดอยูในสภาพที่กําลังจะสูญพันธุและบางชนิดถึงกบัสูญพันธุไปแลว ความพยายามในการจดัตั้งอทุยานแหงประเทศไทยเริ่มจริงจังและเกดิผลสําเร็จ โดยมีวัตถุประสงคเพื่ออนุรักษ ดูแล ปองกัน และปราบปราม การลักลอบทําลายทรัพยากรธรรมชาติทุกชนิดที่อยูในอุทยานแหงชาติ

Page 2: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

2

เพื่อรักษาสภาพธรรมชาติใหอยูในสภาพธรรมชาติ สําหรับเอื้ออํานวยประโยชนดานการศึกษาคนควา วิจัย และงานวชิาการตางๆ เพื่อคงไวซ่ึงพืน้ที่ที่มีความงามเปนพิเศษ สําหรับเอื้ออํานวยประโยชนดานการทองเที่ยวและพักผอนหยอนใจบนพืน้ฐานของการจดัการใหมีการพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกโดยเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาตแิละสิง่แวดลอมนอยที่สุด ตลอดจนดําเนินกจิกรรมการสื่อความหมาย ธรรมชาติตางๆ สําหรับนักทองเที่ยวที่สอดคลองอยางเปนระบบ (กรมปาไม, 2545)

แมวาภาครัฐจะไดหามาตรการในการปองกันดแูลรักษาพื้นที่ปาอนุรักษซ่ึงอยูในรูปของ

การประกาศจดัตั้งเปนอทุยานแหงชาติ แตในรอบทศวรรษที่ผานมาประเทศไทยมกีารขยายตวัทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี โดยใหความสําคัญทางดานวตัถุเงินทอง ขณะเดียวกนัก็เปนผลสะทอนกลับมาสรางปญหาใหกับมนษุย เนื่องจากมกีารทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อนํามาสนองความตองการและเปนวัตถุดิบเพื่อสรางความสะดวกสบาย การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางฟุมเฟอยและเรงดวน เปนเหตใุหพืน้ที่อนุรักษอยางเชนอุทยานแหงชาติไดรับผลกระทบจากการบุกรุกทําลายโดยฝมือมนุษย เชนเดยีวกับอทุยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน–เลย ซ่ึงประสบปญหาความขดัแยงกับชุมชนทองถ่ินที่อาศัยอยูในเขตอทุยานหรืออยูใกลเคียงกับพืน้ที่อุทยานที่บุกรุกเขาไปในพืน้ทีอุ่ทยานเพราะตองการที่ดินทํากิน และแมวารัฐบาลไดมีนโยบายผอนปรนใหราษฎรอาศัยและทํากนิในพืน้ที่อนุรักษที่ไมลอแหลม โดยมีเงื่อนไขวาจะตองไมทําใหเกิดความเสียหายตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยอยูภายใตกฎหมาย ระเบยีบ ขอบังคับ และใหคํานึงถึง ความจําเปนในการดํารงชีวติของราษฎรเพื่อบรรเทาปญหาความยากจน เพื่อใหการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติเกิดประโยชนอยางเหมาะสมเปนธรรมและยั่งยืน โดยเนนใหราษฎรเขามามีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น จากสถานการณดังกลาวผูศึกษาไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของปญหาซับซอนในการที่จะบริหารจัดการงานอทุยานแหงชาตใิหมปีระสิทธิภาพ ลดปญหาขอขดัแยงเร่ือง “คนกับปา” ที่มีมาอยางยาวนาน ซ่ึงแนวทางหนึ่งในการลดความรุนแรงของปญหาดังกลาวคอื การใหราษฎรเขามามีบทบาทในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางเปนรูปธรรม ผูศึกษาจึงใหความสนใจทีจ่ะศึกษาบทบาทของราษฎรในพื้นที่ที่มีตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย เพือ่นําผลการศึกษาที่ไดมาเปนแนวทางในการบริหารจัดการงานอุทยานแหงชาติใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น อันจะสงผลใหทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จงัหวดัขอนแกน-เลย คงความอุดมสมบูรณไวเกื้อหนนุตอการดํารงชีวติของราษฎรและการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนตอไป

Page 3: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

3

วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อศึกษาบทบาทของราษฎรในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในเขตอุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน - เลย 2. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในเขตอุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน - เลย

ขอบเขตของการศึกษา

การศกึษาครั้งนี้เปนการศกึษาปจจยัตางๆ ทีม่ีผลตอการมบีทบาทในการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมในอุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน-เลย ซ่ึงผูศกึษาไดกาํหนดขอบเขตของการวิจยัไว 2 ดาน คือ 1. ขอบเขตดานพืน้ที่ คือ อุทยานแหงชาตภิผูามาน ซ่ึงมเีนื้อที่ประมาณ 350 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 218,750 ไร อาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางสวนของปาสงวนแหงชาติปาดงลาน ทองที่ตําบลนาหนองทุม อําเภอชุมแพ ตําบลหวยมวง ตาํบลวังสวาบ ตําบลนาฝาย ตําบลภูผามาน อําเภอภูผามาน จังหวัดขอนแกน และพืน้ที่บางสวนของปาสงวนแหงชาติปาภูเปอย ทองที่ตําบล ภูกระดึง และตําบลศรีฐาน อําเภอภกูระดงึ จังหวดัเลย โดยไดประกาศเปนอุทยานแหงชาติตาม พระราชกฤษฎีกาในราชกจิจานุเบกษา ฉบับพิเศษเลม 108 ตอนที่ 215 ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2534 เปนอุทยานแหงชาติลําดับที่ 72 ของประเทศไทย 2. ขอบเขตดานประชากร คอื การศกึษาบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพฒันาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย ทําการสํารวจประชากรที่เปนชุมชนที่อาศยัอยูในและรอบ ๆ เขตอุทยาน ซ่ึงไดรับผลกระทบจากการจัดตั้งอุทยานแหงชาติ หลังจากที่ไดมกีารยกเลิกการสัมปทานทําไม และมีโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจดัตั้งหมูบานปาไมขึ้นในพื้นที่ปาไมและมแีผนจัดตั้งอุทยานแหงชาติ โดยแบงออกเปน 9 ชุมชน จํานวน 662 ครัวเรือน (ตารางที่ 1 และ ภาพที ่1)

ระยะเวลาของการศึกษา ทําการศึกษาบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพฒันาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิละส่ิงแวดลอมในเขตอุทยานแหงาติภูผามาน จังหวดขอนแกน – เลย ตั้งแตเดอืนมกราคม 2551 ถึง เดือนพฤษภาคม 2551 เปนระยะเวลา 5 เดือน

Page 4: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

4

ตารางที่ 1 ชุมชนที่อาศยัอยูในและรอบ ๆ เขตอุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวดัขอนแกน-เลย

ที่มา : อุทยานแหงชาตภิูผามาน, 2551

ลําดับท่ี

ชุมชน/พื้นท่ี ตําบล อําเภอ จังหวัด จํานวนครัวเรือน

1. หวยหมอแตก-ดงมะไฟ (วังสวาบ) วังสวาบ ภูผามาน ขอนแกน 114

2. หวยหมอแตก-ดงมะไฟ (วังกกแกว)

วังสวาบ ภูผามาน ขอนแกน 120

3. ตาดฟา-ดงสะคราน วังสวาบ ภูผามาน ขอนแกน 111

4. ภูหินกอง (หวยซอ,หวยเตย, หวยมวง, ทรัพยสมบูรณ)

หวยมวง ภูผามาน ขอนแกน 40

5. ซําผักหนาม นาหนองทุม ชุมแพ ขอนแกน 73

6. หนองจาน (สาขาซําผักหนาม) นาหนองทุม ชุมแพ ขอนแกน 84

7. หวยหมากหมาง (นายางเหนอื) ภูกระดึง ภูกระดึง เลย 1

8. หวยหินปนู-หวยหินเหล็กไฟ (นายางใต)

ภูกระดึง ภูกระดึง เลย 82

9. วังอีเมียง (นานอย,นาโก) ศรีฐาน ภูกระดึง เลย 37

Page 5: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

ภาพที่ 1 แผนที่แสดงเชตชมุชนที่อาศยัอยูในและรอบ ๆ เขตอุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวดัขอนแกน-เลย

Page 6: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

6

นิยามศัพทเฉพาะ ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดกําหนดนยิามศัพทเฉพาะเพื่อใชในการศกึษาไวดังนี ้ บทบาท หมายถึง ลักษณะพฤติกรรมที่กําหนดโดยฐานะ ตําแหนง รวมถึงบทบาทตามอุดมคติ หรือบทบาทที่ผูดํารงตําแหนงทางสังคมควรปฏิบัติ และบทบาทที่เปนจริงหรือบทบาทที่ผูดํารงตําแหนงทางสังคมตองปฏิบัติจริง การพัฒนา หมายถึง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรูปแบบการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมทีม่ีอยูเดิมใหมีความเหมาะสมและบุคคลสามารถทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับความตองการของบุคคลและวัตถุประสงคของการจัดตั้งอุทยานแหงชาติ การอนุรักษ หมายถึง แนวความคิดในการดูแล ปองกัน รักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมไมใหถูกทําลายหรือเสื่อมสภาพลง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมหมายถึง ส่ิงตางที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสิ่งนั้นมนุษยสามารถนําไปใชประโยชนได เชน ดนิ น้ํา ปาไม ทุงหญา สัตวปา พลังงาน ระบบนิเวศนบนบก ระบบนิเวศนในน้ํา ลักษณะภูมิอากาศ เปนตน การมีบทบาทในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หมายถึง การที่ราษฎรเขามามีสวนรวมในการดําเนนิการดานการอนรัุกษทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม ในลักษณะของการเขารวมตั้งแตการวางแผน การลงมือปฏิบัติ การแบงปนผลประโยชน และตดิตามประเมินผลงานดวยความสมัครใจ เพื่อใหบรรลุผลตามวัตถุประสงค

ความรูเกี่ยวกบัการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หมายถึง ความรูในการใชประโยชน ดแูลปองกัน รักษาทรพัยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหไดอยางยั่งยืนโดยไมใหถูกทําลายหรือเสื่อมสภาพลง

Page 7: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

7

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1. ทราบถึงความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของชุมชนที่อาศัยอยูในและรอบ ๆ เขตอุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย 2. ทราบถึงระดับการมีบทบาทของราษฎรในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมในเขตอุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน - เลย 3. ทราบถึงปจจัยที่มีผลตอบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในเขตอุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน – เลย 4. ทราบถึงปญหาดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในอุทยานแหงชาต ิภูผามาน จังหวัดขอนแกน – เลย 5. ผลการศึกษาจะเปนขอมลูในการตัดสนิใจ ใหกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของในพืน้ที่ไดหาแนวทางปฏิบัติในการพฒันาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมในพืน้ที่อุทยานแหงชาต ิภูผามาน จังหวัดขอนแกน – เลย ใหเปนไปอยางเหมาะสม มีประสิทธิผล และประสิทธภิาพมากยิ่งขึน้ตอไป

Page 8: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

8

บทที่ 2

การตรวจเอกสาร การศึกษาเรื่องบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย ผูวจิัยไดศึกษาแนวคิด และทฤษฎี ตลอดจนเอกสาร งานวิจยัที่เกี่ยวของกับหวัขอที่ศึกษา ดงันี้ 1. แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับบทบาท 2. แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการมีสวนรวม 3. แนวความคิดเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 4. ขอมูลทั่วไปของพื้นที่ที่ทําการศึกษา 5. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ

แนวความคดิและทฤษฎีเก่ียวกับบทบาท เพื่อใหเกิดความเขาใจในศึกษา ผูศึกษาจึงไดรวบรวมแนวคิดและทฤษฎีเกีย่วกับบทบาทไวดังนี ้ ความหมายของบทบาท ไดมีนักวิชาการหลายทานไดศึกษาและใหความหมายไว ดังนี ้ สุพัตรา (2516) ใหความหมายไววา หมายถึง การปฏิบัติตามสิทธิ หนาทีต่ามสภาพ(ตาํแหนง)

Page 9: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

9

อมรา (2521) ใหความหมายไววา หมายถึง สิทธิและหนาที่ในการประพฤติปฏิบัติ ที่บุคคลหนึ่งมีตอบุคคลอื่นในสังคม ทองคูณ (2523) ใหความหมายไววา หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวกับการใชอํานาจหนาที่ ความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับงานโดยตรงและงานพิเศษที่ตองกระทํา องคประกอบของบทบาท บทบาทที่บุคคลพึงกระทํานัน้ จะตองมีสวนประกอบในการพิจารณาหาบทบาทที่แทจริง ซ่ึง พัชนี (2522) ไดจําแนกองคประกอบของบทบาทไว ดงนี ้ 1. สวนประกอบที่เปนตามกฎหมายและขอบงัคับที่ปรากฎอยูอยางชัดแจง (Pivotal Attribute) ไดแกสวนของบทบาทที่กฎหมายและขอบังคับกําหนดใหกระทําหรือปฏิบัติ ถาบุคคลสวมบทบาทตามตําแหนงไมปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบขอบังคับที่ปรากฎอยางชัดแจง ก็ถือวาบุคคลนั้นไมไดแสดงบทบาทในตําแหนงนัน้ ๆ 2. สวนประกอบที่มีผลสําคัญตอบทบาทและจะขาดมไิด (Required Attribute) ไดแกสวนของบทบาทที่สําคัญ ถาขาดสวนนีแ้ลวจะทําใหบทบาทของตําแหนงผิดไป 3. สวนประกอบที่สงเสริมบทบาท (Peripheral Attribute) ไดแกบทบาทที่แมจะขาดหายไป หรือมิไดแสดงบทบาทนี้ ก็ไมทาํใหบทบาททีต่องการแสดงผิดไป การแสดงบทบาท การที่บุคคลแสดงบทบาทปรากฎออกมายอมจะหมายถึงบุคคลนั้น ๆ ไดกระทําในสิ่งที่ตนเองตองการหรือสังคมตองการ ซ่ึงสงวนและฐิติพงษ (2522) ไดกลาวถึงลักษณะของการแสดงบทบาทไว 3 ลักษณะ ดังนี ้ 1. บทบาทตามความคาดหวงั (Expected Role) เปนบทบาทที่ตองแสดงตามความคาดหวังของผูอ่ืน

Page 10: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

10

2. บทบาทตามลักษณะการรับรู (Perceived Role) เปนบทบาทที่เจาของสถานภาพรับรูเองวาตนควรมีบทบาทอยางไร 3. บทบาทที่แสดงจริง (Actual Role) เปนบทบาทที่เจาของสถานภาพแสดงจริง ซ่ึงเปนบทบาทตามที่คนอื่นคาดหวงั หรือเปนบทบาทที่ตนเองคาดหวัง หรืออาจเปนบทบาทที่ทั้งคนอื่นและตนเองไมไดคาดหวังก็ได ปจจัยท่ีสงเสริมบทบาท การแสดงบทบาทของบุคคลที่จะนําไปสูความสําเร็จตามที่ตนเองหรือสังคมตองการ จําเปนตองมีปจจัยทีจ่ะสงเสริมเพื่อใหสามารถแสดงบทบาทไดดแีละถูกตองยิ่งขึ้น ซ่ึงพัชนี (2522) ไดกลาวไวหลายประการที่สําคัญ ไดแก 1. ความตองการ (Need) ของบุคคล ซ่ึงเปนแรงจูงใจในการทํางานอันดับแรกเพือ่หาทางสนองความตองการของตนเอง ใหตนเปนที่ปรารถนา เปนที่ยอมรับ ไดแสดงความสามารถเพื่อประโยชนของกลุมหรือสังคมของตนเอง 2. การสื่อสาร (Communication) ความคาดหวงัของบทบาทใหไดทราบกนั เพื่อใหผูแสดงบทบาทไดเกดิความเขาใจในบทบาทของตัวเขาเองในองคการ และแสดงออกมาอยางชัดแจง 3. การสรางกลุม (Group building) หรือองคการขึ้นมา เพื่อรวมพลังการทํางานตามบทบาทที่ไดรับมอบหมาย ซ่ึงอาจเปนกลุมที่เปนทางการหรือไมเปนทางการก็ได 4. การคลอยตาม (Conformity) ของบุคคล เชน การยนิยอม การถูกชักชวน การทําตาม การเลียนแบบ การเชื่อฟง เปนตน ลักษณะพฤตกิรรมเหลานี้เปนการแสดงออกของการคลอยตาม เพื่อใหกลุมคงสภาพอยูนาน มีการปฏิบัติตามปทัสฐานของกลุมหรือของสังคม 5. ความสามารถ (Ability) แสดงบทบาทไดมากกวาหนึ่งบทบาทของบุคคลหรือกลุมที่เรียกวา หลายบทบาท (Multiple Role) ในของบทบาทที่แสดงออก (Manifest Role) ซ่ึงเห็นไดชัดเจนและบทบาทแฝง (Latent Role)

Page 11: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

11

บทบาทสิ่งจูงใจ บทบาทของสิ่งจูงใจเกี่ยวของกับการตัดสนิใจของบุคคล ที่จะเขารวมกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน ซ่ึงการตดัสินใจเรื่องนีเ้กี่ยวของกับการเปรียบเทียบระหวางผลประโยชนทีจ่ะไดรับจากกิจกรรมรวมกับขนาดของการเสียสละที่ผูเขารวมกิจกรรมจะตองยอมรับและเกี่ยวของกบัการแบงปนผลประโยชนที่เกิดขึ้นระหวางบุคคลที่อยูในทองที่นั้นกับบคุคลอื่นที่อยูหางไกล คือ ผูที่กําลังจะเขารวมกิจกรรมเกดิความรูสึกวาการเสียสละของตนเองนั้นไมเกิดผลอยางเพยีงพอ หรือผลประโยชนที่ไดไมคุมคากับการเสียสละ

แนวความคดิและทฤษฎีเก่ียวกับการมีสวนรวม เพื่อความเขาใจในการศึกษาเกี่ยวกับการมีสวนรวม จึงไดศึกษาแนวความคิดในดานตางๆ ดังนี ้ นิยามและความหมายของการมีสวนรวม การมีสวนรวมเปนพฤติกรรมที่ราษฎร หรือคนที่อยูรวมกนัในสังคมไดพัฒนาความรู ความสามารถ โดยแสดงออกในรูปแบบตาง ๆ เพื่อพัฒนาทรพัยากร ส่ิงแวดลอมและสังคม ซ่ึงการมีสวนรวมของราษฎรในการจดัการทรัพยากรสิ่งแวดลอม ตลอดจนระบบสังคมนั้นจะตองเกิดจากแนวความคิดหลาย ๆ ดาน เพื่อความเขาใจในการศึกษาเกี่ยวกับการมีสวนรวมใหดีขึน้ จึงไดศกึษาแนวความคิดในดานตางๆ ที่เกี่ยวของเปนการมีสวนรวม ดังนี ้ WHO/UNICEF (1978) ไดใหความหมายของการมีสวนรวม คือ การทีก่ลุมของราษฎรกอใหเกิดการรวมตัวที่สามารถจะกระทําการตัดสินใจใชทรัพยากรและมีความรบัผิดชอบในกิจกรรมที่กระทําโดยกลุม กรรณิกา (2524) กลาววา การมีสวนรวม หมายถึง ความรวมมือของราษฎร ไมวาของปจเจกบุคคล หรือกลุมงานที่เห็นพองตองกัน และเขามารวมรับผิดชอบ เพื่อดําเนนิการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ตองการ โดยการกระทําผานกลุม หรือองคกรเพื่อใหบรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค

Page 12: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

12

สุรีย (2531) ไดกลาวถึงการมีสวนรวมเปนการรวมมอื รวมปฏิบัติ และรวมรับผิดชอบดวยกัน ไมวาจะเปนของปจเจกบุคคล หรือของกลุม ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดการดําเนินการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลง ในทิศทางที่ตองการ และเพือ่บรรลุเปาหมายที่กําหนดไว กุนจันทร (2535) ไดสรุปถึง การมีสวนรวม หมายถึง การที่ปจเจกบคุคลก็ดี กลุมคนหรือองคกรราษฎร ไดอาสาเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจ การดําเนนิโครงการแบงปนผลประโยชน และการประเมนิผลโครงการพัฒนาดวยความสมัครใจ โดยปราศจากขอกําหนดที่มาจากบุคคลภายนอก และเปนไปเพือ่ตอบสนองตอความตองการของสมาชิกในชุมชนรวมทัง้มีอํานาจอิสระ ในการแบงปนผลประโยชนที่เกิดจากการพัฒนาใหกับสมาชิกดวยความพึงพอใจ และผูเขามามีสวนรวมมีความรูสึกเปนเจาของโครงการดวย โสภณ (2533) สรุปวา การมีสวนรวมของราษฎรในกจิกรรมตางๆ ของชุมชนนั้น มปีจจัยทางสถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจ อาชีพ และทีอ่ยูอาศัยเขามาเกี่ยวของและกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชนจะไดรับความรวมมือบรรลุความสําเร็จไดจะตองไดรับความเห็นพองตองกันของชุมชนเปนสวนมาก หรือการดําเนนิงานกิจกรรมในนามกลุมองคกรของชุมชน บรรจง (2540) สรุปวา การมีสวนรวมของราษฎร หมายถึง ความรวมมือของราษฎร หรือกลุมคนที่เห็นพองตองกันเขารวมกิจกรรม เพื่อดําเนนิการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทาง ที่ตองการโดยกระทําผานกลุมหรือองคกรเพื่อบรรลุถึงการเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค จากความหมายของการมีสวนรวมที่มีผูใหคําจํากัดความไวหลายความหมายพอสรุปไดวา การมีสวนรวม หมายถึง การที่ปจเจกบุคคลก็ดี กลุมคนหรือองคกรราษฎรก็ดี ไดอาสาเขามามีสวนรวมในการวางแผน รวมในการดําเนินโครงการรวมแบงปนผลประโยชน และรวมติดตามผลดวยความสมัครใจ โดยปราศจากขอกําหนดทีม่าจากบุคคลภายนอก และเปนไปเพื่อตอบสนองตอความตองการของสมาชิกในชุมชน รวมทั้งมีอํานาจอิสระในการแบงปนผลประโยชนที่เกดิจากการพัฒนาใหกับสมาชิกดวยความพึงพอใจ และผูเขามามีสวนรวมมีความรูสึกเปนเจาของโครงการดวย ลักษณะและขั้นตอนการมีสวนรวม ลักษณะและขัน้ตอนการมีสวนรวม มีผูเสนอแนวความคิดตางๆ ดังนี ้

Page 13: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

13

เจิมศักด (2527) ไดสรุปขั้นตอนของการมีสวนรวมของราษฎรในการพฒันาไว 1. การมีสวนรวมในการคนหาปญหา และสาเหตุของปญหา 2. การมีสวนรวมในการวางแผนดําเนินการ 3. การมีสวนรวมในการลงทุน และปฏิบตัิงาน 4. การมีสวนรวมในการติดตาม และประเมินผล ปกรณ (2530) กลาววา การมีสวนรวมในการพัฒนาของราษฎร คือ การที่ราษฎร จะเขามามีบทบาท ในการรวมคิด รวมทาํ รวมแกไข และรวมมีผลประโยชน ซ่ึงกระทําได 4 ลักษณะ คือ 1. เปนผูมีบทบาทสําคัญในการกําหนดวา อะไรคือความจําเปนขัน้พื้นฐานของชุมชน 2. เปนผูระดมทรัพยากรตางๆ เพื่อตอบสนองความจําเปนพื้นฐาน 3. เปนผูมีบทบาทในการปรบัปรุงวิธีการกระจายสินคาและบริการใหสมบูรณขึ้น 4. เปนผูไดรับความพึงพอใจและเกิดแรงจูงใจที่จะสรางกระบวนการพัฒนาอยางตอเนื่อง สมศักดิ์ (2532) ไดกลาวถึงขัน้ตอนของการมีสวนรวมของราษฎรในการจดัการปาชุมชน ซ่ึงจะตองมีทกุขั้นตอน ดังนี้ 1. การมีสวนรวมในการตัดสินใจ 2. การมีสวนรวมในการลงมือทําเอง 3. การมีสวนรวมในการแบงปนผลประโยชน 4. การมีสวนรวมในการประเมินผล

Page 14: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

14

Cohen and Uphoff (1977) ไดแบงชนดิของการมีสวนรวมออกเปน 4 ชนิด ไดแก 1. การมีสวนรวมในการตัดสินใจ (decision making) ประกอบไปดวย 3 ขั้นตอน ไดแก ริเร่ิมตัดสินใจ ดําเนนิการตัดสินใจ และตดัสินใจปฏิบัติการ 2. การมีสวนรวมในการปฏิบัติการ (implementation) ประกอบดวยการสนับสนุนดานทรัพยากรการบริหาร และการประสานความรวมมือ 3. การมีสวนรวมในผลประโยชน (benefits) ไมวาจะเปนผลประโยชนทางดานวัสดุ ผลประโยชนทางสังคม หรือผลประโยชนสวนบุคคล 4. การมีสวนรวมในการประเมินผล (evaluation) วิไลพร (2534) ไดสรุปแนวคิดเกีย่วกับลักษณะการมีสวนรวมเพื่อเปนกรอบในการศึกษาไวดังนี ้ 1. การมีสวนรวมศึกษาปญหา 2. การมีสวนรวมวางแผน 3. การมีสวนรวมปฏิบัติงาน 4. การมีสวนรวมติดตามผล 5. การมีสวนรวมบํารุงรักษา จากแนวความคิดเกี่ยวของกบัลักษณะและขั้นตอนการมสีวนรวมดังกลาวขางตน จะเห็นไดวาสวนใหญแลว จะมีลักษณะและขั้นตอนทีไ่มแตกตางกันมากนัก ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดสรุปรวบรวมแนวความคิดเกีย่วกบัลักษณะ และขั้นตอนการมสีวนรวม เพื่อกําหนดเปนกรอบในการศกึษา ไวดังตอไปนี ้

Page 15: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

15

การมีสวนรวมประกอบดวยข้ันตอนของการมีสวนรวม ดังนี ้ 1. วิเคราะหหาสาเหตุและปญหา 2. ประชุมวางแผนดําเนนิการ 3. ปฏิบัติตามแผนดวยการลงมือทํา 4. ประเมินผลงานที่ไดดําเนนิการไปแลวและรวมรับผิดชอบ เงื่อนไขการมสีวนรวม นิรันดร (2527) ไดกลาวถึงเงื่อนไขการมสีวนรวมไว 3 ประการ ดังนี้ 1. ราษฎรตองมีอิสระภาพทีจ่ะมีสวนรวม (freedom to participation) 2. ราษฎรตองสามารถที่จะมีสวนรวม (ability to participation) 3. ราษฎรตองเต็มใจที่จะมีสวนรวม (willingness to participation) นอกจากนี้ความสําเร็จของการมีสวนรวม ยงัขึ้นกับเงื่อนไขดังตอไปนี ้ 1. ราษฎรจะตองมีเวลาที่จะมีสวนรวมกจิกรรมการมีสวนรวมใหเหมาะกับสถานการณฉุกเฉิน 2. ราษฎรจะตองไมเสียเงินทอง คาใชจายในการมีสวนรวมมากเกินกวาที่เขาประเมินผลตอบแทนที่จะไดรับ 3. ราษฎรตองมีความสนใจที่สัมพันธสอดคลองกับการมีสวนรวมนัน้

Page 16: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

16

4. ราษฎรตองสามารถสื่อสารรูเร่ืองกันทั้งสองฝาย 5. ราษฎรตองไมรูสึกกระทบกระเทือนตอตําแหนงหนาที่หรือสถานภาพทางสังคมหากจะมีสวนรวม Chaturvedi and Mitra (1982) ไดเสนอเงือ่นไขของการมสีวนรวมทีจ่ะกอใหเกดิการพัฒนา มี 3 ประการ ดังนี ้ 1. ความชวยเหลือจากภายนอก ซ่ึงอาจจะเปนองคกรพัฒนาของรัฐ องคกรเอกชน นักวิชาการและนักพัฒนาในรูปของการชวยเหลือทางดานการเงิน การเมือง และความรูเทคนิค 2. ความพรอมภายใน เชน ผูนํา สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ และกายภาพ ชองโอกาส การเขารวม วฒันธรรมประเพณีทองถ่ิน 3. การบํารุงรักษา เชน ในรปูของสิ่งจูงใจ การบริหาร และการจดัการองคกร และกจิกรรม ตลอดจนการแทรกแซงจากภายนอก สรุปแนวความคิดเกี่ยวกับเงือ่นไขของการมีสวนรวม ดังนี้ 1. ราษฎรตองมีความอิสระ และสามารถที่จะมีสวนรวมไดอยางเสรี โดยไมตองเสยีคาใชจายมากเกินความสามารถของเขา 2. ราษฎรตองไดรับการสนับสนุนจากหลายฝาย เชน หนวยงานราชการ องคกรเอกชน และนักพัฒนาทองถ่ิน 3. ราษฎรตองมีความสนใจที่สัมพันธกับการมีสวนรวมนั้นจะสามารถสื่อสารรูเร่ืองในกิจกรรมตางๆ ไดอยางด ี

Page 17: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

17

เคร่ืองมือวัดระดับการมีสวนรวมของราษฎร Chapin (1997) ไดเสนอเครือ่งชี้วัดระดับการมีสวนรวมของราษฎร โดยไดกําหนดระดับความสําคัญของการมีสวนรวมกิจกรรมของสมาชิกในองคกรของชุมชน ดังนี ้ 1. การมีความสนใจและรวมประชุม 2. การใหการสนับสนุนชวยเหลือ 3. การเปนสมาชิกและกรรมการ 4. การเปนเจาหนาที ่ ลักษณะของผูเขามามีสวนรวม Cohen and Uphoff (1977) ไดแบงลักษณะของผูเขามามีสวนรวมออกเปน 8 ลักษณะ ดังนี ้ 1. อายแุละเพศ ปจจยันี้เปนตวัแปรที่บงบอกถึงลักษณะสวนบุคคล จะมปีญหาอยูตรงที่วา การกําหนดอายุของคนกลุมตางๆ คือ จะกาํหนด อายุตามแบบปฏิทินหรือตามบทบาทหนาที่ของแตละหนวยงาน ความสําคัญของประชากรในการมีสวนรวม ก็คือ การมีสวนรวมเชิงเศรษฐกิจ หรือการมีประชากรกลุมวัยทํางานมาก ๆ ในชุมชน เชน โครงการปรับปรุงพื้นที่เล้ียงสัตวก็ตองใชคนอายรุะดับปานกลาง การสรางสะพานก็ไมตองใชคนพวกนี้ และสําหรับเรื่องเพศนั้น ในปจจบุันจะมแีนวโนมวาเพศหญิงจะเขามามีบทบาทในการพัฒนามากขึ้น 2. ฐานะครอบครัว มีสวนสําคัญมากหากพิจารณาในดานโครงสรางของสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่ง การมีสวนรวมในการตดัสินใจ โดยท่ัวไปแลวหวัหนาครอบครัวมักจะมีอํานาจ ในการตัดสนิใจมากกวาสมาชิกคนอื่นๆ ในครอบครัว ฉะนั้นเราจะตองศึกษาหวัหนาครอบครัวของอาชีพตางๆ หรือเผาตางๆ เขามารวมประชมุ หรือมีสวนรวมในการอภปิรายแตกตางกันอยางไร

Page 18: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

18

3. การศึกษา ลักษณะดานการศึกษานี้ จะเกี่ยวกับวัตถุประสงคดานเทคนิค หรือความเสมอภาคของโครงการในเขตชนบทที่กําหนดไวชัดเจนกค็ือ คนในชุมชนจะตองอานออกเขียนไดเปนอยางนอย ซ่ึงวัดไดโดยดูจากจาํนวนปที่เขาเรียนอยูในโรงเรียน แตในทางที่ดแีลว ควรพิจารณาปจจัยดานอายแุละเพศประกอบดวย เพราะคนที่ไมรูหนงัสือที่มีอายุ 25 ป ยอมไดรับความชวยเหลือในการใหอานออกเขียนไดมากกวาคนที่มีอาย ุ 65 ปขึ้นไปที่ไมรูหนังสอื 4. การแบงแยกทางสังคม เชื้อชาติ ศาสนา ชนชั้นและถิ่นกําเนิด ลักษณะดานนี้จะมีความซับซอนมากในการวิเคราะหการมีสวนรวมโครงการดานนี้ จึงใหพิจารณาเฉพาะบริเวณที่มีประชากรที่มคีวามแบงแยกในเรื่องดังกลาวนี้ที่เดน ๆ เทานั้น พื้นทีใ่ดที่ไมมีปญหาดานชนกลุมใหญชนกลุมนอย ก็ไมตองใหความสําคัญอะไรมากนัก แตเราไมสามารถที่จะบอกไดชัดเจนลงไปไดวาระหวางความแตกตางทางสงัคมกับความแตกตางทางวัฒนธรรม ส่ิงไหนมีความสําคัญกวากัน ลักษณะความแตกตางดานนีจ้ะมีความสัมพันธตอความแตกตางดานระดับการศกึษาและระดับของรายได เปนตน 5. อาชีพ ลักษณะทางอาชพีนี้ กําหนดไวเพื่อใหการกาํหนดประชากรกลุมเปาหมาย ที่จะไดรับผลประโยชนทําไดงายขึ้น โดยทั่วไปแลวอาชพีมักจะแยกออกเปนอาชีพการเกษตรและไมใชการเกษตร แตทั้งนี้ขึน้อยูกับโครงสรางของอาชีพในพืน้ที่ที่โครงการดําเนินอยู 6. ระดับและแหลงของรายได หากพิจารณาถึงกลุมผูยากจนในชนบทแลวการวิเคราะหการมีสวนรวมสามารถจะวัดไดในรูประดับรายไดของผูเขามามีสวนรวม แมคอนขางจะยากในการวัดก็ตาม เพราะวาขอมลูเกี่ยวกับรายไดนี้มักจะมีความไมติดตอกนัและเชื่อถือไมคอยได ชาวบานสวนใหญมักจะปกปดรายไดทีแ่ทจริงเนื่องจากกลวัจะเสยีภาษี ดังนั้น การวัดระดับ รายไดจึงมักใชการวดัตวัแทน เชน ระดับการศึกษา หรืออาชีพ หรือการถือครองที่ดิน และอีกประเดน็หนึ่ง ไดแก แหลงของรายได เพราะปจจุบันเราไดเนนทีจ่ะเปลี่ยนจากการเกษตรเพยีงเพื่ออุปโภคบริโภค มาเปนการเกษตรเพื่อการคา หากปรากฏวาคนใดมีสินคาการเกษตรหลายชนิดก็แสดงวามีแหลงรายไดหลายทางและมีรายไดดีขึ้น 7. ระยะเวลาที่ตั้งถ่ินฐานในทองถ่ิน และระยะทางจากบานไปยังสถานที่ดําเนนิโครงการ คนที่มีระยะเวลาในการตั้งถ่ินฐานในทองถ่ินนาน ก็จะเขามามีสวนรวมมากกวาคนที่มีระยะเวลา การตั้งถ่ินฐานในทองถ่ินไมนาน ในทํานองเดียวกันหากระยะทางจากที่อยูอาศัยไปยังสถานที่ดําเนินโครงการใกล คนก็จะเขามามีสวนรวมมากกวาคนที่มีระยะทางจากทีอ่ยูอาศัยไปยังสถานที่ดําเนินโครงการไกล

Page 19: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

19

8. การถือครองที่ดินและสถานภาพการไดรับวาจาง หากพิจารณาในกลุมผูที่ยากจนที่สุดแลว การวิเคราะหการเขามามีสวนรวมจากผูที่ไมมทีี่ดิน หรือผูวางงานในดานการตัดสินใจ การดําเนนิการโครงการ และการไดรับผลประโยชนจากโครงการนั้น จะตองทําไปในลกัษณะเฉพาะอยาง เพราะเราถือวาคนพวกนี้เปนชนกลุมอาชพีพิเศษกลุมหนึ่งเทานั้น แตก็ตองใหความเอาใจใสเทา ๆ กับคนพวกอืน่ จากลักษณะสําคญัของการมีสวนรวมดังกลาวขางตน สรุปไดวา กระบวนการพฒันาดานตางๆ จะบรรลุวัตถุประสงคไดยากมาก หากขาดการมีสวนรวมของราษฎรในชุมชน และบางโครงการอาจไมสามารถดําเนินการได เพราะราษฎรไมเห็นดวย หรือการเกิดความขัดแยงกับเจาหนาที่ผูเขามาปฏิบัติงานในพื้นที่ ดังนัน้ การมีสวนรวมของราษฎรนับวามีความสําคัญอยางมากตอความสําเร็จของโครงการ และราษฎรตองเขามามีสวนรวมในทุกขั้นตอนของการดําเนินโครงการ ปจจัยท่ีมีผลตอการมีสวนรวม ปจจัยที่ทําใหราษฎรเกิดการมีสวนรวมนัน้ ไดมีผูเสนอปจจัยตางๆ ที่มกีิจการมีสวนรวม ดังนี ้ ณรงค (2525) ไดรวบรวมแนวความคิดของ Hay เกี่ยวกับการมีสวนรวมวา การมีสวนรวมทางสังคมของบุคคลนั้น มีปจจัยที่เกี่ยวของ คือ สถานภาพทางสังคม สถานภาพทางเศรษฐกิจ สถานภาพทางอาชีพ และทีอ่ยูอาศัย โดยบุคคลที่มีสถานภาพทางสังคม และเศรษฐกิจสูงจะเขารวมในกจิกรรมตางๆ ของชุมชนมากกวาบุคคลที่มีสถานภาพทางสังคม และเศรษฐกิจต่ํา นิรันดร (2527) กลาววา การมีสวนรวมประกอบดวยปจจัย 3 ประการ ดังนี ้ 1. มีความเกีย่วของทั้งทางดานจิตใจ อารมณ (Ego-involved) และดานการงาน (Task-involved) 2. มีการประสานงานเพื่อใหบรรลุจุดประสงคของกลุมและมีการติดตอส่ือสารทั่วไป ระหวางบุคคลในกลุมนัน้ 3. มีความรับผิดชอบรวมกบักลุมทั้งในดานความสําเร็จและความลมเหลวเปนความรูสึกที่ผูกพันธกับการทํางานและการเชื่อถือไววางใจ

Page 20: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

20

Alvin (1959) กลาวถึง ปจจยัที่ทําให เกิดการมีสวนรวม ไดแก เพศ อายุ สถานภาพทางสังคม การศึกษา อาชีพ ถ่ินที่อยูอาศัย ระยะเวลาที่อาศยัอยูในทองถ่ิน จาํนวนสมาชิกในครอบครัว และลักษณะของครอบครัว ตลอดจนคานยิมของสังคม สุรีย (2531) กลาววา ผูเขารวมกิจกรรมสังคมอยางแข็งขันและไมแขง็ขันมักจะมีฐานะแตกตางกันออกไป และมีมโนภาพที่สําคัญเกี่ยวเนื่องกับพฤติกรรมของเขา ประเพณรีวมตัว แนวความคิดที่เขาถูกคาดหวังใหเขารวม ในกจิกรรมบางอยาง บุคคลที่มีสภานภาพทางสังคม (การศึกษา อาชีพ และรายไดสูง) มักจะเขารวมกิจกรรมบางอยางแข็งขันมากกวา บคุคลที่มีสถานภาพทางสังคมต่ํา ประเวศ (2532) กลาววาการมีสวนรวมของราษฎรเปนความคิดริเร่ิมของทองถ่ิน ในการทําใหเกดิการจดัองคกร และเกดิการปรากฏขึ้นของผูนําตามธรรมชาติ ผูนําของชุมชน ผูนําที่ ทางราชการแตงตั้งอาจจะไมใชผูนําจริง ๆ ที่ชาวบาน ยอมรับนับถือ ผูนําทางธรรมชาติ อาจจะเปนชาวบาน เปนพระ เปนผูใหญบาน เปนกํานัน เปนครู เปนใครก็ตามแลวแตสถานการณ World Health Organization (1981) ไดเสนอปจจยัของการมีสวนรวม 3 ประการ ดังนี ้ 1. ปจจัยส่ิงจูงใจ หมายถึง การที่ราษฎรจะเขาไปมีสวนรวมในกิจการใด ๆ นั้น จะมีเหตุผลที่สําคัญ คือ ประการแรกมองเห็นวาตนจะไดผลตอบแทนในสิ่งที่ทําไป ประการที่สองการไดรับการบอกกลาวหรือไดรับการชักชวนจากบุคคลอื่นใหเขารวม โดยมีส่ิงจูงใจเปนตัวนํา 2. ปจจยัโครงสรางของโอกาสหรือชองทางในการเขารวม หมายถึง การมองเห็นชองทางในการมีสวนรวมและมองเหน็ประโยชนทีจ่ะไดรับหลังการมีสวนรวม ดังนัน้พืน้ฐานทางดานโครงสรางของชองทางการมีสวนรวม จึงควรมีลักษณะดงันี้ คือ ประการแรก เปดโอกาสใหทกุ ๆ คนในชุมชนมีโอกาสเขาไปมีสวนรวม ในการพัฒนารูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ประการที่สอง มีการกําหนดเวลาที่ชัดเจนแนนอนเพื่อผูที่จะเขาไปมีสวนรวมจะไดสามารถกําหนดเงื่อนไขตามสภาพเปนจริงของตนได และประการที่สาม มีการกําหนดลักษณะของกิจกรรมทีแ่นนอนวาจะทําอะไร 3. ปจจัยดานอํานาจในการสงเสริมกิจกรรมของการมีสวนรวม หมายถึง การที่ราษฎรสามารถกําหนดเปาหมาย วธีิการ และผลประโยชนของกิจกรรมได

Page 21: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

21

ชูเกียรติ (2536) ไดกลาวถึงปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมออกไดเปน 3 ปจจัย ดังนี ้ 1. ปจจัยสวนบุคคล 2. ปจจัยทางดานสังคมและเศรษฐกิจ 3. ปจจัยดานการติดตอส่ือสาร Reeders (1971) ไดสรุปปจจัยตาง ๆที่มีผลตอการมีสวนรวมของราษฎรได 11 ประการ ดังนี้ 1. การปฏิบัติตนใหคลอยตามความเชื่อพืน้ฐาน กลาวคอื บุคคลและกลุมบุคคล ดูเหมือนจะเลอืกแบบวิธีการปฏิบัติ ซ่ึงสอดคลองและคลายคลึงกับความเชื่อพื้นฐานของตนเอง 2. มาตรฐานคุณคา บุคคลและกลุมบุคคลเหมือนจะปฏิบัติในลักษณะทีส่อดคลองกับมาตรฐานคุณคาของตนเอง 3. เปาหมายบุคคลและกลุมบุคคลดูเหมือนจะสงเสริมปกปองและรักษา เปาหมายของตนเอง 4. ประสบการณที่ผิดปกติธรรมดา พฤติกรรมของบุคคลหรือกลุมบุคคลบางครั้ง มีรากฐานมาจากประสบการณที่ผิดปกติธรรมดา 5. ความคาดหมาย บุคคลและกลุมบุคคลจะประพฤติตามแบบที่ตนคาดหมายวาจะตองประพฤตใินสถานการณเชนนั้น ทั้งยังชอบปฏิบัติตอผูอ่ืนในลกัษณะทีต่นคาดหวงัจากผูอ่ืนดวยเชนกนั 6. การมองแตตัวเอง บุคคลและกลุมบุคคลมักจะทําสิ่งตาง ๆ ซ่ึงคิดวาตัวเอง ควรกระทําเชนนั้น 7. การบีบบังคับ บุคคลและกลุมบุคคลมักจะทําสิ่งตาง ๆดวยความรูสึกวาตนถูกบังคับใหทํา 8. นิสัยและประเพณี บุคคลและกลุมบุคคลมักจะทําสิ่งตางๆ ซ่ึงเรามีนิสัยชอบกระทาํเมื่ออยูในสถานการณนั้น ๆ

Page 22: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

22

9. โอกาส บุคคลและกลุมบุคคล มักจะเขามามีสวนรวมในรูปแบบการปฏิบัติของสังคม โดยเฉพาะในทางที่เกี่ยวของกับจํานวนและชนิดของโอกาส ซ่ึงโครงสรางของสังคมเอื้ออํานวยเขามา มีสวนรวมกนัในการกระทําเชนนั้น เทาทีพ่วกเขาไดรับรูมา 10. ความสามารถบุคคลและกลุมบุคคล มักจะเขามามีสวนรวมกันในกิจกรรมบางอยางที่ตนเห็นวาสามารถทําในสิ่งที่ตองการใหเขาทําในสถานการณเชนนั้น 11. การสนับสนุน บุคคลและกลุมบุคคลมักจะเริ่มปฏิบัติเมื่อเขารูสึกวาเขาไดรับการสนับสนุนที่ดพีอใหกระทําการเชนนั้น จากแนวความคิดเกี่ยวกับปจจัยการมีสวนรวมดังกลาวขางตน สามารถนํามาสรุปไดวา ปจจัยที่ทําใหเกิดการมีสวนรวมมี 3 ปจจยั คือ ปจจัยสวนบุคคล ไดแก อายุ เพศ ปจจัยที่สอง คือ ปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม ไดแก การศึกษา อาชีพ รายได และการเปนสมาชิกกลุม สวนปจจัยที่สาม คือ ปจจัยทางการสื่อสาร ไดแก การติดตอส่ือสารทั้งสื่อสารมวลชน และสื่อบุคคลเปนตน ทฤษฎีท่ีเก่ียวของกับการมีสวนรวม การมีสวนรวม เปนพฤติกรรมอยางหนึ่งทีเ่กิดขึ้นภายในสังคม การศึกษาในครั้งนี้ จงึไดนําทฤษฎีที่เกี่ยวของมาเปนแนวทางในการศกึษา ดังนี้ อํานาจ (2531) ไดกลาวถึงทฤษฎีการมีสวนรวม 5 ทฤษฎี ซ่ึงสรุปไดดังตอไปนี ้ 1. ทฤษฎีการเกลี้ยกลอมมวลชน (Mass Persuasion) การเกลี้ยกลอม หมายถึง การใชคําพูดหรือการเขียน เพือ่มุงใหเกดิความเชื่อถือและการกระทํา ซึ่งการเกลี้ยกลอมมีประโยชนในการแกไขปญหาการขัดแยงในการปฏิบัติงาน และถาจะใหผลดีผูเกลี้ยกลอมจะตองมีศิลปะในการสรางความสนใจในเรื่องที่จะเกลี้ยกลอมใหเขาใจแจมแจงใหเกิดการศรทัธาตรงกับความตองการของผูถูกเกลี้ยกลอมโดยเฉพาะในเรื่องของความตองการของตนตามหลักทฤษฎีของ Maslow ที่เรียกวา ลําดับขั้นของความตองการ (hierarchy of needs) คือ ความตองการของตนเปนไปตามลําดับจากนอยไปหามาก มีทั้งหมด 5 ระดับ ดังนี้ (Maslow, 1954)

Page 23: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

23

ระดับที่ 1 ความตองการทางดานสรีระวิทยา (physiological needs) เปนความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย (survival needs) ไดแก ความตองการในเรื่อง อาหาร น้ํา เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค และความตองการทางเพศ เปนตน ระดับที่ 2 ความตองการความมั่นคงปลอดภัยของชีวิต (safety and security needs) ไดแก ความตองการที่จะอยูอยางมีความปลอดภัยจากการถูกทํารายรางกาย หรือถูกขโมยทรัพยสิน หรือความมั่นคงในการทํางาน และการมีชีวิตอยูอยางมั่นคงในสังคม ระดับที่ 3 ความตองการทางดานสังคม (Social needs) ไดแก ความตองการความรัก ความตองการที่จะใหสังคมยอมรับวาตนเปนสวนหนึ่งของสังคม ระดับที่ 4 ความตองการจะมีเกียรติยศชื่อเสียง (self esteem needs) ไดแก ความภาคภูมิใจ ความตองการดีเดนในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่จะใหไดรับการยกยองจากบุคคลอื่น ความตองการดานนี ้เปนความตองการระดับสูงที่เกี่ยวกับความมั่นใจตนเองในเรื่องของความรู ความสามารถและความสําคัญของบุคคล ระดับที่ 5 ความตองการความสําเร็จแหงตน (self actualization needs) เปนความตองการในระดบัสูงสุด ซ่ึงเปนความตองการที่อยากจะใหเกิดความสําเร็จในทุกสิ่งทุกอยางตามความนึกคดิของตนเองเพือ่จะพัฒนาตนเองใหดีที่สุดเทาที่จะทําได ความตองการนี้จึงเปนความตองการพิเศษของบุคคลที่จะพยายามผลักดันชวีิต ของตนเองใหเปนในแนวทางที่ดีที่สุดตามที่ตนคาดหวังไว จากทฤษฎีดงักลาวพอสรุปไดวา การเกลีย้กลอมเปนปจจัยหนึ่งที่จะนาํไปสูการมีสวนรวมของราษฎรได โดยเฉพาะถาการเกลี้ยกลอมนั้นเปนเรื่องที่ตรงกับความตองการขั้นพืน้ฐานที่เกิดความพึงพอใจของมนุษยแลว กย็อมจะสงผลใหเกิดการมีสวนรวมไดในที่สุด 2. ทฤษฎีการระดมสรางขวญัของคนในชาติ (National Morale) คนเรามีความตองการทางกายและใจ ถาคนมีขวัญดีผลการทํางานก็จะสูงตามไปดวย แตถาขวัญไมดผีลงานกจ็ะต่ําไปดวย ทั้งนี ้ เนื่องจากวาขวญัเปนสถานการณทางจติใจทีแ่สดงออกในรปูพฤติกรรมตางๆ นั่นเอง การจะสรางขวัญใหดีตองพยายามสรางทัศนคติที่ดีตอผูรวมงาน เชน การไมเอารัดเอาเปรียบ ใหขอเท็จจริงเกี่ยวกับงาน เปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น เปนตน และเมื่อใดก็ตาม

Page 24: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

24

ถาคนทํางานมีขวัญดีจะเกดิมคีวามสํานึกในการรับผิดชอบอันจะเกิดผลดีแกหนวยงานทั้งในสวนที่เปนขวัญสวนบุคคลและขวญัของกลุม ดังนัน้จะเหน็ไดวา ขวญัของคนเราโดยเฉพาะคนมีขวัญทีด่ีนั้น ยอมเปนปจจยัหนึ่ง ที่นําไปสูการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ไดเชนกัน 3. ทฤษฎีการสรางความรูสึกชาตินิยม (Nationalism) ปจจยัประการหนึ่งที่นําไปสูการมีสวนรวม คือ การสรางความรูสึกชาตนิิยมใหเกิดขึน้ซ่ึงหมายถึง ความรูสึกเปนตวัของตัวเองทีจ่ะอุทิศหรือเนนคานิยมเรื่องผลประโยชนรวมของชาติ มีความพอใจในชาติของตัว พอใจเกียรตภิมูิ จงรักภกัดีผูกพันตอทองถ่ิน 4. ทฤษฎีการสรางผูนํา (Leadership) การสรางผูนําจะชวยจูงใจใหราษฎรทํางานดวยความเตม็ใจ เพื่อบรรลุเปาหมาย หรือวัตถุประสงครวมกัน ทั้งนี้ เพราะผูนําปจจัยสําคัญของการรวมกลุมคน จูงใจคนไปยังเปาประสงค โดยทั่วไปแลวผูนําอาจจะมีทัง้ผูนําที่ดีเรียกวา ผูนําปฏิฐาน (positive leader) ผูนําพลวัตคือเคลื่อนไหวนําทํางานอยูเสมอ (dynamic leader) และผูนําทางไมดคีือไมมีผลงานสรางสรรคที่เรียกวา ผูนํานิเสธ (negative leader) 5. ทฤษฎีการใชวิธีและระบบทางการบริหาร (Administrative and Theory) การใชระบบบริหารในการระดมความรวมมือเปนวิธีหนึง่ที่งายเพราะใชกฎหมายระเบียบแบบแผนเปนเครื่องมือในการดาํเนนิการ แตอยางไรกต็ามผลของความรวมมอืยังไมมีระบบใด ดีที่สุดในเรื่องการใชการบริหารเพราะธรรมชาติของคน ถาทํางานตามความสมัครใจอยางตั้งใจ ไมมีใครบังคับก็จะทํางานดวยความรัก แตถาไมควบคุมเลยก็ไมเปนไปตามนโยบายและความจําเปนรวมกันของรัฐ เพราะการใชระบบบริหารเปนการใหปฏิบัติตามนโยบายเพื่อใหบรรลุถึงเปาหมาย

Page 25: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

25

แนวความคดิเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ความหมายของการอนุรักษ คําวา “การอนรัุกษ” แมจะเปนคําที่ทราบมาเปนเวลานานแลวแตกย็ังมบีุคคลอีกจํานวนมากที่ยังขาดความรูและความเขาใจในระดบัที่จะนาํไปประยกุตใช เนือ่งจากมีความสับสนในการใหเหตผุลสําหรับการอนรัุกษไดอยางเหมาะสม การคดิอยางละเอียดลึกซึ้ง จะทําใหบุคคลเขาใจไดวา การอนรัุกษ ก็คือขอเรียกรองใหมีการรักษาทางเลือกสําหรับมวลมนษุยชาติ เพื่อเผชิญกับปญหาสิ่งแวดลอมทีย่ังไมอาจลวงรูไดในอนาคต ซ่ึงการอนุรักษมิใชเปนเพยีงการกระทําโดยอาศัยหลักการดานมนุษยธรรมเทานั้น หากแตมุงถึงความอยูรอดของมวลมนุษยเปนสําคัญ (กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม, 2540) มีนักสิ่งแวดลอมหลายทานไดใหความหมายของการอนุรักษไวมากมาย นิวัติ (2537) กลาววา การอนุรักษ หมายถึง การรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติอยางชาญฉลาด ใหเปนประโยชนตอมหาชนมากที่สุด และใชเปนเวลายาวนานที่สุด ทั้งนี้ตองใหสูญเสียโดยเปลาประโยชนนอยที่สุด และตองกระจายการใชประโยชนจากทรัพยากรโดยทัว่ถึงกัน เกษม (2530) กลาววา การอนุรักษ หมายถึง การเก็บรักษา สงวน ซอมแซม และปรับปรุงการใชทรัพยากรธรรมชาต ิ เพื่อจะไดเอื้ออํานวยใหคณุภาพสงูในการตอบสนองความเปนอยูของมนษุยตลอดไป หรืออีกทางความหมายหนึ่ง คือเปนการใชความตองการและประโยชนไวเพื่อใชในอนาคต ความหมายของทรัพยากรธรรมชาต ิ ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource) หมายถึง ส่ิงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีประโยชน สามารถตอบสนองความตองการของมนษุย และมนษุยสามารถนาํมาใชประโยชนได เชน บรรยากาศ ดิน น้ํา ปาไม ทุงหญา สัตวปา แรธาตุ พลังงานรวมทั้งกําลังงานจากมนุษยดวย ในทางเศรษฐศาสตร ไดกวาววาปจจัยที่สําคัญในการผลิตไว 3 อยาง ไดแก ที่ดิน แรงงาน และทุน สําหรับที่ดินอาจหมายรวมถึง ส่ิงตางๆ ที่เปนสวนประกอบของที่ดิน เชน แหลงน้ํา ตนไม สัตวปา ตลอดจน สภาพดนิฟาอากาศ ซ่ึงลวนเปนทรัพยากรธรรมชาติทั้งสิ้น (นิวัติ, 2537)

Page 26: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

26

ประเภทของทรัพยากรธรรมชาต ิ เพื่อประโยชนในการจดัการและการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธภิาพ อาจจําแนกทรัพยากร ธรรมชาติไดเปน 3 พวกใหญ ๆ ไดแก (นวิตัิ, 2537) 1. ทรัพยากรที่ใชแลวไมหมดเปลืองหรือสูญหายไป 2. ทรัพยากรที่ทดแทนไดหรือรักษาไวได 3. ทรัพยากรที่ไมงอกเงยใชแลวหมดไป จากที่ผานมาทรัพยากรธรรมชาติตางๆ ที่มนุษยไดใชประโยชนอยูทุกวันนี้ นับวันแตจะหมดไป จึงมีความจําเปนที่จะตองใหความสนใจตอการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้ เพราะการใชทรัพยากรธรรมชาติชนิดหนึง่อาจมีผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติอีกชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดกไ็ด จากทีก่ลาวมาขางตน จะเหน็วาทรพัยากรธรรมชาตจิะอยูหรือจะถกูทําลายนั้นขึน้อยูกบัปจจยัหลายดาน ยกตวัอยางเชน พื้นที่ปาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงในอดตีนั้นมมีาก แตเมื่อประชากรเพิ่มขึน้ความตองการที่อยูอาศัยและที่ทํากินก็มากขึ้นดวยประกอบกับเมื่อระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากการผลิตเพื่อการบริโภค เปนการผลิตเพื่อขาย และเพื่อตอบสนองความตองการของตลาด นอกจากนี้ ทรัพยากรธรรมชาติสามารถแบงตามลักษณะที่นํามาใชได 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใชแลวไมหมดสิ้น ไดแก 1.1 ประเภททีค่งอยูตามสภาพเดิมไมมกีารเปลี่ยนแปลงใด ๆ เลย เชน พลังงานจากดวงอาทิตย ลม อากาศ ฝุน ใชเทาไรก็ไมมกีารเปลี่ยนแปลงไมรูจักหมด 1.2 ประเภททีม่ีการเปลี่ยนแปลงได เนื่องจากถูกใชในทางที่ผิด เชน ที่ดนิ น้ํา ลักษณะภูมิประเทศ ฯลฯ ถาใชไมเปนจะกอใหเกิดปญหาตามมา ไดแก การปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ํา ๆ ซาก ๆ ในที่เดิม ยอมทําใหดนิเสื่อมคุณภาพ ไดผลผลิตนอยลงถาตองการใหดนิมีคุณภาพดีตองใสปุยหรือปลูกพืชสลับและหมุนเวียน

Page 27: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

27

2. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใชแลวหมดสิ้นไป ไดแก 2.1 ประเภททีใ่ชแลวหมดไป แตสามารถรักษาใหคงสภาพเดิมไวได เชน ปาไม สัตวปา ประชากรโลก ความอุดมสมบูรณของดิน น้ําเสียจากโรงงาน น้ําในดนิ ปลาบางชนิด ทัศนียภาพ อันงดงาม ฯลฯ ซ่ึงอาจทําใหเกิดขึน้ใหมได 2.2 ประเภททีไ่มอาจทําใหมใีหมได เชน คณุสมบัติธรรมชาติของดิน พร สวรรคของมนุษย สติปญญา เผาพันธุของมนุษยชาติ ไมพุม ตนไมใหญ ดอกไมปา สัตวบก สัตวน้ํา ฯลฯ 2.3 ประเภททีไ่มอาจรักษาไวได เมื่อใชแลวหมดไป แตยงัสามารถนํามายุบใหกลับเปนวัตถุเชนเดมิ แลวนํากลับมาประดิษฐขึน้ใหม เชน โลหะตาง ๆ สังกะสี ทองแดง เงนิ ทองคํา ฯลฯ 2.4 ประเภททีใ่ชแลวหมดสิน้ไปนํากลับมาใชอีกไมได เชน ถานหิน น้าํมันกาซ อโลหะสวนใหญ ฯลฯ ถูกนาํมาใชเพียงครั้งเดียวก็เผาไหมหมดไป ไมสามารถนํามาใชใหมได ทรัพยากรธรรมชาติหลักที่สําคัญของโลก และของประเทศไทยที่ควรทราบไดแก 1. ดิน ดินเกดิจากการผุพังสลายตัวของหินเปลือกโลกทับถมกับซากพืชซากสัตวเปนเวลา นานนับพนั ๆ ป ทรัพยากรดนิมีความสําคญัตอการดําเนนิชีวิตของมนษุยและสามารถทําใหพืชและสัตวสามารถดํารงชีวิตอยูได ประเทศไทยซึ่งตั้งอยูในเขตรอนที่มีฝนตกชุก ดนิจึงเปนดินสีแดงหรอืแดงปนเหลืองมักจะขาดธาตุอาหารของพืช เพราะธาตุอาหารเหลานั้นจะถูกน้ําชะลางไปดวย ดังนั้น จึงทําใหบางแหงมีพืชนอยและประชากรอาศัยอยูนอยดวย สวนบริเวณที่ดินอุดมสมบรูณ ไดแก บริเวณที่ราบลุมแมน้ําภาคกลาง ที่ราบลุมแมน้ําภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ และบริเวณที่ราบลุมแมน้ําในภาคเหนือ รวมทั้งบริเวณที่ราบระหวางหุบเขาในทางเหนือ

Page 28: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

28

2. น้ํา

น้ําเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของมนุษย สัตว และพืชเปนอยางมาก เพราะถาสิ่งมีชีวิตขาดน้ําแลวก็จะตายในเวลาไมนานนัก นอกจากนี้ยังใชน้ําในการผลิตกระแสไฟฟาอีกดวย แหลงที่มาของน้ําที่สําคัญ 3 แหลง คือ 2.1 น้ําฝน เนือ่งจากประเทศไทยตั้งอยูในเขตอิทธิพลของลมมรสุมทําใหฝนตกจากการนํามาของลมมรสุม ฝนจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับอิทธิพลของลมมรสุมประชากรสวนใหญของไทย ประกอบอาชพีดานเกษตรกรรม โดยอาศัยแหลงน้ําฝนเปนสําคัญ ดังนั้น ถาปใดมีฝนนอยเกนิไปหรือมากเกินไปจะมีผลกระทบตอเกษตรกรดวย 2.2 น้ําผิวดิน ไดแก น้ําตามแมน้ํา ลําคลอง และหนองบึงทั่วไป ปริมาณน้ําในแหลงน้ําเหลานี้จะมคีวามสัมพันธกับปริมาณของน้ําฝนดวย คอื ถาบริเวณใดอยูในเขตฝนตกชุก ระดับน้ําสะสมจะมีมากดวย สําหรับแหลงน้ําที่อยูตามผิวดินนี้เปนแหลงน้ําสําคัญเพราะจะตองใชน้ําจากแหลงดังกลาวตลอดป 2.3 น้ําใตดนิ ไดแก น้ําที่อยูภายใตพื้นดินหรือเรียกวา "น้ําบาดาล" ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของน้ําฝนที่ซึมลงไปสะสมในชั้นดนิหรือช้ันหินเบื้องลาง 3. ปาไม เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอน ฝนตกชุก ซ่ึงมีลักษณะภูมิอากาศแบบรอนชื้น แบบมรสุม โดยปริมาณน้ําฝนกระจายทัว่ประเทศ ทําใหมปีาไมกระจายอยูทั่วไป โดยกรมปาไม กระทรวงเกษตรและสหกรณไดแบงปาไมในประเทศไทยออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไวดังนี ้ 3.1 ปาไมผลัดใบ ปาไมผลัดใบเปนปาไมที่ขึ้นอยูในบริเวณพื้นที่ทั่วทุกภาคของประเทศ ยกเวน บริเวณภาคใตที่เร่ิมทิง้ใบตั้งแตปลายฤดูหนาว แลวเร่ิมผลิใบใหมหลังจากทิ้งใบไมนาน

Page 29: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

29

3.2 ปาไมไมผลัดใบ ปาไมผลัดใบหรือเรียกอีกอยางหนึ่งวาปาดงดิบ เปนปาไมมีใบเขียวชอุมตลอดป เพราะเปนเขตที่มีความชุมชื้น เพราะมผีลตกชุกตลอดป ไดแก บริเวณภาคใตของไทย บริเวณเทอืกเขาในภาคเหนือและเทือกเขาในเขตภาคตะวันตก และบริเวณเทือกเขาทางดานตะวนัออกของอาวไทย

4. แรธาตุ เปนทรัพยากรธรรมชาตที่สําคัญที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซ่ึงปจจุบัน เปนปจจยัสําคัญอยางหนึ่งในการดําเนินชีวิต เชน การใชกาซในครัวเรือน การใชน้ํามันกับยานพาหนะและจะเห็นวาปจจุบนัน้ํามันปโตรเลียม มีผลตอภาวะเศรษฐกจิของโลก เปนตน สามารถแบงออกได 3 ประเภทใหญ ๆ คือ

4.1 แรโลหะ เปนแรที่มีความวาว โดยสามารถทําเปนแผนบาง ๆ หรือดงึเปนเสนยาวได และเปนสื่อความรอนไดดี เชน ดีบุก แมงกานีส วุลแฟรม พลวง เหล็ก ตะกัว่ และสังกะสี เปนตน 4.2 แรอโลหะ เปนแรที่ไมมีความวาว เปนสือ่ความรอนและสื่อนําไฟฟาที่ไมดี และมีคุณสมบัติอ่ืน ๆ ตรงขามกับโลหะ เชน ฟลูออไรต หินปูน หินออน ทราย เกลือ หินดนิดาน และดินมารล เปนตน 4.3 แรเชื้อเพลิง แรเชื้อเพลิงเปนแรที่มีความสําคัญตอการพัฒนาอุตสาหกรรม ในประเทศไทยเปนอยางมาก ปจจุบันเราตองสั่งแรเชื้อเพลิงเขาประเทศปละมากๆ ทําใหเราตอง ขาดดุลการคาตางประเทศเปนจํานวนมากในแตละป สําหรับแรเชื้อเพลิงที่ขุดพบในประเทศไทย มีปริมาณนอยไมเพียงพอกับความตองการภายในประเทศที่สําคัญไดแก ถานหินลิกไนต ปโตรเลียม กาซธรรมชาติ และหนิน้ํามัน

Page 30: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

30

หลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาต ิ นิวัติ (2542) กลาวถึงแนวคดิและหลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติพอสรุปไดดังนี้ 1. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติอยางชาญฉลาด ใหเปนประโยชนตอมหาชนมากที่สุด ยาวนานที่สุด ถูกตองตามกาลเทศะ (Time and Space) และทั่วถึงกัน 2. ทรัพยากรธรรมชาติจําแนกอยางกวาง ๆ ออกเปนทรัพยากรที่เกดิขึ้นใหมได เชน ดนิ น้ํา ปาไม สัตวปา และกําลังงานมนุษย กับทรัพยากรที่ไมสามารถเกิดขึ้นใหมได เชน น้ํามัน และแรตางๆ เปนตน 3. ปญหาที่สําคัญที่เกี่ยวกับอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก การอนุรักทรัพยากรดินที่ยังอุดมสมบรูณอยู ใหคงคณุสมบัติที่ดีตลอดไป ในขณะเดียวกนัจะเปนผลดีตอทรัพยากรอื่นๆ เชน น้ํา ปาไม และสัตวปาดวย 4. การอนุรักษหรือจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ตองคํานึงถึงทรัพยากรอยางอื่นในเวลาเดียวกันดวย ไมควรแยกพจิารณาเฉพาะอยางใดอยางหนึ่ง เพียงอยางเดียวเทานั้น เพราะทรัพยากร ทุกอยางมีสวนเกี่ยวของสัมพันธกันอยางใกลชิด 5. ในการวางแผนการจัดการกับทรัพยากรอยางชาญฉลาดนั้น จะตองไมแยกมนุษยออกจากสภาพแวดลอมทางสังคมหรือวฒันธรรมหรือสภาพแวดลอมตามธรรมชาต ิ เพราะวาวัฒนธรรมและสังคมของมนุษยไดพัฒนาตวัเองมาพรอม ๆ กบัการใชประโยชนจากทรพัยากรธรรมชาติของสังคมนั้น ๆ กลาวโดยทัว่ไป การอนุรักษถือไดวาเปนทางแหงการดําเนินชีวิต เพราะมีสวนเกี่ยวของกับเศรษฐกจิและสังคมไมเฉพาะอยางใดอยางหนึ่ง แตทุก ๆ อยางรวมกัน ซ่ึงมีบทบาทตอชีวิตมนุษยเปนอันมาก 6. ไมมีโครงการอนุรักษใดทีจ่ะประสบความสําเร็จ นอกเสียจากผูใชทรัพยากรธรรมชาติจะไดตระหนกัถึงความสําคัญของทรพัยากรนั้น ๆ และใชอยางชาญฉลาดใหเกิดผลดีในทกุ ๆ ทางตอสังคมมนุษย และควรใชทรัพยากรใหอํานวยประโยชนหลาย ๆ ดาน ในเวลาเดียวกนัดวย

Page 31: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

31

7. อัตราการใชทรัพยากรธรรมชาติในปจจบุัน จะเปนที่ใดก็ตามยังไมอยูในระดับที่จะพยุงซึ่งฐานะความอยูดกีินดีโดยทัว่ถึงได เนื่องจากการกระจายของการใชประโยชนจากทรัพยากรเปนไปโดยไมทั่วถึง 8. การอนุรักษเกี่ยวของกับคนทุกคนไมวาจะอยูในเมืองหรือชนบท ความมั่นคั่ง สุขสมบูรณของประเทศขึ้นอยูกับความอดุมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ และขึ้นอยูกับทรัพยากรกําลังงานของมนุษย ซ่ึงเปนผูใชทรัพยากรอื่นๆ ของประเทศนั้น 9. การทําลายทรัพยากรธรรชาตใิดๆ ดวยเหตใุดก็ตาม เทากับเปนการทาํลายความศวิไิลส ของมนุษย อยางไรก็ตาม มนุษยจะตองยอมรับความจริงวา การทําลายทรัพยากรธรรมชาติไดเกดิขึน้ทุกหนทกุแหงที่มีการใชทรัพยากร เพราะทุกครั้งที่มีการใชทรัพยากรจะตองเกดิการสูญเปลา ปญหาจึงอยูที่วาทาํอยางไรจึงจะใหเกิดการสูญเสยีนอยที่สุด 10. การดํารงชีวิตของมนุษยขึ้นอยูกับสิ่งมีชีวิต ไมวาจะเปนพืชหรือสัตวซ่ึงตางก็เกิดมาจากทรัพยากรอื่นๆ เชน ดิน น้ํา อีกทอดหนึ่ง กําลังงานของมนุษย ตลอดจนการอยูดีกินดี ทัง้ทางรางกายและจติใจขึ้นอยูกับคุณคาของอาหารที่บริโภค นอกจากปลาและอาหารทะเลอื่นๆ แลว อาหารทุกอยางจะเปน ผัก ผลไม ถ่ัว งา ขาว หรือในรูปของนม เนื้อสัตว ซ่ึงเปนผลผลิตจากพืชที่สัตวบริโภคเขาไป ลวนเกดิมาจากดินทั้งสิ้น 11. มนุษยจําเปนตองมีความรู ความเขาใจในธรรมชาตแิละเชื่อมั่นในความเปนไปตามธรรมชาต ิ มนษุยสามารถนําเอาวทิยาการตางๆ มาชวยเหลือกระบวนการตางๆ ทีเ่กดิขึ้นตามธรรมชาตไิด แตมนุษยไมสามารถจะนําสิง่ใดมาทดแทนธรรมชาติไดทั้งหมดทีเดยีวอยางแนนอน 12. การอนุรักษนอกจากจะเพื่อการอยูดกีนิดีของมวลมนุษยแลว ยังจาํเปนตองอนุรักษธรรมชาติเพื่อความสมบูรณและเปนผลดทีางจิตใจดวย เชน การอนุรักษสภาพธรรมชาติ การอนรัุกษสัตวปาเพื่อความสวยงาม และสําหรับการพักผอนหยอนใจ หรือเปนเกมกีฬา เปนตน 13. เปนความจริงที่วาประชากรของโลกเพิ่มมากขึ้นทุกวัน แตทรัพยากรธรรมชาติกลับนอยถอยลงไปทุกที ไมมีใครทราบไดวาการใชทรัพยากรในบั้นปลายนั้นจะเปนอยางไร อนาคตจงึเปนสิ่งที่มืดมนถาหากทุกคนไมเร่ิมตนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติตั้งแตบัดนี ้

Page 32: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

32

สรุปไดวา แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนเรื่องยุงยาก สลับซับซอน และมักเปนปญหาเกี่ยวของกับเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง จําเปนจะตองไดรับความรวมมือจากทุกฝาย แตทุกคนก็มีสวนชวยเหลือทั้งโดยตรงและทางออมตามควรแกสภาพไดดังนี้ 1. พยายามศึกษาและใหความสนใจเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2. พยายามสงเสริมเผยแพรความรูดังกลาวไปยังผูอ่ืนใหขยายวงกวางขึน้ 3. พยายามฝกตนเองใหเปนคนรักธรรมชาติ รักตนไม และเมตตาตอสัตว 4. ชวยเหลือและรวมมือในการปลูกตนไมทุกครั้งที่มีโอกาส 5. พยายามใชทรัพยากรธรรมชาติทุกอยางโดยประหยัด และใหเปนประโยชนมากทีสุ่ด 6. ใหความรวมมือในการอนรัุกษทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมในทุกโอกาสที่ทาํได วัตถุประสงคของการอนุรักษสิ่งแวดลอม การอนุรักษส่ิงแวดลอมมวีัตถุประสงคหลักอยู 4 ประการ (สํานักงานคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ, 2537) ไดแก 1. เพื่อธํารงไวซ่ึงปจจัยสําคญัของระบบสิ่งแวดลอมที่มอิีทธิพลตอมนุษยและสัตว และระบบสนับสนุนการดํารงชวีิตเปนการปรับปรุงปองกันพื้นที่เพื่อการเพาะปลูก การหมุนเวียนแรธาตุอาหารพืช ตลอดจนการทําน้าํใหสะอาด 2. เพื่อสงวนรักษาการกระจายของชาตพิันธุ ซ่ึงขึ้นกับโครงการขยายพนัธุตางๆ ที่จาํเปน ตอการปรับปรงุ การปองกนัธัญญาพืช สัตวเล้ียงและจุลินทรียตางๆ รวมทั้งสิ่งประดษิฐทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ตลอดจนการคุมครองอุตสาหกรรมนานาชนิดทีใ่ชทรัพยากรที่มีชีวติเปนวัตถุดิบ 3. เพื่อเปนหลักประกนัในการใชพันธุพืช สัตว และระบบนิเวศน เพือ่ประโยชนในการยังชีพตามความเหมาะสม และอุตสาหกรรมหลักการตางๆ

Page 33: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

33

4. เพื่อสงวนรักษาโบราณ โบราณวตัถุ ศิลปกรรม ซ่ึงเปนมรดกล้ําคาไวไปยังอนุชนรุนหลัง รวมทั้งระบบสิ่งแวดลอมอื่นๆ ที่มนุษยสรางขึ้น หลักการอนุรักษสิ่งแวดลอม การอนุรักษส่ิงแวดลอม มหีลักการสําคัญ 3 ประการ (เกษม, 2530) ไดแก 1. ตองใชอยางฉลาด กลาวคือ ในการที่จะใชทรัพยากรแตละอยางนั้นตองพิจารณาอยางรอบคอบถึงผลไดผลเสีย ความขาดแคลนหรือความหายากในอนาคต อีกทั้งพิจารณาหลักเศรษฐศาสตรอยางถี่ถวนดวย 2. ประหยดั (เก็บ รักษา สงวน) ของทีห่ายาก หมายถึง ทรัพยากรใดที่มีนอยหรือหายาก ควรอยางยิ่งที่จะเก็บรักษาเอาไวไมใหสูญไป บางครั้งถามีของบางชนิดที่จะพอจะใชไดก็ตองใชอยางประหยัด ไมฟุมเฟอย 3. หาวิธีการฟนฟูส่ิงแวดลอมที่ไมดีหรือเสื่อมโทรมใหดีขึ้น (ซอมแซม ปรับปรุง) กลาวคือ ทรัพยากรใดก็ตามมีสภาพลอแหลมตอากรสูญเปลาหรือจะหมดไป ถาดําเนินการไมถูกตองตามหลักวิชาการ ควรอยางยิง่ที่จะไดหาทางปรับปรุงใหอยูในลักษณะทีด่ีขึ้น แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอม สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ (2537) ไดกําหนดแนวทางการอนุรักษไวดังนี ้ 1. การใหการศึกษาเผยแพรประชาสัมพันธ เพื่อใหราษฎรไดตระหนกัในบทบาทและหนาที่ของเขาเองตอส่ิงแวดลอม ในอันที่จะใหเขาสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทศิทางสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2. การปรับปรุงคุณภาพเปนวิธีการตรงที่ชวยแกปญหาการขาดแคลนทรัพยากร และสภาวะแวดลอมที่เสื่อมโทรม

Page 34: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

34

3. การลดอัตราการเสื่อมสูญ คือ ไมบริโภคทรัพยากรอยางฟุมเฟอย ใชประโยชนจากทรัพยากรนัน้ๆ ใหคุมคาที่สุด 4. การนํากลับมาใชประโยชนใหม คือ การนําวัสดุเครื่องมือ เครื่องใชที่ชํารุดหรือเสื่อมสภาพแลว มาใชประโยชนใหมโดยการหลอมใหม หรือยอยแลวไปผลิตใหม 5. การใชส่ิงทดแทน ทรัพยากรที่ใชประโยชนไดดีในอดีตเริ่มรอยหรอลง เนื่องจากความตองการในการบริโภคมีสูง จงึจําเปนที่จะตองศกึษาทรัพยากรอืน่ๆ ที่มีคุณภาพคลายคลึงกันมาแทนทรัพยากรเดิมที่กําลังจะหมดไป เชน นําเอาพลังงานจากดวงอาทติยพลังงานน้ํา หรือพลังงานจากคลื่นในทะเลมาใชแทนน้ํา เปนตน 6. การใชส่ิงที่มีคุณภาพรองลงมา ทรัพยากรธรรมชาติชนิดเดยีวกันอาจมีคุณภาพที่แตกตางกันไป เชน ไม มนษุยนยิมนําไมเนื้อแข็งมาใชประโยชนเพราะมีความแข็งแรง ทนทาน แตเมื่อไมเนื้อแข็งมีปริมาณลดลงจึงหาแนวทางในการแกปญหา คือ ใชไมที่มีคุณภาพรองลงมา โดยหาวิธีการในการรักษาคณุภาพาของไมใหทนทาน เชน นําไปอบน้ํายา หรือ อาบน้ํายา เปนตน 7. การปองกัน เปนวิธีการจัดการโดยตรงเกีย่วกบัการปองกันไมใหทรัพยากรและส่ิงแวดลอมรอยหรอและเสื่อมโทรมลงเร็วเกินไป หรือปองกันมลพิษไมใหแปดเปอนสิ่งแวดลอม ที่มนุษยอาศัย รวมทั้งโบราณสถาน โบราณวัตถุ ในกรณทีี่บรรยากาศมีกาซพิษหรือพิษเจือปน น้ําไมสะอาด ไมสามารถใชบริโภคไดเพราะมีส่ิงแปลกปลอมขึ้นในรูปของสารพิษและเชือ้โรค ส่ิงเหลานี้ยอมอยูในส่ิงแวดลอม

Page 35: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

35

ขอมูลท่ัวไปของพื้นท่ีท่ีทําการศึกษา จากการตรวจเอกสารเกีย่วกบัอุทยานแหงชาติภูผามาน พบวาขอมูลทัว่ไปของอุทยานแหงชาติภูผามานโดยสรุปมีดังตอไปนี้ (อุทยานแหงชาติภูผามาน, 2551) ความเปนมา อุทยานแหงชาติภูผามาน มีเนื้อที่ประมาณ 350 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 218,750 ไร อาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางสวนของปาสงวนแหงชาตปิาดงลาน ทองที่ตําบลนาหนองทุม อําเภอชุมแพ ตําบลหวยมวง ตําบลวังสวาบ ตําบลนาฝาย ตําบลภูผามาน อําเภอภูผามาน จงัหวัดขอนแกน และพืน้ที่บางสวนของปาสงวนแหงชาติปาภูเปอย ทองทีต่ําบลภกูระดึง และตําบลศรฐีาน อําเภอ ภูกระดึง จังหวัดเลย โดยไดประกาศเปนอทุยานแหงชาตติามพระราชกฤษฎีกาในราชกิจจานเุบกษา ฉบับพิเศษเลม 108 ตอนที่ 215 ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2534 เปนอุทยานแหงชาติลําดับที่ 72 ของประเทศไทย กอนที่จะไดประกาศจดัตั้งเปนอุทยานแหงชาติภูผามานนั้นกรมปาไมไดรับหนังสือจากจังหวดัขอนแกน ที่ ขก 0009 /1314 ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2529 ขอใหกรมปาไมกําหนดพื้นที่ปา ดงลาน อําเภอชุมแพ จังหวดัขอนแกน และหนังสือจังหวัดเลย ที่ ลย 0009 /12167 ลงวันที่ 7 กันยายน 2530 ขอใหกรมปาไมปรับปรุงปาสงวนแหงชาติภูเปอย อําเภอภูกระดึง จังหวัดเลย เปนอุทยานแหงชาติ รวมทั้งในการประชุมคณะอนุกรรมการปองกันการบกุรุกทําลายปาตามโครงการ น้ําพระทยัจากในหลวง เพื่อพัฒนาภาคตะวันออกเฉยีงเหนือตามพระราชดําริ (โครงการอีสานเขียว) คร้ังที่ 1 / 2531 เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2531 ไดขอความรวมมือจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ พิจารณาใหมพีื้นที่ปาอนุรักษภาคตะวนัออกเฉียงเหนือเพิ่มเติมเปน 20 เปอรเซ็นต กรมปาไมจึงไดดําเนินการใหการสนับสนุนการจัดตั้งอุทยานแหงชาตติามนโยบายดังกลาว โดยมีคําสั่งกรมปาไม ที่ 1473/2532 ลงวันที่ 27 กนัยายน พ.ศ. 2532 ใหเจาหนาที่ไปทําการสํารวจพื้นที่ เพื่อดําเนินการจัดตั้งพื้นที่บริเวณดังกลาวเปนอุทยานแหงชาติตอไป จากการสํารวจของเจาหนาทีแ่ละมติของคณะกรรมการอุทยานแหงชาติ เห็นควรจัดตั้งเปนอุทยานแหงชาติได และไดมีพระราชกฤษฎีกาประกาศกําหนดพื้นที่บริเวณดังกลาวเปนอทุยานแหงชาต ิเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2534 โดยกรมปาไมตั้งชื่ออุทยานแหงชาติแหงนีว้า “อุทยานแหงชาติภูผามาน”

Page 36: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

36

ท่ีตั้งและอาณาเขต อุทยานแหงชาติภูผามาน ตั้งอยูบริเวณที่ดินปาดงลาน ทองที่ตําบลนาหนองทุม อําเภอชุมแพ ตําบลหวยมวง ตําบลวังสวาบ ตําบลนาฝาย ตําบลภูผามาน อําเภอภูผามาน จังหวัดขอนแกน และ ปาภูเปอย ทองที่ตําบลภูกระดึง ตําบลศรีฐาน อําเภอภูกระดึง จังหวดัเลย เนื้อที่ประมาณ 350 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 218,750 ไร ตั้งอยูระหวางเสนรุงที่ 16 38’ 48” ถึง 16 50’ 56” เหนือ และอยูระหวางเสนแวงที่ 101 42 ’ 14 ” ถึง 102 1’ 20” ตะวนัออก ทิศเหนือ : จดตําบลวังกวาง อําเภอน้าํหนาว จงัหวดัเพชรบูรณ ตาํบลศรีฐาน ตําบลผานกเคา ตําบลภูกระดึง อําเภอภูกระดึง จังหวดัเลย ทิศใต : จดตําบลนาหนองทุม อําเภอชมุแพ ตําบลหวยมวง ตาํบลนาฝาย ตําบลภูผามาน อําเภอภูผามาน จังหวัดขอนแกน และตําบลทุงพระ อําเภอคอนสาร จงัหวดัชยัภูม ิ ทิศตะวันออก : จดตําบลคอนสาร อําเภอสีชมพู และตําบลนาหนองทุม อําเภอชุมแพ จงัหวดัขอนแกน ทิศตะวนัตก : จดแนวเขตอาํเภอน้าํหนาว จังหวดัเพชรบรูณ

Page 37: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

37

ภาพที่ 2 ที่ตั้งของอุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน - เลย

Page 38: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

38

ภาพที่ 3 แผนที่แสดงแนวเขตอุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน - เลย

........ แผนที่ Topo และ แนวเขตอุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน - เลย

พืชพันธุ (ปาไม) แมน้ํา,ลําธาร,หวย พื้นที่ประชากร เสนชั้นความสง

แผนที่แสดงแนวเขตอุทยานแหงชาติภผูามาน จังหวัดขอนแกน - เลย

Page 39: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

39

เสนทางคมนาคมและการเขาถึงพื้นท่ี อุทยานแหงชาติภูผามาน มีอาณาเขตพื้นทีค่รอบคลุมติดตอกัน 3 อําเภอ 2 จังหวัด คือพื้นที่บางสวนของอําเภอชุมแพ พื้นที่บางสวนของอําเภอภูผามาน จังหวัดขอนแกน และพื้นทีบ่างสวนของอําเภอภกูระดงึ จงัหวดัเลย เสนทางคมนาคมและการเขาถึงพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน มีเสนทางดังนี้ 1. ทางหลวงแผนดินระหวางจงัหวดัขอนแกน – เลย (หมายเลข 201) 2. ทางหลวงแผนดินระหวางจังหวดัขอนแกน - เพชรบูรณ (หมายเลข 12) 3. ถนน ร.พ.ช. สายอําเภอชุมแพ - อําเภอภูผามาน จังหวัดขอนแกน (หมายเลข 2361) 4. ถนน ร.พ.ช. สายอําเภอภูกระดึง - ตําบลศรีฐาน อําเภอภกูระดึง จังหวดัเลย ลักษณะภูมิประเทศ อุทยานแหงชาติภูผามาน ประกอบดวยภูเขาหินปนูสลับซับซอนกัน พืน้ที่มีความสูงตั้งแตประมาณ 250 เมตร ถึงประมาณ 960 เมตร จากระดบัน้ําทะเล บริเวณทองที่ปาสงวนแหงชาติปาภเูปอย ทองที่อําเภอภกูระดึง จังหวดัเลย มีสภาพพื้นที่เปนภูเขาสูงชัน และตดิตอกันเปนเทอืกยาว ดานทศิใตของปาภูเปอย มีภูเขาที่สําคัญ ไดแก ภูโคก ภูหนิกอง ลักษณะเปนภูเขาหินปูนสูงชัน และมีถํ้าหินปูนอยูหลายแหง มีลําหวยหลายสายที่สําคัญ เชน หวยชมพู หวยคะเฮา หวยจอก หวยลาดมวง ฯลฯ ซ่ึงลําหวยดังกลาวไหลลงสูน้ําพองที่ไหลมาจากยอดเขาสูงของอุทยานแหงชาตภิูกระดึง พืน้ที่สวนใหญเปนภูเขาสูงและมีที่ราบบนสันเขา บางแหงเปนที่ราบกวางและมีน้ําซับตลอดป บริเวณพืน้ที่ปาสงวนแหงชาติปาดงลาน ทองที่อําเภอชุมแพ และอําเภอภูผามาน จังหวัดขอนแกน พื้นที่สวนมากเปนภูเขาหินปูน และภเูขาขนาดเล็กติดตอกันหลายเทือก ซ่ึงบริเวณบางแหงเปนที่ราบและเคยผานสัมปทานการทําไมมากอนประกาศเปนอุทยานแหงชาติ และทางราชการ โดยสํานักงานปาไมเขตขอนแกนไดดําเนินการปลูกสวนปา เพื่อฟนฟสูภาพปาเปนพื้นที่จํานวนมาก ปาดงลานมีลําหวยนอยใหญ ที่สําคัญหลายสาย เชน ลําหวยแย ลําหวยซําแคน ลําหวยสังขะยวน ลําหวยขาวหลาม ลําหวยหมอแตก ลําหวยทราย ซ่ึงลําหวยเหลานี้ไดไหลลงสูลํา

Page 40: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

40

ลักษณะภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศของอุทยานแหงชาติภูผามาน แบงเปน 3 ฤดู ไดแก 1. ฤดูฝน จะเริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม โดยไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวนัตกเฉยีงใต ซ่ึงพัดมาจากมหาสมุทรอินเดียและพายุดีเปรสชั่นจากทะเลจนีใต นําพาเอาความชุมฉ่ําของฝนมาสูพื้นที ่ 2. ฤดูหนาว จะเริ่มตั้งแตเดอืนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ โดยไดรับอิทธิพลจากลมมรสมุตะวันออกเฉียงเหนือ ที่พัดมาจากประเทศจนี นําพาเอาความหนาวเยน็ และความแหงแลงมาสูพื้นที่ 3. ฤดูรอน จะเริ่มตั้งแตเดือนมีนาคม ถึงเดือนพฤษภาคม โดยไดรับอทิธิพลมาจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต ซ่ึงลมนี้จะพดัเอาความรอนเขามาสูพื้นที่ในฤดูรอน น้ําและแหลงน้าํ อุทยานแหงชาติภูผามาน เปนตนกําเนิดของลุมน้ํายอยของลําหวยตางๆ และจะไหลไปรวมกนักับลําน้ําสายสําคัญของภาคตะวนัออกเฉียงเหนอืทั้งสองสาย คอืลําน้ําพอง อยูทางดานทิศเหนือของพื้นที่ และลําน้ําเชิญ อยูทางดานทิศใตของพื้นที่ ซ่ึงลําน้ําใหญทั้งสองสายน้ําจะไหลไปรวมกนั ที่เขื่อนอุบลรัตน อําเภออุบลรัตน จังหวดัขอนแกน พื้นที่สวนใหญของอุทยานแหงชาติอยูในชัน้คุณภาพลุมน้ําที่ 1A และ 2A ลําน้ําที่สําคัญมีดังนี้ ดานทิศเหนือมหีวยชมพ ู หวยคะเฮา หวยจอก และหวยยาง ซ่ึงจะไหลลงสูลําน้ําพอง สวนทางดานทศิใต มีหวยตาดหมาก หวยสังขะยวน หวยหมอแตก หวยขาวหลาม หวยตากวาง และหวยซําแคน ซ่ึงจะไหลลงสูลําน้ําเชิญ นอกจากนีใ้นพื้นทีห่ลายแหงมีน้ําซับไหลตลอดป

Page 41: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

41

ลักษณะทางธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา หินชั้นลางในบริเวณอุทยานแหงชาตภิูผามานสวนมากเปนหินพวก Sedimentary rocks และ Metamorphic rocks อยูใน Korat group ซ่ึงเปนหินประเภท Phu Kradung Formation, Nam Pong Formation และ Huay Hin Lat Formation ในยุค Jurassic และ Triassic หินชั้นลางที่พบรองลงไปไดแกหินประเภท Phu Phan Formation และหินประเภท Ratburi formation ซ่ึงอยูใน Ratburi group ในยุค Paleozoic และ Permian นอกจากนี้อาจพบหินพวก Marine rocks และ Volcanic rocks ในยุค Triassic และ Mesozzic ตามบริเวณที่เปนแนวแคบ ๆ ตามเทือกเขาดานทิศตะวนัตก และพื้นที่บริเวณขอบเขตเล็ก ๆ บางแหงอาจพบหินพวก Igneous rocks ในยุค Tertiary ดินในบริเวณอุทยานแหงชาติภูผามานสวนใหญเกิดจากการผุสลายตัวของหินชั้นลาง ดินที่เกิดอยูบนภเูขาสูง หรือตามเชิงเขาดานทศิตะวนัตกเปนดินประเภท Latosols และ Lithosols สวนตามภูเขาที่เปนแบบลูกคลื่น (rolling hills) และบนที่ราบสูงเปนดินประเภท Sandy Ferruginous Latosols ดานทิศตะวันออกเปนดนิประเภท Low Humic Gley soils และ Gray Podzolic หรือ Red Yellow Podzolic soils ที่เกิดจากการทับถมตะกอน หรือผุสลายตัวของหินชัน้ลาง ดินประเภท Red Yellow Podzolic soils สวนใหญเปนดินที่ไดจากผสุลายตัวของหนิ granite, gneiss, sand stone และ quartzite phyllrite ซ่ึงดินที่เกิดจากการสลายตัวของหิน sand stone และ quartzite phyllrite มักจะเปนดินที่ตืน้ และมีกอนกรวดปะปนรวมอยูดวย สวนดนิที่ไดจากการสลายตัวของหนิ granite และ gneiss นั้นจะเปนดินคอนขางลึกไมมีกอนกรวดปะปน สวนดนิ Red Yellow Podzolic soils ที่สลายตัวจากหิน shale จะเปนดินที่ลึกซึ่งพบตามบริเวณปาดิบแลง (Dry Evergreen Forest) และปาเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) นอกจากนี้ยังพบดินประเภท Grumusols, Rendzinas และ Red Brown Earth ในบางแหงแตเปนบริเวณเล็กแคบ ๆ ลักษณะดิน ทรัพยากรดนิของอุทยานแหงชาติภูผามานพบวาในพืน้ที่อุทยาน ฯ มีเนื้อที่ 218,750 ไร ประกอบดวยดินชนิดตาง ๆ ไดแก ดินรวนปนทรายและดินรวนปนทรายเหนยีวดินภูเขาความลาดชันเกิน 35 % และดินชนิดอื่นๆ

Page 42: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

42

ตารางที่ 2 ลักษณะดนิของพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย

หนวยชุดดิน ครอบคลุมพื้นท่ี (กม2) รอยละ

ดินรวนปนทรายและดินรวนปนทรายเหนียว 289 82.6 ดินภเูขาความลาดชันเกิน 35 % 2 0.6 ดินชนิดอืน่ๆ 59 16.8

รวม 350 100 ที่มา : อุทยานแหงชาตภิูผามาน, 2551 ความสูงของพื้นท่ี ระดับความสูงของพื้นที่ บริเวณอุทยานแหงชาติภูผามาน แบงออกเปน 4 ช้ัน คือ นอยกวา 300, 300 - 600,600 – 900, มากกวา 900 เมตรจากระดับน้ําทะเล พบวาพื้นที่สวนใหญ อยูในระดับความสูงชั้น 300-600 เมตร รองลงมาคือ ช้ันความสูง 600-900 , นอยกวา 300 , มากกวา 900 เมตร โดยมีจุดสูงสุดของพื้นที่อยูบริเวณที่ระดับความสูง 960 เมตร จากระดับน้าํทะเลปานกลาง ตารางที่ 3 ระดับความสูงของพื้นที่อุทยานแหงชาติอุทยานแหงชาตภิผูามาน จังหวดัขอนแกน-เลย

ชั้นความสงู (เมตร) ครอบคลุมพื้นท่ี (กม2) รอยละ

นอยกวา 300 35.0 10.0 300 – 600 234.0 66.9 600 – 900 80.5 23.0 มากกวา 900 0.5 0.1

รวม 350 100 ที่มา : อุทยานแหงชาตภิูผามาน, 2551

Page 43: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

43

ลักษณะพืชพรรณ พืชพรรณไมในบริเวณพื้นทีอุ่ทยานแหงชาติภูผามาน นบัไดวาเปนตวัแทนของพรรณไมในเขตโซนรอน (Sub-tropical Zone) ที่มีลักษณะดีบริเวณหนึ่งของประเทศไทย ประกอบดวยปา 6 ชนิด คือ ปาดิบเขา (Hill Evergreen Forest) ปาดบิแลง (Dry Evergreen Forest) ปาเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) ปาสนเขา (Pine Forest) ปาเต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) และสวนปา (Forest Plantation) ซ่ึงสภาพปาไมในบางพื้นที่ของอุทยานฯ เคยไดผานการสัมปทานทําไมสัมปทานมากอน ในปจจุบนัมีไมรุนหนุมขึ้นใหมคอนขางหนาแนน 1. ปาดิบเขา พรรณไมที่สําคัญในปาดิบเขา มีสภาพเหมอืนกับปาดิบเขาทั่วๆ ไป ไมที่สําคัญสวนใหญเปนไมในตระกูลกอ (Fagaceae) พวก Quercus spp. , Castanopsis spp. และ Lithocarpus spp. เชน กอเดือย (Castanopsis acuminatissima) กอตาหมพูลวง (Quercus semiserrata) กอตาหมูนอย (Quercus kerrii) ชมพูปา (Eugenia siamensis) เม็ก (Syzygium gratum) สมกุง (Grewia sinuata) เมี่ยง (Adinandra phlebophylla) แกนเหลือง (Mitragyna rotundifolia) เหมือดคน (Helicia erratica) มะตมูปา (Aegle marmelos) หมีเหมน็ (Litsea monopetala) อบเชย (Cinnanomum iners) นอกจากนี ้ยังมีไมตระกูลสน คืน สนสองใบ (Pinus merkusii) และสนสามใบ (Pinus kesiya) ขึ้นปะปนกระจายอยูทัว่ไป 2. ปาดิบแลง พรรณไมที่สําคัญในปาดิบแลง เปนไมตระกูลยาง เชนเดียวกับปาดิบแลงทั่วไป พันธุไมที่สําคัญ เชน ตะเคียนทอง (Hopea odorata) ตะเคียนหิน (Hopea ferrea) กระบก (Irvingia malayana) พลอง (Memecylon myrsinodes) พยุง (Dalergia cochinchinensis) เก็ดแดง (Dalbergia oliveri) เก็ดดํา (Dalergia cultrata) นางดํา (Dialium cochinchinedsis) ปูเจา (Terminalia tripteroides) กัดล้ิน (Walsura trichostemon) มะมวงปา (Mandifera indica) กระบาก (Anisoptera oblonga) มะคาโมง (Afzelia xylocarpa) ประดู (Pterocarpus macrocarpus) แดง (Xylia kerrii) นอกจากนี้ยังมไีมตระกูลสน คืน สนสองใบ (Pinus merkusii) และสนสามใบ (Pinus kesiya) ขึ้นปะปนกระจายอยูทั่วไป ลักษณะโครงสรางทางแนวดิ่ง มี 4 ช้ัน พรรณไมบนสดุมีความสูงประมาณ 35-40 เมตร พรรณไมช้ันกลางและพรรณไมช้ันลางสูงประมาณ 15-25 เมตร และประมาณ 10-12 เมตร ตามลําดับ สวนพรณไมพืน้ลางมีสภาพไมเชนเดยีวกับปาดิบเขา นอกจากนั้น ในปาดิบแลงยังมพีวกไผ ขิง ขา และไมตระกูลปาลม (ไมลาน) ขึ้นปะปนรวมอยูดวย

Page 44: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

44

3. ปาสนเขา ปาสนเขาที่พบในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามานจะขึน้อยูปะปนกับปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ มีทั้งสนสองใบ (Pinus merkusii) และสนสามใบ (Pinus kesiya) 4. ปาเบญจพรรณ พรรณไมเบญจพรรณที่สําคัญไดแก กระบก (Irvingia malayana) มะคาแต (Sindora siamensis) มะคาโมง (Afzelia xylocarpa) ประดู (Pterocarpus macrocarpus) แดง (Xyoia kerrii) ตีนนก (Vitex pinnata) มะเกลือ (Diospyros mollis) ขวาว (Adina cordifolia) พยุง (Dalbergia cochinchinensis) กางขีม้อด (Derris kerrii) ปจั่น (Millettia brandisiana) เปนตน ลักษณะโครงสรางทางแนวดิ่ง มี 4 ช้ัน พรรณไมบนสดุมีความสูงประมาณ 20-30 เมตร พรรณไมช้ันกลางและพรรณไมช้ันลางสูงประมาณ 15-20 เมตร และประมาณ 5-15 เมตร ตามลําดับ และไมพืน้ลางประกอบดวยไมพุมขนาดเล็ก ตนลาน และหญาชนิดตางๆ 5. ปาเต็งรัง พรรณไมปาเตง็รัง เหมือนกบัพรรณไมในปาเต็งรังทั่วๆ ไป ซ่ึงสวนใหญเปนไมในตระกูลยาง (Dipterocarpus) พรรณไมที่สําคัญไดแก เต็ง (Shoarea obtusa) รัง (Shorea siamensis) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) รกฟา (Terminalia alata) สมอไทย (Terminalia chebula) ประดู (Pterocarpus macrocarpus) กระบก (Irvingia malayana) แดง (Xylia kerrii) ขวาง (Adina cordifolia) ติ้ว (Cartoxylon pruniflorum) มะคาแต (Sindora siamensis) รัก (Trigonostemen reidiodes) เก็ดแดง (Dalbergia loiveri) กระโดน (Careya arborea) เปนตน ลักษณะโครงสรางทางแนวดิ่ง มี 3 ช้ัน พรรณไมบนสดุมีความสูงประมาณ 20 เมตร พรรณไมช้ันลางสูงประมาณ 12 เมตร และพรรณไมพื้นลางเปนพวกไมพุมขนาดเล็ก พืชลมลุก และหญาชนดิตางๆ 6. สวนปา พรรณไมที่ปลูกในพื้นที่ปลูกสรางสวนปาที่สํารวจเพื่อผนวกเปนพืน้ที่ของอุทยานแหงชาติภูผามาน ซ่ึงปลูกปาโดยหนวยงานตางๆ สังกัดกรมปาไม คือ สวนปาไมสัก กระถินยกัษ ประดู ยูคาลิปตัส สะเดา มะคาโมง เปนตน ลักษณะโครงสรางทางแนวดิ่ง มี 2 ช้ัน พรรณไมบนทีป่ลูกมีความสูงขึ้นอยูกับชนดิไม ที่ปลูกและปทีป่ลูก ซ่ึงมีความสูงประมาณระหวาง 3-15 เมตร เปน พรรณไมพื้นลางเปนลูกไม ถ่ินเดิมที่เกดิขึ้นใหม และหญาชนิดตางๆ

Page 45: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

45

ทรัพยากรสัตวปา เนื่องจากพื้นทีอุ่ทยานแหงชาติภูผามานเปนภูเขาหนิปูนสลับซับซอน สภาพปาคอนขางหนาแนน มีถํ้ามากมาย จึงเปนแหลงอาศยัและทีห่ลบภยัของสัตวปาไดเปนอยางดี สัตวปาที่หายากไดแก เลียงผา และคางคาวปากยน นอกจากนี้ยังพบทั้งสัตวเล้ือยคลาน สัตวปกและแมลงตาง ๆ มากมายหลายชนิด จากการสํารวจความหลากหลายของสัตวปาป 2547 พบวามีนกอยางนอยจํานวน 77 ชนิด เปนนกประจําถ่ิน 59 ชนิด นกอพยพ 18 ชนิด และพบสัตวเล้ียงลูกดวยนกอยางนอย 12 ชนิด ซ่ึงจําแนกทรพัยากรสัตวไดดังนี ้ สัตวปกหรือนกมีนกอาศยัอยูไมนอยกวา 50 ชนิด เชน เหยีย่วขาว , เหยี่ยวนกเขาชิครา, ไกปา , นกเขาใหญ , นกกระเต็นใหญธรรมดา , นกตระขาบทุง , นกหวัขวานหงอนเหลอืง ,นกจาบฝน ปกแดง และนกขมิ้นนอยธรรมดาเปนตน สัตวเล้ียงลูกดวยน้าํนม มีอยูในพื้นทีไ่มนอยกวา 37 ชนดิ ที่สําคัญไดแก อีเหน็ขางลาย, คางคาวปากยน, ชะมดแผงสันหางดํา, กระรอกทองแดง, หมาใน, หมหีมา, หมูปา และเลียงผาเปนตน สัตวเล้ือยคลานมีอยูในพื้นทีไ่มนอยกวา 21 ชนิด เชน ตะกวด , งูเหา , กิ้งกาบินปกสีสม จิ้งเหลนหลากลาย, ตะพาบน้ํา, ตุกแกบาน, จิ้งเหลนบาน , หางหนาม และจิ้งจกดนิลายจุดเปนตน สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก มีอยูในพื้นที่ไมนอยกวา 10 ชนิด เชน กบนา, กบออง, เขียดล่ืน, อ่ึงเผา และคางคกบาน เปนตน นอกจากนี้ แมลงพวกผีเสื้อกลางวันอีก 95 ชนิด เชน ผีเสือ้หนอนใบกุมเนโร , ผีเสื้อหางตุม อาดัมสัน ผีเสื้อมวงตาแมว, ผีเสื้อหนอนใบรักตาลแดง, ผีเสื้อจรกาสองขีด, ผีเสื้อหางดาบลายจุดและผีเสื้อหนอนมะนาวเปนตน และยงัมกีารคาดการณวามีสัตวปาอื่นๆ ทีย่ังไมสํารวจพบอีกหลายชนิด

Page 46: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

46

แหลงทองเที่ยว อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย มีแหลงทองเที่ยวธรรมชาติที่นาสนใจ ดังนี้ ถ้ําผาพวง เดิมเรียก “ถํ้ารอยพวง” ภายในมีหินงอกหินยอยสวยงาม เพดานถ้ําสามารถทะลุออกไปยอดเขาใชเปนจดุชมววิไดเปนอยางดี เหมาะ แกการเดินปาศึกษาธรรมชาติ ถ้ําพญานาคราช เปนถํ้าที่มีความสวยงามเปนอันดับ 1 ของอุทยานแหงชาติภูผามาน ภายในถ้ํามืดสนิท แบงออกเปนหอง ๆ แตละหองประกอบดวย หนิงอกหินยอยที่สองประกายแวววาวระยิบระยบั สวยงามตระการตา รถยนตสามารถเขาถึงเชิงเขาที่เปนตัวถํ้าได ถ้ําลายแทง บนผนังภายในถ้าํจะพบภาพเขยีนสีโบราณกวางประมาณ 2 ตารางเมตร ซ่ึงในอดีตชาวบานเขาใจวาเปนลายแทงบอกขุมสมบัติ ลักษณะเปนภาพเขียนสีแดงรูปคน และสัตว ในลักษณะตาง ๆ ประมาณ 70 ภาพ อายุของภาพอยูในระหวางการตรวจสอบอยู ถ้ําภตูาหลอ ภายในถ้ําเปนอโุมงคขนาดใหญ จุคนไดถึง 1,000 คน พื้นถํ้าราบเรียบกวางเพดานสูง มีหนิงอกหนิยอยเปนพวง ๆ สวยงามตระการตา ปจจุบันกาํลังปรับปรุงเสนทางเขาถึง ตลอดจนสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ น้ําตกตาดฮอง เปนน้ําตกขนาดใหญ เกิดจากลําน้ําพองทีม่ีตนกําเนดิอยู บนภูกระดึง มีความสูงประมาณ 60 - 70 เมตร อยูระหวางเขตรอยตอของอุทยานแหงชาตภิกูระดงึและอุทยานแหงชาตภิูผามาน ในยามที่สายน้ําตกกระทบแผนหิน จะเกิดเสียงดังกองทั่วปา จนเปนที่มาของชื่อ “ตาดฮอง” เสนทางเขาถึงคอนขางลําบาก จึงทําใหยังเปนน้ําตกที่คอนขางบริสุทธิ์อยู น้ําตกตาดฟา เปนน้ําตกทีม่คีวามสูงประมาณ 20 -30 เมตร มีช้ันน้ําตกลดหลั่นลงไป ตลอดสายกอนไหลลงสูลําน้ําเชิญ ในฤดฝูนน้ําจะไหลแรงและมีความ สวยงามมาก หางออกไปประมาณ 7 - 8 กิโลเมตร จะพบน้ําตกหวยหมอแตก น้ําตกหวยหนิลาด

Page 47: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

47

น้ําตกพลาญทอง เปนน้ําตกขนาดเล็กที่มีความสวยงามในฤดูน้ําหลาก สูงประมาณ 10 เมตร หางจากที่ทําการของอุทยาน 1 กิโลเมตร เปนน้ําตกที่เกิดจากตนน้ําที่เปนน้ําซบั หลาย ๆสาย ไหลมารวมกนัแลวไหลลงสูหนาผาเปนชัน้เล็กชั้นนอย ลดหล่ันกันลงไป น้ําตกตาดใหญ เปนน้ําตกขนาดใหญที่ประกอบดวยน้ําตกชั้นเล็กชั้นนอย ที่ไหลลดหล่ันกันลงไปเปนขัน้บันไดหลายชั้น กอนจะไหลลงสูลําน้ําเชิญ มคีวามสูง 80 เมตร เปนน้ําตกที่มีความอลังการและสวยงามมาก โดยเฉพาะในฤดนู้ําหลาก รถยนตสามารถเขาถึงตัวน้ําตกได

ผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ชุลีภรณ (2544) ไดทําการศกึษาปจจยัที่มีผลตอการมีสวนรวมของประชาชนในการอนรัุกษและฟนฟูปาชายเลน ตําบลคลองโดน อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม พบวา การมีสวนรวมของประชาชนอยูในระดับกลาง และปจจยัที่มีความสัมพนัธตอการมีสวนรวมมากที่สุด คือ การเปนสมาชิกทางสังคม รองลงมา ไดแก การเขารับการฝกอบรม และการไดรับเอกสาร หรือขาวสาร โดยมีคาสัมประสิทธิ์ของตัวแปรเทากับ 9.247, 6.302 และ 15.023 ตามลําดับ สวนปญหาอุปสรรคของประชาชนในการมีสวนรวมในการอนุรักษฟนฟูปาชายเลนมากที่สุดคือ ประชาชนไมมีความรูในเรือ่งการอนุรักษและฟนฟูปาชายเลน การเขาจับสัตวน้ําบริเวณพื้นที่ปลูกปาทาํใหตนไมไดรับความเสียหาย ประชาชนไมมีเวลาและขาดแคลนกลาไมที่จะปลูก ธีรเบศร (2544) ทําการศึกษาปจจยัที่มีผลตอความคิดเห็นดานการอนุรักษทรัพยากรปาไมของชุมชนโดยรอบพื้นที่อุทยานแหงชาติน้าํตกพลิ้ว จังหวัดจนัทบุรี พบวา ปจจยัตางๆ ไดแก อาชพี สถานภาพทางสังคม รายไดรวมของครัวเรือนตอป และความรูเกี่ยวกบัการอนุรักษทรัพยากรปาไม มีผลตอความคิดเห็นดานการอนุรักษทรัพยากรปาไมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 วราภรณ (2533) ไดศึกษาเรือ่งปจจัยทางเศรษฐกิจ และสงัคมของราษฎรที่มีผลตอการอนุรักษทรัพยากรปาไมในชมุชนบานขาม ตําบลดงมูล อําเภอหนองกงุศรี จังหวดักาฬสินธุ พบวารายไดของครอบครัว ขนาดพื้นที่ทํากิน จาํนวนสมาชิกในครัวเรือน ระดับการศกึษาของหัวหนาครัวเรือน และลักษณะการถอืครองที่ดิน ไมมีผลตอการอนุรักษทรัพยากรปาไม ดงันั้น แนวทาง ในการแกไข คือ การสรางทัศนคติ การปลูกฝง การอบรมเกี่ยวกับเรือ่งการอนุรักษทรัพยากรปาไมใหแกราษฎร มีการสรางอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายไดใหแกราษฎร

Page 48: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

48

ศิริชัย (2537) ไดศึกษาเรื่องความสัมพันธระหวางปจจยัทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลตอการอนุรักษทรัพยากรปาไมบริเวณอุทยานแหงชาติคลองลาน จังหวดักาํแพงเพชร พบวา สวนใหญ มีทัศนคติในเชิงบวก โดยท่ีระดับการศึกษาของหัวหนาครัวเรือนเปนปจจัยเดียวที่มีความสัมพันธตอการอนุรักษทรัพยากรปาไม สันติรัตน (2537) ไดศึกษาเรื่อง บทบาทธรรมยุตที่มีตอการอนุรักษทรัพยากรปาไมในจังหวดัสกลนคร พบวา พระธรรมยุตมีบทบาทในการอนุรักษทรัพยากรปาไมนอย และพบวาอายุพรรษา ตําแหนง และการตดิตอกับเจาหนาที่กรมปาไมมคีวามสัมพันธหรือมีผลตอบทบาทพระธรรมยุตในการอนุรักษทรัพยากรปาไม สวนอายุ ระดับการศึกษา และความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรปาไมนั้น ไมมีความสัมพันธตอบทบาทพระธรรมยุตในการอนุรักษทรัพยากรปาไม บรรณรักษ (2543) ไดศึกษาปจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม ที่มีผลตอการพึ่งพิงผลผลิตจากปาและการมีสวนรวมในการอนรัุกษทรัพยากรปาไมของราษฎรในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาคลองนาคา จังหวดัระนอง พบวา ปจจัยที่มีผลตอการพึ่งพิงผลิตผลจากปา ไดแก ระดับการศึกษาของหัวหนาครัวเรือน และขนาดพืน้ที่ถือครอง นอกจากนี้ปรากฎวาไมมีตัวแปรใดเลยที่มีผลตอการมีสวนรวมของราษฎรในการอนุรักษทรัพยากรปาไม ดังนั้น จําเปนอยางยิ่งทีจ่ะตองมีการประชาสัมพันธเพื่อเสริมสรางความรู ความเขาใจอันดีใหกับราษฎรในพืน้ที่ รวมทั้งมีการกอตั้งปาชุมชนดวย

กรอบแนวคิดในการศึกษา จากแนวคิดทฤษฎีที่ไดศึกษา สามารถนํามาสรางกรอบแนวคิดในการศึกษาโดยมีตัวแปรไดแก ตัวแปรอิสระ คือ ปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ ปจจัยดานเศรษฐกิจสังคม ไดแก สถานภาพทางสังคม การศึกษา ภูมิลําเนา ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติ รายได การเปนสมาชิกกลุม การไดรับการฝกอบรม และปจจยัดานความรูความเขาใจ คือ การมีความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตัวแปรตาม คอื บทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในอุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย

Page 49: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

49

บทบาทตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของราษฎรในพื้นที่ขึ้นอยูกับปจจัย ดังตอไปนี้ (ภาพที ่4) ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ภาพที่ 4 กรอบแนวคดิเกีย่วกับปจจยัที่มีผลตอบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย

ปจจัยสวนบุคคล 1. เพศ 2. อายุ

ปจจัยดานเศรษฐกิจสังคม 3. สถานภาพทางสังคม 4. การศึกษา 5. ภูมิลําเนา 6. ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยาน

แหงชาติภูผามาน 7. รายได 8. การเปนสมาชิกกลุม 9. การไดรับการฝกอบรม

ปจจัยดานความรูความเขาใจ 10. การมีความรูความเขาใจใน

การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

บทบาทของราษฎรในพืน้ท่ีตอพัฒนา การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นท่ีอุทยานแหงชาต ิภูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย

1. มีบทบาทในการศึกษาปญหา 2. มีบทบาทในการวางแผน 3. มีบทบาทในการใชประโยชน 4. มีบทบาทในการติดตามประเมินผล

Page 50: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

50

สมมติฐานในการศึกษา จากการกําหนดกรอบแนวคดิเกีย่วกับปจจยัที่มีผลตอการมีบทบาทของราษฎรในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดังกลาวมาแลวขางตน ผูศึกษาไดใชเปนแนวทางในการตั้งสมมติฐานใหเห็นถึงความสัมพันธของปจจัยตาง ๆ ที่เกีย่วกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ตามขั้นตอนของการมีบทบาทของราษฎร ดังนี ้ สมมติฐานที่ 1 ราษฎรในพื้นที่ที่มีเพศแตกตางกันจะมีบทบาทตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกนั สมมติฐานที่ 2 ราษฎรในพื้นที่ที่มีอายุแตกตางกันจะมีบทบาทตอการการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกัน สมมติฐานที่ 3 ราษฎรในพื้นทีท่ี่มีสถานภาพทางสังคมแตกตางกันจะมีบทบาทตอการพัฒนา การอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกัน สมมติฐานที่ 4 ราษฎรในพื้นทีท่ี่มีการศึกษาแตกตางกันจะมบีทบาทตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกนั สมมติฐานที่ 5 ราษฎรในพื้นทีท่ี่มีภูมิลําเนาแตกตางกันจะมบีทบาทตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกนั สมมติฐานที่ 6 ราษฎรในพืน้ที่ที่มีระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติภูผามานแตกตางกันจะมีบทบาทตอการการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน- เลยแตกตางกัน สมมติฐานที่ 7 ราษฎรในพื้นที่ที่มีรายไดแตกตางกันจะมีบทบาทตอการการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกัน

Page 51: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

51

สมมติฐานที่ 8 ราษฎรในพื้นทีท่ี่เปนสมาชิกกลุมแตกตางกนัจะมีบทบาทตอการพัฒนา การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกัน สมมติฐานที่ 9 ราษฎรในพื้นทีท่ี่เขารับการฝกอบรมแตกตางกันจะมีบทบาทตอการพัฒนา การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกัน สมมติฐานที่ 10 ราษฎรในพื้นที่ที่มีความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมแตกตางกันจะมีบทบาทตอการพฒันาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกนั

Page 52: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

52

บทที่ 3

วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เปนการศกึษาบทบาทของราษฎรในพืน้ทีต่อการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน-เลย ซ่ึงเปนการวิจัยเชิงพรรณนา มีวิธีการศึกษาดังตอไปนี ้

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

2. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

3. การเก็บรวบรวมขอมูล

4. การวิเคราะหขอมูล

5. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากรในการวิจัยคร้ังนี้ ไดแก ราษฎรที่อาศัยอยูรอบอุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย รวมทั้งหมด 662 ครัวเรือน ทําการสุมตัวอยางแบบงาย (simple random sampling) โดยกําหนดใหจํานวนครัวเรือนตัวอยาง ซ่ึงเปนตัวแทนทั้งหมดของประชาชนโดยใชสูตรที่ใหโอกาสหนวยตัวอยางไดถูกเลือกเทาๆ กัน สูตรที่เหมาะสม คือ Yamane (สุบงกช, 2526) ซ่ึงมีสูตรดังนี้ n = N 1 + Ne2

Page 53: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

53

เมื่อ N = จํานวนครัวเรือนทั้งหมดของทั้ง 9 ชุมชนรวมกัน (662 ครัวเรือน) n = จํานวนครัวเรือนตัวอยางที่ตองการทราบ e = ระดับความคลาดเคลื่อนที่กําหนดไว = 0.05

แทนคา

= 250 ครัวเรือน กําหนดความคาดเคลื่อนของการสุมตัวอยางเทากับ 0.05 หมายความวา การสุมตัวอยางประชากร 100 คร้ัง มีโอกาสถูกตองจํานวน 95 คร้ัง จํานวนครัวเรือนตวัอยางที่คํานวณไดจากสูตรเทากับ 250 ครัวเรือน การหาจํานวนครัวเรือนตัวอยางในแตละหมูบาน จากชุมชนตัวอยาง 9 ชุมชน ซ่ึงมีจํานวนครัวเรือนทั้งสิ้น 662 ครัวเรือน คํานวณหาไดโดยอาศยัสัดสวนของจํานวนครัวเรือนของแตละหมูบานตอตวัอยางครัวเรือนรวมทั้งหมด โดยใชสูตรกระจายตามสัดสวน (สุบงกช, 2526) ดังนี้

ni = n Ni N เมื่อ ni = จํานวนครัวเรือนตัวอยางในชุมชน i n = จํานวนตัวอยางที่ตองการทั้งหมด Ni = จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน i N = จํานวนครัวเรือนทั้งหมด i = ชุมชนที่ 1, 2, 3, …, 9

n = 662 1+(662)0.052

Page 54: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

54

ตารางที่ 4 จํานวนครวัเรือนตัวอยาง ลําดับ ท่ี

ชื่อชุมชน จํานวนครัวเรือน

จํานวนตัวอยาง

1. หวยหมอแตก-ดงมะไฟ (วังสวาบ) 114 43 2. หวยหมอแตก-ดงมะไฟ (วังกกแกว) 120 45 3. ตาดฟา-ดงสะคราน 111 42 4. ภูหินกอง (หวยซอ,หวยเตย,หวยมวง,ทรัพยสมบูรณ) 40 15 5. ซําผักหนาม 73 27 6. หนองจาน (สาขาซําผักหนาม) 84 32 7. หวยหมากหมาง (นายางเหนอื) 1 1 8. หวยหินปนู-หวยหินเหล็กไฟ (นายางใต) 82 31 9. วังอีเมียง (นานอย,นาโก) 37 14

รวม 662 250

เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

เครื่องมือทีใ่ชในการศกึษาครัง้นี้ ใชแบบสอบถามที่ผูศกึษาไดสรางขึน้จากแนวคดิ ทฤษฎี และหลักการ แลวนํามาปรับปรุงใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคที่ทําการศึกษา โดยแบงคําถามออกเปน 4 ตอนดังนี ้ ตอนที่ 1 เปนคําถามเกี่ยวกบัขอมูลดานเศรษฐกิจสังคมของราษฎรรอบบริเวณอุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย จาํนวน 19 ขอ ลักษณะคําถามประกอบดวยขอมูลทางดาน เพศ อายุ สถานภาพสมรส สถานภาพทางสังคม ระดับการศึกษา ภูมลํิาเนา ระยะเวลาในการ ตั้งถ่ินฐาน ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาตภิูผามาน จํานวนสมาชิกในครัวเรือน อาชพีหลัก อาชีพรอง รายได เปรียบเทียบรายไดและรายจายในรอบปที่ผานมา การถือครองที่ดิน จํานวนที่ดินที่ถือครอง การเปนสมาชิกกลุม การไดรับขาวสารดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แหลงที่มาของขาวสาร การนําขาวสารไปใชประโยชน การเขารับการฝกอบรม หลักสูตรที่เขารับการฝกอบรม และประโยชนที่จะไดรับจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รูปแบบคําถามเปนทั้งคําถามปลายปด และปลายเปด

Page 55: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

55

ตอนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกบัความรูความเขาใจดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จํานวน 14 ขอ รูปแบบคําถามเปนคําถามปลายปดทั้งหมด ตอนที ่3 เปนคําถามเกีย่วกับบทบาทในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม จํานวน 32 ขอ ลักษณะคําถามประกอบดวยขัน้ตอนการมีบทบาท 4 ขั้นตอน ไดแก การมีบทบาทในการวางแผน จํานวน 8 ขอ การมบีทบาทในการปฏิบตัิ จํานวน 8 ขอ การมีบทบาทในการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ จํานวน 8 ขอและการมีบทบาทในการติดตามประเมินผล จํานวน 8 ขอ รูปแบบคําถามเปนปลายปดทั้งหมด ตอนที่ 4 เปนคําถามเกี่ยวกบัปญหาและขอเสนอแนะในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในอุทยานแหงชาติภูผามาน จํานวน 2 ขอ ลักษณะคําถามเปนคําถามปลายปดและปลายเปด

การเก็บรวบรวมขอมูล ในการเก็บรวบรวมขอมูลคร้ังนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการขั้นตอนและวิธีการดังนี ้

1. ดําเนินการจัดทําแบบสอบถามตามจํานวนกลุมตัวอยาง

2. ดําเนินการสอบถามราษฎรในแตละชมุชน โดยวิธีการสุมแบบบังเอิญ จนครบตามจํานวนกลุมตัวอยาง

3. นําแบบสอบถามที่ดําเนนิการแลว มาสํารวจความครบถวนในเนื้อความที่ตอบ

4. ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมลูจากแบบสอบถามที่ไดมาวเิคราะหขอมูล

Page 56: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

56

การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหที่รวบรวมไดจากแบบสอบถาม ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป SPSS FOR WINDOWS โดยแบงไดดังนี ้ ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลดานประชากรศาสตร ใชสถิติเชิงพรรณนา โดยการหาคาความถี่ และคารอยละ นําเสนอขอมูลในรูปแบบตารางควบคูกับการบรรยายสรุปผลการวิจัย ตอนที ่ 2 การวิเคราะหขอมลูดานความรูความเขาใจดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ วิเคราะหโดยนําคําตอบ จํานวน 14 ขอ ซ่ึงมี 2 ลักษณะ คือ ไมเห็นดวย และเห็นดวย มีเกณฑการใหคะแนน คือ คําถามที่เปนเชิงบวกในขอ 1, 3, 4, 5, 10, 12, 13 และ 14 เมื่อตอบวาเหน็ดวยจะได 1 คะแนน ไมเห็นดวยจะได 0 คะแนน และคําถามที่เปนเชิงลบในขอ 2, 6, 7, 8, 9 และ 11 เมื่อตอบคําถามวาเหน็ดวยจะได 0 คะแนน ไมเหน็ดวยจะได 1 คะแนน การวัดความรูความเขาใจในคําถามแตละขอของประชากรทั้งหมดวิเคราะหโดยการหาคาเฉลีย่ของคะแนนรวมของประชาชนทั้งหมดเปนเกณฑในการวัด ซ่ึงคาเฉลี่ยเทากับ 10.85 ถาผูใดไดคะแนนการตอบมากกวา 10.85 แสดงวา มีความเขาใจเกี่ยวกับการอนรัุกษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวลลอม แตถาผูใดไดคะแนนการตอบนอยกวาหรือเทากับ 10.85 แสดงวาไมมีความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวลลอม ตอนที ่ 3 การวิเคราะหขอมลูดานการมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาต ิ ใชสถิติเชิงพรรณนา ไดแก คาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตราฐาน นําเสนอขอมูลในรูปแบบตารางควบคูกบัการบรรยายสรุปผลการวิจัย สําหรับคะแนนการมีสวนรวมไดกําหนดไว 5 ระดับ ดังนี ้

นอยที่สุด กําหนดให 1 คะแนน นอย กําหนดให 2 คะแนน ปานกลาง กําหนดให 3 คะแนน มาก กําหนดให 4 คะแนน มากที่สุด กําหนดให 5 คะแนน

Page 57: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

57

โดยคาเฉลี่ยในการวัดคาระดับการมีบทบาทใชมาตรวัดของลิเคอรท (Likert scale) กําหนดมาตรวดัเปน 3 ขั้น (สุบงกช, 2526) ดังนี้

ระดับคาเฉลี่ย = คะแนนสูงสุด - คะแนนต่ําสุด จํานวนชั้น = 5 - 1 3 = 1.33 จากระดับคาเฉลี่ยที่ไดนํามากําหนดระดับการมีบทบาทของราษฎรในพื้นที่ที่มีตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดดังนี้

คาเฉลี่ย 1.00 – 2.33 หมายถึง ต่ํา คาเฉลี่ย >2.33 – 3.66 หมายถึง ปานกลาง คาเฉลี่ย >3.66 – 5.00 หมายถึง สูง ตอนที่ 4 การวิเคราะหเปรียบเทียบบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพฒันาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในเขตอทุยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน – เลย ใชสถิติ t-test ในการทดสอบความแตกตางดานปจจยัที่มตีัวแปรแบงเปน 2 กลุม และใชสถิติ F-test ในการทดสอบความแตกตางดานปจจยัที่มตีัวแปรมากกวา 2 กลุมขึ้นไป โดยกําหนดคานัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

1. สถิติพื้นฐาน ไดแก

1.1 การหาคาความถี่ 1.2 การหาคารอยละ

Page 58: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

58

1.3 การหาคาเฉลี่ย 1.4 การหาคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.5 การหาคาสูงสุด 1.6 การหาคาต่ําสุด

2. สถิติทดสอบ ไดแก

2.1 t-test ใชสําหรับทดสอบความแตกตางดานปจจยัที่มตีัวแปรแบงเปน 2 กลุม 2.3 F-test ใชสําหรับทดสอบความแตกตางดานปจจยัที่มีตัวแปรมากกวา 2 กลุมขึ้นไป

Page 59: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

59

บทที่ 4

ผลและการวิจารณ

การศึกษาเรื่อง บทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย ผูศึกษาไดทําการรวบรวมและวเิคราะหขอมูลตามขัน้ตอนตางๆ โดยแบงผลการศึกษาออกเปน 4 ตอน ดังนี ้ ตอนที่ 1 ขอมูลดานประชากรศาสตร ตอนที่ 2 ความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตอนที่ 3 บทบาทของราษฎรในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตอนที่ 4 ปจจยัที่มีผลตอบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน - เลย ตอนที่ 5 ปญหาดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในอุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย

ขอมูลดานประชากรศาสตร

การศึกษาขอมลูดานประชากรศาสตรของราษฎรรอบเขตอุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน-เลย จาก 9 ชุมชน รวมทั้งสิ้น 662 ครัวเรือน (ตารางที่ 5) ปรากฏผลการศึกษา ดังนี ้ เพศ ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรสวนใหญเปนเพศชาย คิดเปนรอยละ 57.2 และเพศหญิง คิดเปนรอยละ 42.8

Page 60: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

60

อายุ ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรมีอายุเฉลี่ย 47.19 ป โดยมีอายุระหวาง 41 – 60 ป คิดเปนรอยละ 58.8 รองลงมามีอายุนอยกวา 41 ป คิดเปนรอยละ 30.0 และอายุมากกวา 60 ป คิดเปนรอยละ 11.2 ตามลําดับ สถานภาพ ผลการศกึษาพบวา ราษฎรสวนใหญแตงงานและอยูดวยกนั คิดเปนรอยละ 83.2 รองลงมามีสถานภาพหมาย/หยาราง คิดเปนรอยละ 8.8 สถาพโสด คิดเปนรอยละ 6.4 และมีสถานภาพแตงงานแตแยกกนัอยู คดิเปนรอยละ 1.6 ตามลําดับ สถานภาพทางสังคม ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรสวนใหญไมมีสถานภาพทางสังคม คิดเปนรอยละ 49.6 รองลงมามีตําแหนงเปนกรรมการหมูบาน คิดเปนรอยละ 17.6 กรรมการกลุม คิดเปนรอยละ 11.2 ผูชวยผูใหญบาน คิดเปนรอยละ 7.2 ที่ปรึกษาคณะกรรมการหมูบาน คิดเปนรอยละ 4.8 ผูใหญบาน คิดเปนรอยละ 4.0 สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล คิดเปน รอยละ 3.2 ประธานกลุม คิดเปนรอยละ 1.6 และประธาน/รองประธานองคการบริหารสวนตําบล คิดเปนรอยละ 0.8 ตามลําดับ ระดับการศึกษา ผลจากการศกึษาพบวา ราษฎรสวนใหญจบการศกึษาภาคบังคับ (ป.6) หรือตํ่ากวา คดิเปนรอยละ 73.6 รองลงมา คือ จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา คิดเปนรอยละ 10.4 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทา คิดเปนรอยละ 8.8 ไมไดเรียน คิดเปนรอยละ 6.4 และจบปริญญาตรีหรือสูงกวา คิดเปนรอยละ 0.8 ตามลําดับ ภูมิลําเนา ผลจากการศกึษาพบวา ราษฎรสวนใหญยายมาจากที่อ่ืน คดิเปนรอยละ 52.0 สวนทีเ่หลือเปนผูที่เกดิในตําบล คิดเปนรอยละ 48.0 ระยะเวลาในการตัง้ถิ่นฐาน ผลจากการศกึษาพบวา สวนใหญมรีะยะเวลาในการตั้งถ่ินฐานเฉลี่ย 38.44 ป โดยสวนใหญมีระยะเวลาในการตั้งถ่ินฐาน 21-40 ป คิดเปนรอยละ 49.2 รองลงมาระยะเวลา 41-60 ป คิดเปนรอยละ 26.8 ระยะเวลา 1-20 ป คิดเปนรอยละ 14.4 และระยะเวลามากกวา 60 ป คิดเปนรอยละ 9.6 ตามลําดับ

Page 61: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

61

ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาตภิผูามาน ผลจากการศกึษาพบวา สวนใหญราษฎรตั้งบานเรือนอยูหางจากอทุยานแหงชาตเิปนระยะเฉลี่ย 29.97 กม. โดยสวนใหญอยูหางเปนระยะนอยกวา 21 กม. คิดเปนรอยละ 40.0 รองลงมาอยูหางเปนระยะ 21-40 กม. คิดเปนรอยละ 34.4 อยูหางเปนระยะ 41-60 กม. และอยูหางเปนระยะมากกวา 60 กม. มีจาํนวนเทากัน คิดเปนรอยละ 12.8 ตามลําดับ จํานวนสมาชกิในครัวเรือน ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรมีจํานวนสมาชิกในครวัเรือนเฉลี่ย 4.97 คน โดยสวนใหญมีสมาชิกในครัวเรือนอยูระหวาง 4–6 คน คิดเปนรอยละ 56.8 รองลงมามีจํานวน 1–3 คน คิดเปนรอยละ 32.8 และมีจาํนวนมากกวา 6 คน คิดเปนรอยละ 10.4 ตามลําดับ อาชีพหลัก ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม คิดเปนรอยละ 87.6 รองลงมาอาชีพรับจางนอกภาคเกษตรกรรม คิดเปนรอยละ 3.2 อาชีพคาขาย คิดเปน รอยละ 2.8 เล้ียงสัตว คิดเปนรอยละ 2.4 รับจางในภาคเกษตรกรรม คิดเปนรอยละ 1.6 อาชีพขาราชการ/รัฐวิสาหกจิ เก็บของปาขาย และอาชีพอ่ืน ๆ มีจํานวนเทากัน คิดเปนรอยละ 0.8 ตามลําดับ อาชพีรอง ผลจากการศกึษาพบวา ราษฎรสวนใหญมีอาชีพรองคือรับจางในภาคเกษตรกรรม คิดเปนรอยละ 35.2 รองลงมาเลี้ยงสัตว คิดเปนรอยละ 18.4 ไมมีอาชีพรอง คิดเปนรอยละ 16.0 รับจางนอกภาคเกษตรกรรม คิดเปนรอยละ 9.6 อ่ืน ๆ คิดเปนรอยละ 5.6 เกษตรกรรมและคาขาย มีจํานวนเทากนัคิดเปนรอยละ 5.2 และเก็บหาของปาขาย คิดเปนรอยละ 4.8 ตามลําดบั รายได ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรมีรายไดเฉลี่ย 62,853.20 บาท โดยสวนใหญ มีรายไดตอปอยูระหวาง 40,001 – 60,000 บาท คิดเปนรอยละ 28.4 รองลงมามีรายไดนอยกวา 20,001 บาท คิดเปนรอยละ 27.2 รายไดมากกวา 60,000 บาทขึ้นไป คิดเปนรอยละ 23.6 และรายไดระหวาง 20,001 - 40,000 บาท คิดเปนรอยละ 20.8 ตามลําดับ เปรียบเทียบรายไดและรายจายในรอบปท่ีปานมา ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรสวนใหญรายไดไมพอใชตองกูยืม คิดเปนรอยละ 43.6 รองลงมารายไดพอใชแตไมมีเงินออม คิดเปนรอยละ 39.2 และรายไดพอใชและมีเงนิออม คิดเปนรอยละ 17.2 ตามลําดับ

Page 62: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

62

การถือครองท่ีดิน ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรมีที่ดินถือครองเฉลี่ย 19.20 ไร โดยสวนใหญมีที่ดินถือครอง 1-20 ไร คิดเปนรอยละ 51.2 รองลงมามทีี่ดินถือครอง 21-40 ไร คดิเปนรอยละ 32.0 ไมมีที่ดินถือครอง คิดเปนรอยละ 11.2 มีทีด่ินถือครอง 41-60 ไร คิดเปนรอยละ 4.8 และมากกวา 60 ไร คิดเปนรอยละ 0.8 การเปนสมาชกิกลุม ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรสวนใหญเปนสมาชิกกลุม คิดเปนรอยละ 77.6 โดยสวนใหญเปนสมาชิกกลุมฌาปนกิจ คดิเปนรอยละ 46.4 รองลงมาเปนสมาชิกกลุมออมทรัพย คิดเปนรอยละ 31.2 เปนสมาชิกกลุมเกษตรกรและกลุมแมบาน มจีํานวนเทากนั คิดเปนรอยละ 26.4 เปนสมาชิกกลุมราษฎรอาสาสมัครพิทักษปา (ร.ส.ท.ป.) คิดเปนรอยละ 20.0 เปนสมาชิกกลุมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และกลุมอาสาสมัครปองกันไฟปา มีคะแนนเทากนั คิดเปนรอยละ 16.8 เปนสมาชิกกลุมอื่นๆ คิดเปนรอยละ 10.4 เปนสมาชิกลูกเสือชาวบาน คิดเปนรอยละ 6.4 ตามลําดับ การไดรับขาวสารดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรสวนใหญไดรับขาวสารดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คิดเปนรอยละ 94.4 สวนที่เหลือไมไดรับขาวสาร คิดเปนรอยละ 5.6

แหลงท่ีมาของขาวสาร ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรสวนใหญรับขาวสารจากโทรทัศน คิดเปนรอยละ 72.0 รองลงมารับขาวสารจากเจาหนาที่รัฐ/กํานัน/ผูใหญบาน คิดเปนรอยละ 66.4 วิทยุ คิดเปนรอยละ 44.0 หอกระจายขาว/ประกาศ คิดเปนรอยละ 42.4 ญาติ/เพื่อนบาน คิดเปนรอยละ 24.8 หนังสือพิมพ คิดเปนรอยละ 24.4 และองคกรเอกชน คดิเปนรอยละ 18.4 ตามลําดับ

การนําขาวสารที่ไดรับไปใชประโยชน ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรสวนใหญนําขาวสารที่ไดรับไปถายทอดใหบุคคลอื่น คิดเปนรอยละ 43.6 รองลงมานําหลักการไปปฏิบัติเปนตัวอยาง คิดเปนรอยละ 34.4 และไมไดนําไปใชประโยชน คิดเปนรอยละ 22.0 ตามลําดับ การเขารับการฝกอบรม ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรสวนใหญไดรับการฝกอบรม คิดเปนรอยละ 76.0 สวนที่เหลือไมไดรับการฝกอบรม คิดเปนรอยละ 24.0

Page 63: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

63

หลักสูตรท่ีเขารับการฝกอบรม ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรสวนใหญไดรับการฝกอบรมหลักสูตรการฝกอาชีพและการปองกันและดับไฟปา มีคะแนนเทากนั คิดเปนรอยละ 36.8 รองลงมาหลักสูตรปาชมุชน คดิเปนรอยละ 31.2 ราษฎรอาสาสมัครพิทักษปา คิดเปนรอยละ 26.4 อาสาสมคัรหมูบาน คดิเปนรอยละ 25.6 การปลูกปาเศรษฐกิจ คดิเปนรอยละ 20.0 เยาวชนอาสาสมคัรพิทักษปา คิดเปนรอยละ 16.0 ไทยอาสาสมัครปองกันชาติ คิดเปนรอยละ 9.6 และเยาวชนพิทักษปารักษาสิ่งแวดลอม คิดเปนรอยละ 8.8 ตามลําดับ การไดรับประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรสวนใหญไดรับประโยชนจากทรพัยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คิดเปนรอยละ 95.2 สวนที่เหลือไมไดรับประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คิดเปนรอยละ 4.8 ประโยชนท่ีไดรับจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผลจากการศึกษาพบวา ราษฎรสวนใหญไดรับประโยชนจากทรพัยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมโดยเปนแหลงอาหารจาก ของปา พืช และสัตว คิดเปนรอยละ 83.2 รองลงมาเปนแหลงประกอบอาชีพ คิดเปนรอยละ 62.4 เปนแหลงสรางรายไดเสริม คิดเปนรอยละ 43.2 เปนแหลงศกึษาหาความรู คดิเปนรอยละ 33.6 และเปนแหลงพกัผอนหยอนใจ คดิเปนรอยละ 29.6 ตามลําดับ ตารางที่ 5 จาํนวนและคารอยละดานประชากรศาสตร

n = 250 ลักษณะขอมูล จํานวน รอยละ หมายเหตุ

เพศ ชาย 143 57.2 หญิง 107 42.8

รวม 250 100.0 อายุ (ป) นอยกวา 41 75 30.0 เฉลี่ย 41- 60 147 58.8 47.19 ป มากกวา 60 28 11.2

รวม 250 100.0

Page 64: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

64

ตารางที่ 5 ตอ n = 250

ลักษณะขอมูล จํานวน รอยละ หมายเหตุ สถานภาพสมรส โสด 16 6.4 แตงงานและอยูดวยกัน 208 83.2 หมาย/หยาราง 22 8.8 แตงงานแตแยกกนัอยู 4 1.6

รวม 250 100.0 สถานภาพทางสังคม ไมมีสถานภาพทางสังคม 124 49.6 ผูใหญบาน 10 4.0 ผูชวยผูใหญบาน 18 7.2 กรรมการหมูบาน 44 17.6 ที่ปรึกษาคณะกรรมการหมูบาน 12 4.8 ประธาน/รองประธาน อบต. 2 0.8 สมาชิก อบต. 8 3.2 ประธานกลุมตางๆ 4 1.6 กรรมการกลุมตางๆ 28 11.2

รวม 250 100.0 ระดับการศึกษา ไมไดเรียน 16 6.4 จบการศึกษาภาคบังคับ (ป.6) หรือต่าํกวา 184 73.6 จบชั้นมธัยมศึกษาตอนตนหรือเทยีบเทา 22 8.8 จบชั้นมธัยมศึกษาตอนปลายหรือเทยีบเทา 26 10.4 จบปริญญาตรีหรือสูงกวา 2 0.8

รวม 250 100.0

Page 65: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

65

ตารางที่ 5 ตอ n = 250

ลักษณะขอมูล จํานวน รอยละ หมายเหตุ ภูมิลําเนา เกิดในตาํบล 120 48.0 ยายมาจากที่อ่ืน 130 52.0

รวม 250 100.0 ระยะเวลาในการตั้งถ่ินฐาน (ป) 1 – 20 36 14.4 เฉลี่ย 21 – 40 123 49.2 38.44 ป 41 – 60 67 26.8 มากกวา 60 ป 24 9.6

รวม 250 100.0 ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาตภิผูามาน (กม.) 1 – 20 100 40.0 เฉลี่ย 21– 40 86 34.4 29.97 กม. 41 – 60 32 12.8 มากกวา 60 กม. 32 12.8

รวม 250 100.0 จํานวนสมาชิกในครัวเรือน (คน) 1 – 3 82 32.8 เฉลี่ย 4 – 6 142 56.8 4.97 คน มากกวา 6 26 10.4

รวม 250 100.0 อาชีพหลัก เกษตรกรรม 219 87.6 เล้ียงสัตว 6 2.4

Page 66: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

66

ตารางที่ 5 ตอ n = 250

ลักษณะขอมูล จํานวน รอยละ หมายเหตุ คาขาย 7 2.8 ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ 2 0.8 รับจางในภาคเกษตรกรรม 4 1.6 รับจางนอกภาคเกษตรกรรม 8 3.2 เก็บหาของปาขาย 2 0.8 อ่ืน ๆ 2 0.8

รวม 250 100.0 อาชีพรอง ไมมีอาชีพรอง 40 16.0 เกษตรกรรม 13 5.2 เล้ียงสัตว 46 18.4 คาขาย 13 5.2 รับจางในภาคเกษตรกรรม 88 35.2 รับจางนอกภาคเกษตรกรรม 24 9.6 เก็บหาของปาขาย 12 4.8 อ่ืน ๆ 14 5.6

รวม 250 100.0 รายไดตอเดือน (บาท) นอยกวา 20,001 68 27.2 เฉลี่ย 20,001 - 40,000 52 20.8 62,853.20 40,001 - 60,000 71 28.4 บาท มากกวา 60,000 59 23.6

รวม 250 100.0

Page 67: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

67

ตารางที่ 5 ตอ n = 250

ลักษณะขอมูล จํานวน รอยละ หมายเหตุ เปรียบเทียบรายไดและรายจายในรอบปที่ผานมา พอใชและมีเงินออม 43 17.2 พอใชแตไมมีเงินออม 98 39.2 ไมพอใชตองกูยืม 109 43.6

รวม 250 100.0 การถือครองที่ดิน ไมมีที่ดนิ 28 11.2 เฉลี่ย มีที่ดินนอยกวา 21 ไร 128 51.2 19.20 ไร มีที่ดิน 21- 40 ไร 80 32.0 มีที่ดิน 41 – 60 ไร 12 4.8 มีที่ดิน 60 ไร ขึ้นไป 2 0.8

รวม 250 100.0 การเขาเปนสมาชิกกลุม ไมไดเปน 56 22.4 เปน 194 77.6

รวม 250 100.0 กลุมที่เขาเปนสมาชิก กลุมราษฎรอาสาสมัครพิทักษปา (ร.ส.ท.ป.) 50 20.0 กลุมอนุรักษธรรมชาติ 42 16.8 กลุมอาสาสมัครปองกันไฟปา 42 16.8 กลุมเกษตรกร 66 26.4 กลุมออมทรัพย 78 31.2 กลุมฌาปนกิจ 116 46.4 กลุมแมบาน 66 26.4 กลุมลูกเสือชาวบาน 16 6.4 กลุมอื่นๆ 26 10.4

Page 68: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

68

ตารางที่ 5 ตอ n = 250

ลักษณะขอมูล จํานวน รอยละ หมายเหตุ การไดรับขาวสารดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ไมไดรับ 14 5.6 ไดรับ 236 94.4

รวม 250 100.0 แหลงที่มาของขาวสาร วิทย ุ 110 44.0 โทรทัศน 180 72.0 หนังสือพิมพ 61 24.4 หอกระจายขาว/ประกาศ 106 42.4 เจาหนาที่รัฐ/กํานัน/ผูใหญบาน 166 66.4 องคกรเอกชน 46 18.4 ญาติ/เพื่อนบาน 62 24.8 การนําขาวสารที่ไดรับไปใชประโยชน ไมไดนําไปใชประโยชน 55 22.0 นําไปถายทอดใหบุคคลอื่น 109 43.6 นําหลักการไปปฏิบัติเปนตัวอยาง 86 34.4

รวม 250 100.0 การเขารับการฝกอบรม ไมไดเขารับ 60 24.0 เขารับ 190 76.0

รวม 250 100.0

Page 69: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

69

ตารางที่ 5 ตอ n = 250

ลักษณะขอมูล จํานวน รอยละ หมายเหตุ หลักสูตรที่เขารับการฝกอบรม ปาชุมชน 78 31.2 อาสาสมัครหมูบาน 64 25.6 การฝกอาชีพอ่ืนๆ 92 36.8 ไทยอาสาปองกันชาต ิ 24 9.6 การปลูกปาเศรษฐกิจ 50 20.0 เยาวชนอาสาสมัครพิทักษปา 40 16.0 การปองกันและดับไฟปา 92 36.8 เยาวชนรักษปา รักษาสิ่งแวดลอม 22 8.8 ราษฎรอาสาสมัครพิทักษปา 66 26.4 การไดรับประโยชนจากทรพัยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

ไมไดรับประโยชน 12 4.8 ไดรับประโยชน 238 95.2

รวม 250 100.0 ประโยชนที่ไดรับจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เปนแหลงประกอบอาชีพ 156 62.4 เปนแหลงศึกษาหาความรู 84 33.6 เปนแหลงสรางรายไดเสริม 108 43.2 เปนแหลงพักผอนหยอนใจ 74 29.6 เปนแหลงอาหารจาก ของปา พืช และสัตว 208 83.2

Page 70: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

70

ความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผลการศกึษาพบวา ราษฎรสวนใหญมีความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมโดยรวม คดิเปนรอยละ 73.9 โดยประเด็นที่ราษฎรมีความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมซึ่งไดคะแนนมากทีสุ่ด คือ การปลกูตนไมในวนัสําคัญตางๆ เปนวิธีการอยางหนึ่งของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คิดเปนรอยละ 98.4 รองลงมาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมถือวาเปนแหลงรวมของอาหาร ที่อยูอาศัยเครื่องนุงหม และ ยารักษาโรคของมนษุยที่สําคัญยิ่ง คิดเปนรอยละ 96.0 ส่ิงแวดลอม หมายถึง ทุกสิ่งทกุอยางรอบตวัเรา ทั้งสิ่งที่เกิดตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น คิดเปนรอยละ 95.2 การที่ราษฎรไดรับการฝกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวกับทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จะชวยทําใหราษฎรมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากขึ้น คิดเปนรอยละ 92.4 การทองเทีย่วในอทุยานแหงชาติดวยความระมดัระวงั โดยการทิ้งขยะใหเปนที่ ไมนํากอนหิน พนัธุไม หรือวัสดุธรรมชาตใิด ๆ ออกมาจากอทุยานแหงชาต ิ ถือเปนการมบีทบาทในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมวิธีหนึ่ง คิดเปนรอยละ 92.0 การตัดไมทาํลายปา เปนสาเหตุหลักทีท่ําใหเกิดน้ําปาไหลหลากและเกดิน้ําทวมฉับพลันไดมากขึ้น คิดเปนรอยละ 88.0 การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนหนาที่ของเจาหนาที่รัฐเพียงฝายเดียวเทานั้น ราษฎรไมมีหนาที่เกี่ยวของแตอยางใด คิดเปนรอยละ 84.0 การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คอื การดูแล ปองกัน รักษา ทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมมใิหเสื่อมสภาพลง และสามารถใชไดอยางไมมีทีส้ิ่นสุด คิดเปนรอยละ 81.2 หากพื้นที่ทํากนิไมเพยีงพอ การสามารถเขาไปจับจองที่ดนิในพืน้ที่ปาได ตามชอบ โดยไมตองขออนุญาตจากใคร คิดเปนรอยละ 80.8 ทรัพยากรที่ใชแลวหมดไป หมายถึง ทรัพยากร ที่นํามาใชแลวส้ินเปลืองไปและหมดไปในที่สุด เชน พลังงานตางๆทีเ่ปนเชื้อเพลิง ทวิทัศนที่สวยงาม เชน น้ําตก หนาผา ฯลฯ หากใชไมเปนหรือทําลายแลวกไ็มสามารถทดแทนหรือทําใหเกิดขึ้นใหมได คิดเปนรอยละ 74.4 การสรางฝายดักตะกอนในบางสวนของลําหวยพืน้ที่ตนน้ําไมใชการอนุรักษดนิและน้ํา คิดเปนรอยละ 62.4 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หมายถงึ ส่ิงตางๆ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ดิน น้ํา ปาไม ทุงหญา สัตวปา แรธาตุ พลังงาน และส่ิงที่วานั้นไมสามารถนําไปใชประโยชนได คิดเปนรอยละ 56.0 การเก็บหาของปา เชน เหด็ หนอไม น้ําผ้ึง ในเขตอุทยานแหงชาติ ไมใชส่ิงผิดกฎหมาย เนื่องจากไมใชการตัดไมทําลายปา คิดเปนรอยละ 42.8 สําหรับขอที่ไดคะแนนนอยที่สุด คือ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ การอนุรักษและฟนฟู ควรปลอยใหเกิดขึน้เอง หรือเปนไปตามธรรมชาติ คิดเปนรอยละ 40.4 ตามลําดับ รายละเอียดดังตารางที่ 6 และ 7 ดังนี้

Page 71: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

71

ตารางที่ 6 ความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จํานวน (รอยละ)

ความรูความเขาใจ การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ไมเขาใจ เขาใจ 1.ส่ิงแวดลอม หมายถึง ทุกสิง่ทุกอยางรอบตัวเรา ทั้งสิ่งที่เกิดตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น

12 (4.8)

238 (95.2)

2.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หมายถึง ส่ิงตางๆ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ดิน น้ํา ปาไม ทุงหญา สัตวปา แรธาตุ พลังงาน และสิ่งที่วานั้นไมสามารถนําไปใชประโยชนได

110 (44.0)

140 (56.0)

3. ทรัพยากรทีใ่ชแลวหมดไป หมายถึง ทรัพยากรที่นํามาใชแลวส้ินเปลืองไปและหมดไปในที่สุด เชน พลังงานตางๆที่เปนเชื้อเพลิง ทิวทศันที่สวยงาม เชน น้ําตก หนาผา ฯลฯ หากใชไมเปนหรือทําลายแลวก็ไมสามารถทดแทนหรือทําใหเกิดขึ้นใหมได

64 (25.6)

186 (74.4)

4. ทรัพยากรธรรมชาตแิละสิง่แวดลอมถือวาเปนแหลงรวมของอาหาร ที่อยูอาศัย เครือ่งนุงหม และยารักษาโรคของมนุษยที่สําคัญยิ่ง

10 (4.0)

240 (96.0)

5. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คือ การดูแล ปองกนั รักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมใิหเสื่อมสภาพลง และสามารถใชไดอยางไมมทีี่ส้ินสุด

47 (18.8)

203 (81.2)

6. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ การอนุรักษและฟนฟู ควรปลอยใหเกิดขึน้เอง หรือเปนไปตามธรรมชาติ

149 (59.6)

101 (40.4)

7. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนหนาที่ของเจาหนาที่รัฐเพยีงฝายเดยีวเทานั้น ราษฎรไมมีหนาที่เกีย่วของแตอยางใด

40 (16.0

210 (84.0)

8. การสรางฝายดักตะกอนในบางสวนของลําหวยพื้นทีต่นน้ําไมใชการอนุรักษดนิและน้ํา

94 (37.6)

156 (62.4)

9.หากพื้นที่ทาํกินไมเพียงพอ การสามารถเขาไปจับจองทีด่ินใน พื้นที่ปาไดตามชอบ โดยไมตองขออนุญาตจากใคร

48 (19.2)

202 (80.8)

10. การตัดไมทําลายปา เปนสาเหตุหลักที่ทําใหเกิดน้ําปาไหลหลากและเกดิน้ําทวมฉับพลันไดมากขึ้น

30 (12.0)

220 (88.0)

Page 72: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

72

ตารางที่ 5 ตอ จํานวน (รอยละ)

ความรูความเขาใจ การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ไมเขาใจ เขาใจ 11. การเก็บหาของปา เชน เห็ด หนอไม น้าํผ้ึง ในเขตอทุยานแหงชาติ ไมใชส่ิงผิดกฎหมาย เนื่องจากไมใชการตัดไมทําลายปา

143 (57.2)

107 (42.8)

12. การที่ราษฎรไดรับการฝกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวกับทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอม จะชวยทําใหราษฎรมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากขึ้น

19 (7.6)

231 (92.4)

13. การปลูกตนไมในวนัสําคัญตางๆ เปนวิธีการอยางหนึ่งของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม

4 (1.6)

246 (98.4)

14. การทองเทีย่วในอทุยานแหงชาติดวยความระมัดระวัง โดยการทิ้งขยะใหเปนที ่ไมนํากอนหิน พันธุไม หรือวสัดุธรรมชาตใิด ๆ ออกมาจากอุทยานแหงชาต ิ ถือเปนการมบีทบาทในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมวิธีหนึง่

20 (8.0)

230 (92.0)

โดยรวม ตารางที่ 7 ระดบัความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(n = 250) ความรูความเขาใจในการอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอม จํานวน รอยละ หมายเหตุ

ไมเขาใจ ( 5 – 10 คะแนน) 95 26.1 คาต่ําสุด = 5 เขาใจ (11 – 14 คะแนน) 269 73.9 คาสูงสุด = 14

รวม 250 100.0 คาเฉลี่ย = 10.85

Page 73: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

73

บทบาทของราษฎรในการอนรัุกษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

จากการศึกษาการมีบทบาทของราษฎรในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพบวา โดยรวมราษฎรมีบทบาทในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยูในระดับปานกลาง สําหรับการมีบทบาทในการวางแผนดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพบวา ราษฎร มีบทบาทอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ทุกขออยูในระดับปานกลาง ไดแก การมีบทบาทในการวางแผนปองกันการเกดิไฟปาในพื้นที่อุทยานแหงชาติ การมีบทบาทในการวางแผนปรับปรุงสภาพปาเสื่อมโทรมในพื้นที่อุทยานแหงชาต ิ การมีบทบาทในการวางแผนกําหนดแนวเขตพื้นที่อนุรักษแบบมีสวนรวม การมีบทบาทในการวางแผนการกําหนดกฎระเบียบในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาต ิ การมีบทบาทในการวางแผนการประชาสัมพันธใหเห็นคุณคา ความสําคัญ และประโยชนของทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอม การมีบทบาทในการวางแผนการประชาสัมพันธใหเห็นคณุคา ความสําคัญ และประโยชนของทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การมีบทบาทในการวางแผนปรบัปรุงสภาพ ปาเสื่อมโทรมในพื้นที่อุทยานแหงชาติ การมีบทบาทในการวางแผนปองกันการลักลอบทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติ และการมีบทบาทในการวางแผน การถายทอดความรู และแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของทองถ่ิน ดานการมีบทบาทในการปฏิบัติดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พบวาราษฎรมบีทบาทอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ทุกขออยูในระดับ ปานกลาง ไดแก การมีบทบาทในการปองกันและดับไฟปาในพืน้ที่อุทยานแหงชาต ิ การมีบทบาทในการปรับปรงุ ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เสื่อมโทรมในพื้นที่อุทยานแหงชาติ เชน การปลูกเสริมปา ฯลฯ การมีบทบาทในการกําหนดแนวเขตอนุรักษในพืน้ที่อุทยานแหงชาติแบบมีสวนรวม การมีบทบาทในการปฏิบตัิตามกฎ ระเบยีบในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม การมีบทบาทในการหาขาวดานตางๆ ใหกบัเจาหนาที่รัฐ การมีบทบาทในการเขารับการฝกอบรมและจัดกจิกรรมการอนุรักษตางๆที่ราชการจัดขึ้น การมีบทบาทในการปฏิบัติงานปองกันการลักลอบทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการมีบทบาทในการปฏิบัติงานประชาสัมพันธใหเหน็คุณคา ความสําคัญและประโยชนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

Page 74: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

74

ดานการมีบทบาทในการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พบวาราษฎร มีบทบาทอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ทุกขออยูในระดับปานกลาง ไดแก การมีบทบาทในการจัดการทีด่ินที่เปนที่อยูอาศัยและที่ทํากิน การมีบทบาทในการจดัการที่ดินและปาไมที่เปนปาชุมชนเพื่อการอนุรักษ การมีบทบาทในการจัดการที่ดินและปาไมเพื่อการวิจัยและการศึกษา การมีบทบาทในการจัดการที่ดินและปาไมเพื่อเปนที่อนุรักษตนน้าํ การมีบทบาทในการจัดการทรัพยากรสัตวปาเพื่อการอนุรักษ การมีบทบาทในการจัดการทรัพยากรสัตวปาเพื่อ การวิจัยและการศึกษา การมีบทบาทในการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการอุปโภคและบริโภค การมีบทบาทในการจัดการพื้นทีอ่นุรักษตนน้ําเพื่อการวิจยัและการศึกษา ดานการมีบทบาทในการตดิตามประเมินผลดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม พบวาราษฎรมบีทบาทอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ทุกขอ อยูในระดับปานกลาง ไดแก การมีบทบาทในการติดตามประเมินผลการปองกันและดับไฟปา การมีบทบาทในการติดตามประเมินผลการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในดานตางๆ การมีบทบาทในการติดตามประเมินผลการปรับปรุงฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมที่เสื่อมโทรม การมีบทบาทในการติดตามประเมินผลการปองกันและปราบปรามการกระทําผิด การมีบทบาทในการติดตามประเมินผลการใชกฎ ระเบยีบในการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การมีบทบาทในการตดิตามประเมนิผลการกําหนดแนวเขตพืน้ที่อนุรักษแบบมีสวนรวม การมีบทบาทในการติดตามประเมินผลการฝกอบรม และการจัดกิจกรรมดานการอนุรักษตาง ๆ การมีบทบาทในการติดตามประเมินผลการประชาสัมพันธใหเห็นคุณคา ความสําคัญและประโยชนของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

Page 75: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

75

ตารางที่ 8 การมีบทบาทของราษฎรในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม n = 250

กิจกรรมการมีบทบาท x S.D. ระดับการมีบทบาท

การมีบทบาทในการวางแผน

1. การมีบทบาทในการวางแผนปองกันการเกิดไฟปาในพื้นที่อุทยานแหงชาติ

3.12 1.046 ปานกลาง

2. การมีบทบาทในการวางแผนปรับปรุงสภาพปาเสื่อมโทรมในพื้นทีอุ่ทยานแหงชาติ

2.94 0.890 ปานกลาง

3. การมีบทบาทในการวางแผนการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาต ิ

3.13 0.911 ปานกลาง

4. การมบีทบาทในการวางแผนกําหนดแนวเขตพืน้ที่อนุรักษแบบมีสวนรวม

3.18 1.051 ปานกลาง

5. การมีบทบาทในการวางแผนปองกันการลักลอบทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาต ิ

2.81 1.079 ปานกลาง

6. การมีบทบาทในการวางแผนการกําหนดกฎ ระเบียบในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที ่อุทยานแหงชาติ

3.11 1.024 ปานกลาง

7. การมีบทบาทในการวางแผนการประชาสัมพันธใหเห็นคุณคา ความสําคัญ และประโยชนของทรพัยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3.02 1.035 ปานกลาง

8. การมีบทบาทในการวางแผนการถายทอดความรู และแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของทองถ่ิน

3.00 1.062 ปานกลาง

เฉลี่ย 3.04 1.012 ปานกลาง

Page 76: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

76

ตารางที่ 8 ตอ n = 250

กิจกรรมการมีบทบาท x S.D. ระดับการมีบทบาท

การมีบทบาทในการปฏิบตั ิ 9. การมีบทบาทในการปองกันและดับไฟปาในพื้นที่ อุทยานแหงชาติ

3.16 0.962 ปานกลาง

10. การมีบทบาทในการหาขาวดานตางๆ ใหกับ เจาหนาที่รัฐ

2.56 1.041 ปานกลาง

11. การมบีทบาทในการปรับปรุง ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เสื่อมโทรมในพื้นที่อุทยานแหงชาติ เชน การปลูกเสริมปา ฯลฯ

3.22 1.080 ปานกลาง

12. การมีบทบาทในการกําหนดแนวเขตอนุรักษในพื้นที่อุทยานแหงชาติแบบมีสวนรวม

3.16 0.985 ปานกลาง

13. การมีบทบาทในการเขารับการฝกอบรมและจดักจิกรรมการอนุรักษตางๆที่ราชการจดัขึ้น

2.98 0.984 ปานกลาง

14. การมีบทบาทในการปฏบิัติงานปองกนัการลักลอบทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.74 0.931 ปานกลาง

15. การมีบทบาทในการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3.23 0.945 ปานกลาง

16. การมีบทบาทในการปฏบิัติงานประชาสัมพันธใหเหน็คุณคา ความสําคัญและประโยชนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.93 0.889 ปานกลาง

เฉลี่ย 3.00 0.977 ปานกลาง การมีบทบาทในการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

17. การมีบทบาทในการจัดการที่ดินทีเ่ปนทีอ่ยูอาศยั และที่ทํากิน

2.76 0.865 ปานกลาง

18. การมีบทบาทในการจดัการที่ดินและปาไมที่เปนปาชุมชนเพื่อการอนุรักษ

2.72 0.910 ปานกลาง

Page 77: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

77

ตารางที่ 8 ตอ n = 250

กิจกรรมการมีบทบาท x S.D. ระดับการมีบทบาท

19. การมีบทบาทในการจดัการที่ดินและปาไมเพื่อการวิจยัและการศึกษา

2.39 1.052 ปานกลาง

20. การมีบทบาทในการจดัการที่ดินและปาไมเพื่อเปนที่อนุรักษตนน้ํา

2.57 0.993 ปานกลาง

21. การมีบทบาทในการจดัการทรัพยากรสัตวปาเพื่อการอนุรักษ

2.56 0.977 ปานกลาง

22. การมีบทบาทในการจดัการทรัพยากรสัตวปาเพื่อการวิจยั และการศึกษา

2.35 0.890 ปานกลาง

23. การมีบทบาทในการจดัการทรัพยากรน้าํเพื่อการอุปโภคและบริโภค

2.71 1.051 ปานกลาง

24. การมีบทบาทในการจัดการพื้นที่อนุรักษตนน้ําเพื่อการวิจัยและการศึกษา

2.48 0.884 ปานกลาง

เฉลี่ย 2.57 0.953 ปานกลาง การมีบทบาทในการติดตามประเมินผล 25. การมีบทบาทในการตดิตามประเมินผลการปองกัน

และดับไฟปา 2.82 0.943 ปานกลาง

26. การมีบทบาทในการตดิตามประเมินผลการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในดานตางๆ

2.71 0.840 ปานกลาง

27. การมีบทบาทในการตดิตามประเมินผลการปรับปรุงฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เสื่อมโทรม

2.69 0.785 ปานกลาง

28. การมีบทบาทในการตดิตามประเมินผลการปองกันและปราบปรามการกระทําผิด

2.57 0.890 ปานกลาง

Page 78: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

78

ตารางที่ 8 ตอ n = 250

กิจกรรมการมีบทบาท x S.D. ระดับการมีบทบาท

29. การมีบทบาทในการตดิตามประเมินผลการใชกฎ ระเบียบในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

2.81 0.883 ปานกลาง

30. การมีบทบาทในการตดิตามประเมินผลการกําหนดแนวเขตพื้นที่อนุรักษแบบมีสวนรวม

2.94 0.946 ปานกลาง

31. การมีบทบาทในการตดิตามประเมินผลการฝกอบรม และการจดักิจกรรมดานการอนุรักษตาง ๆ

2.76 0.916 ปานกลาง

32. การมีบทบาทในการตดิตามประเมินผลการประชาสัมพันธใหเหน็คุณคา ความสําคัญและประโยชนของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

2.86 1.002 ปานกลาง

เฉลี่ย 2.77 0.901 ปานกลาง โดยรวม 2.85 0.961 ปานกลาง

ปจจัยท่ีมีผลตอบทบาทของราษฎรในพื้นท่ีตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอมในพื้นท่ีอุทยานแหงชาติภผูามาน จังหวัดขอนแกน - เลย

จากการศึกษาความสัมพันธระหวาง ตัวแปรอิสระประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพทางส ังคม ระดับการศึกษา ภูมิลําเนา ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาตภิูผามาน รายได การเปนสมาชิกกลุม การเขารับการฝกอบรม การมีความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กับตัวแปรตาม คือ บทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย ซ่ึงไดนําเสนอเปนตารางแสดงผลการวิเคราะห ปรากฏผลดังนี้

Page 79: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

79

สมมติฐานที่ 1 ราษฎรในพื้นที่ที่มีเพศแตกตางกันจะมีบทบาทตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกนั ตารางที่ 9 การเปรียบเทียบบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย จําแนกตามเพศ

เพศ n x SD t P ชาย 143 1.48 0.501 3.226 0.001* หญิง 107 1.28 0.451

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา ราษฎรเพศชายและเพศหญิงมีบทบาทในการพัฒนาการอนรัุกษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย แตกตางกัน เมื่อพิจารณาจากคาเฉลี่ยจะเห็นวา เพศชายมีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย มากกวาเพศหญิง อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงยอมรับสมมติฐาน สมมติฐานที่ 2 ราษฎรในพื้นที่ที่มีอายุแตกตางกันจะมีบทบาทตอการการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกัน ตารางที่ 10 การเปรียบเทียบบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย จําแนกตามอายุ

อายุ (ป) n x SD F P 21-40 75 1.43 0.498 0.295 0.74 41-60 147 1.38 0.487 มากกวา 60 28 1.36 0.488

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 80: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

80

ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา ราษฎรที่มีอายุแตกตางกันมีบทบาทในการพัฒนาการอนรัุกษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย ไมแตกตางกนั ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐาน สมมติฐานที่ 3 ราษฎรในพื้นทีท่ี่มีสถานภาพทางสังคมแตกตางกันจะมีบทบาทตอการพัฒนา การอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกัน ตารางที่ 11 การเปรียบเทียบบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย จําแนกตาม สถานภาพทางสังคม

สถานภาพทางสังคม n x SD t p ไมมี 126 1.30 0.461 -2.990 0.003* มี 124 1.48 0.502

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา ราษฎรที่สถานภาพทางสังคมแตกตางกันมีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาต ิภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย แตกตางกนั เมื่อพิจารณาจากคาเฉลี่ยจะเหน็วา ราษฎรที่มีสถานภาพทางสังคมมีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย มากกวาราษฎรที่ไมมีสถานภาพทางสงัคม อยางมีนัยสําคญัที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงยอมรับสมมติฐาน

Page 81: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

81

สมมติฐานที่ 4 ราษฎรในพื้นทีท่ี่มีการศึกษาแตกตางกันจะมบีทบาทตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกนั ตารางที่ 12 การเปรียบเทียบบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย จําแนกตาม การศึกษา

การศึกษา n x SD t p จบการศึกษาภาคบังคับ

(ป.6) หรือต่ํากวา 200 1.37 0.484 -1.390 0.196

จบสูงกวาการศึกษา ภาคบังคับ (ป.6)

50 1.48 0.505

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา ราษฎรที่มีการศึกษาแตกตางกันมีบทบาทในการพัฒนาการอนรัุกษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย ไมแตกตางกนั ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐาน สมมติฐานที่ 5 ราษฎรในพื้นทีท่ี่มีภูมิลําเนาแตกตางกันจะมบีทบาทตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกนั ตารางที่ 13 การเปรียบเทียบบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย จําแนกตาม ภูมิลําเนา

ภูมิลําเนา n x SD t p เกิดในตําบล 120 1.37 0.484 -0.887 0.376 ยายมาจากที่อ่ืน 128 1.42 0.496

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 82: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

82

ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา ราษฎรที่มีภูมิลําเนาแตกตางกันมบีทบาทในการพัฒนาการอนรัุกษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย ไมแตกตางกนั ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐาน สมมติฐานที่ 6 ราษฎรในพืน้ที่ที่มีระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติภูผามานแตกตางกันจะมีบทบาทตอการการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกัน ตารางที่ 14 การเปรียบเทียบบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย จําแนกตาม ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาตภิูผามาน ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติภผูามาน

(กม.)

n x SD F P

1 - 20 100 1.46 0.501 3.831 0.010* 21-40 86 1.44 0.500 41-60 32 1.25 0.440 มากกวา 60 32 1.19 0.397

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา ราษฎรที่ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติภูผามานแตกตางกันมีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย แตกตางกัน อยางมนีัยสําคัญที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงยอมรับสมมติฐาน

Page 83: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

83

ตารางที่ 15 การเปรียบเทียบบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย จําแนกตาม ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาตภิูผามานเปนรายคู โดยวิธี LSD

สถานภาพสมรส ระยะหางจากหมูบานถึง อุทยานแหงชาติภูผามาน (กม.)

คาเฉล่ีย 1 2 3 4

1. 1 – 20 1.46 0.02 0.21* 0.27* 2. 21-40 1.44 0.19 0.25* 3. 41-60 1.25 0.06 4. มากกวา 60 1.19 * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 14 การเปรียบเทยีบบทบาทของราษฎรในพื้นทีต่อการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน- เลย จําแนกตามระยะหางจากหมูบานถึงอทุยานแหงชาตภิูผามานเปนรายคู พบวา ราษฎรที่มีระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติภูผามาน 1 – 20 กม. มีบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย มากกวาราษฎรที่มีระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติภูผามาน 41-60 กม.และมากกวา 60 กม. อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และราษฎรที่มีระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติ ภูผามาน 21-40 กม. มีบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย มากกวา ราษฎรที่มีระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติภูผามานมากกวา 60 กม. อยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 84: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

84

สมมติฐานที่ 7 ราษฎรในพื้นที่ที่มีรายไดแตกตางกันจะมีบทบาทตอการการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกัน ตารางที่ 16 การเปรียบเทียบบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย จําแนกตามรายได

รายไดตอป (บาท) n x SD F p นอยกวา 20,001 68 1.32 0.471 1.134 0.336 20,001 - 40,000 52 1.35 0.480 40,001 - 60,000 71 1.45 0.501 มากกวา 60,000 59 1.44 0.501 * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา ราษฎรที่มีรายไดตอปแตกตางกนัมีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวดัขอนแกน- เลย ไมแตกตางกัน ดงันั้นจึงปฏิเสธสมมติฐาน สมมติฐานที่ 8 ราษฎรในพื้นทีท่ี่เปนสมาชิกกลุมแตกตางกนัจะมีบทบาทตอการพัฒนา การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกัน ตารางที่ 17 การเปรียบเทียบบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย จําแนกตาม การเปนสมาชิกกลุม

การเปนสมาชกิกลุม n x SD t p ไมเปน 56 1.25 0.437 99.746 0.009* เปน 194 1.43 0.497

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 85: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

85

ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา ราษฎรที่เปนสมาชิกกลุมแตกตางกันมีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นทีอุ่ทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน- เลย แตกตางกัน เมื่อพจิารณาจากคาเฉลี่ยจะเห็นวา ราษฎรที่เขาเปนสมาชิกกลุม มีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาต ิภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย มากกวาราษฎรทีไ่มเขาเปนสมาชกิกลุม อยางมีนยัสําคญัที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงยอมรบัสมมติฐาน

สมมติฐานที่ 9 ราษฎรในพื้นทีท่ี่เขารับการฝกอบรมแตกตางกันจะมีบทบาทตอการพัฒนา การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกัน ตารางที่ 18 การเปรียบเทียบบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย จําแนกตาม การเขารับการฝกอบรม การเขารับการฝกอบรม n x SD t p ไมไดเขารับ 56 1.29 0.456 -2.061 0.042* เขารับ 190 1.43 0.497

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลจากการทดสอบสมมตฐิาน พบวา ราษฎรที่เขารับการฝกอบรมแตกตางกนัมีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นทีอุ่ทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน- เลย แตกตางกัน เมื่อพจิารณาจากคาเฉลี่ยจะเห็นวา ราษฎรที่เขารับการฝกอบรม มีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาต ิภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย มากกวาราษฎรที่ไมเขารับการฝกอบรม อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงยอมรับสมมติฐาน

Page 86: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

86

สมมติฐานที่ 10 ราษฎรในพื้นที่ที่มีความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมแตกตางกันจะมีบทบาทตอการพฒันาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลยแตกตางกัน ตารางที่ 19 การเปรียบเทียบบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย จําแนกตาม การมีความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การมีความรูความเขาใจใน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอม

n x SD t p

ไมเขาใจ 159 1.39 0.489 -0.888 0.930 เขาใจ 91 1.40 0.492

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา ราษฎรที่มีความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแตกตางกันมีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย ไมแตกตางกัน ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐาน

Page 87: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

87

ผลจากการทดสอบสมมติฐานปจจยัทั้ง 10 ตัวแปร ปรากฏวาปจจยัที่มีผลตอการมีบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย ไดแก เพศ สถานภาพทางสังคม ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาตภิผูามาน การเปนสมาชกิกลุม และการเขารับการฝกอบรม รายละเอยีด ดังตารางที ่20 ตารางที่ 20 ผลการทดสอบสมมติฐานปจจัยที่มีผลตอการมีบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอ การพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาต ิ ภูผามาน จังหวดัขอนแกน-เลย ลําดับ ประเภทของปจจัย t F p

1 เพศ 3.226 0.001* 2 อายุ 0.295 0.740 3 สถานภาพทางสังคม -2.990 0.003* 4 การศึกษา -1.390 0.196 5 ภูมิลําเนา -0.887 0.376 6 ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาต ิ

ภูผามาน 3.831 0.010*

7 รายได 1.134 0.336 8 การเปนสมาชกิกลุม 99.746 0.009* 9 การเขารับการฝกอบรม -2.061 0.042* 10 การมีความรูความเขาใจในการอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม -0.888 0.930

Page 88: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

88

ปญหาดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในอุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย

จากการศึกษาปญหาดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในอุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย พบวา ราษฎรสวนใหญมีความคิดเห็นวาปญหาที่สําคัญที่สุดในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในอุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย ไดแก ปญหาการเก็บหาของปา คิดเปนรอยละ 67.2 รองลงมาปญหาการลักลอบตัดไมทําลายปา คิดเปนรอยละ 52.8 ปญหาการลักลอบจับสัตวปา คิดเปนรอยละ 50.4 ปญหาการบุกรุกครอบครองพื้นที่ปาไมคิดเปนรอยละ 33.2 ปญหาเจาหนาที่ของรัฐ คิดเปนรอยละ 16.0 ปญหาการเกิดไฟปา คิดเปนรอยละ 11.2 ปญหาจากนักทองเทีย่ว คิดเปนรอยละ 3.2 รายละเอยีดดังตารางที่ 21 ตารางที่ 21 ปญหาดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในอุทยานแหงชาต ิ

n = 250 ลักษณะปญหา จํานวน รอยละ หมายเหตุ

ปญหาการบุกรุกครอบครองพื้นที่ปาไม 83 33.2 ปญหาการลักลอบตัดไมทําลายปา 132 52.8 ปญหาการลักลอบจับสัตวปา 126 50.4 ปญหาการเก็บหาของปา 168 67.2 ปญหาการเกดิไฟปา 40 16.0 ปญหาเจาหนาที่ของรัฐ 28 11.2 ปญหาจากนกัทองเที่ยว 8 3.2

Page 89: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

89

บทที่ 5

สรุปและขอเสนอแนะ

สรุป การศึกษาบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย มีจดุมุงหมายเพื่อศึกษาบทบาทของราษฎรในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และศกึษาปจจัยที่มผีลตอบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพฒันาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในเขตอุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน - เลย โดยทําการสุมตวัอยางประชาชน จํานวน 250 ครัวเรือน จาก 9 ชุมชน ซ่ึงผูศึกษาไดสรางแบบสอบถามเพื่อใชในการเก็บขอมลูและทําการวิเคราะหขอมูล เชิงพรรณนา ใชระเบียบทางสถิต ิ การแจกแจงความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คาสวนเบีย่งเบนมาตราฐาน คาสูงสุด และ คาต่ําสุด วิเคราะหประเมินผลดวยโปรแกรมสําเรจ็รูป SPSS for Windows ทดสอบสมมติฐานดวยคา t-test และF-test กําหนดนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาสรุปไดดังนี้ 1. ขอมูลดานประชากรศาสตร ผลการศึกษาพบวาหวัหนาครัวเรือนสวนใหญรอยละ 57.2 เปนเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 47.19 ป มีสถานภาพสมรสแตงงานและอยูดวยกัน รอยละ 83.2 ไมมีสถานภาพทางสังคม รอยละ 49.6 จบการศึกษาภาคบังคับ (ป.6) หรือตํ่ากวา รอยละ 73.6 สวนใหญยายมาจากที่อื่น รอยละ 52.0 ระยะเวลาในการตั้งถ่ินฐานเฉลี่ย 38.44 ป โดยตั้งบานเรือนอยูหางจากอทุยานแหงชาตเิปนระยะเฉลีย่ 29.97 กม. มีจาํนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.97 คน อาชีพหลักเกษตรกรรม คิดเปนรอยละ 87.6 มีอาชีพรองคือรับจางในภาคเกษตรกรรม รอยละ35.2 มีรายไดเฉลี่ย 62,853.20 บาท แตรายไดไมพอใชตองกูยืม รอยละ 43.6 มีที่ดนิถือครองเฉลี่ย 19.20 ไร สวนใหญเปนสมาชิกกลุม รอยละ 77.6 กลุมที่เปนสมาชิกสวนใหญ ไดแก กลุมฌาปนกิจ รอยละ 46.4 รองลงมาเปนสมาชิกกลุมออมทรัพย รอยละ 31.2 และสมาชิกกลุมเกษตรกรและกลุมแมบาน มีจํานวนเทากัน รอยละ 26.4 ตามลําดับ ไดรับขาวสารดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รอยละ 94.4 โดยรับขาวสารจากโทรทัศน รอยละ 72.0 รองลงมารับขาวสารจากเจาหนาที่รัฐ/กํานัน/ผูใหญบาน รอยละ 66.4 และวิทยุ รอยละ 44.0 ตามลําดับ สวนใหญนําขาวสารที่ไดรับไปถายทอดใหบุคคลอื่น รอยละ 43.6 ไดรับ

Page 90: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

90

การฝกอบรม รอยละ 76.0 โดยสวนใหญผานการฝกอบรมหลักสูตรการฝกอาชีพและการปองกันและดับไฟปา ซ่ึงมีจํานวนเทากัน รอยละ 36.8 รองลงมาหลักสูตรปาชมุชน รอยละ 31.2 และราษฎรอาสาสมัครพิทักษปา รอยละ 26.4 ตามลําดับ สวนใหญไดรับประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รอยละ 95.2 โดยเปนแหลงอาหารจาก ของปา พืช และสัตว รอยละ 83.2 รองลงมาเปนแหลงประกอบอาชพี รอยละ 62.4 และเปนแหลงสรางรายไดเสริมรอยละ 43.2 ตามลําดับ 2. ความรูความเขาใจดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และการมีสวนรวม การศกึษาความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตพิบวา ราษฎรสวนใหญ มีความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติโดยรวมรอยละ 73.9 โดยประเด็นที่ราษฎร มีความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตเิรียงลําดับคะแนนจากมากไปนอย 3 ลําดับแรก ดังนี้ ขอที่ไดคะแนนมากทีสุ่ด คือ การปลูกตนไมในวนัสําคัญตางๆ เปนวิธีการอยางหนึ่งของ การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รอยละ 98.4 รองลงมาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมถือวาเปนแหลงรวมของอาหาร ที่อยูอาศัยเครื่องนุงหม และยารักษาโรคของมนุษย ที่สําคัญยิ่ง รอยละ 96.0 และสิ่งแวดลอม หมายถึง ทกุสิ่งทุกอยางรอบตวัเรา ทัง้สิ่งที่เกดิตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น รอยละ 95.2 ตามลําดับ 3. บทบาทของราษฎรในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การศึกษาการมีบทบาทของราษฎรในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพบวา โดยรวมราษฎรมีบทบาทในการอนรัุกษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยูในระดับ ปานกลาง เมื่อพิจารณาในแตละขั้นตอนของการมีบทบาท พบวา อยูในระดับปานกลางทุกขั้นตอน ไดแก การมีบทบาทในการวางแผนดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยูใน การมีบทบาทในการปฏิบัติงาน การมีบทบาทในการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ และการมีบทบาท ในการติดตามประเมินผลในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

Page 91: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

91

4. ปจจัยที่มีผลตอบทบาทของราษฎรในพืน้ที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน - เลย การศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาไดนาํหลักสถิติมาใชในการวิเคราะหเปรยีบเทียบบทบาท ของราษฎรในพื้นที่ตอการพฒันาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย จําแนกตามปจจยัตางๆ ไดแก เพศ อายุ สถานภาพทางสังคม การศึกษา ภูมิลําเนา ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติ รายได การเปนสมาชิกกลุม การไดรับการฝกอบรม การมีความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยใช t-test สําหรับวิเคราะหความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของตัวแปร 2 กลุมและ F-test สําหรับวิเคราะหความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของตัวแปร ตั้งแต 2 กลุมขึ้นไป โดยมีคานยัสําคัญทางสถิติ ที่กําหนดไวทีร่ะดับ 0.05 สําหรับการวิเคราะหคร้ังนี้ ซ่ึงปรากฏผลการวิเคราะห ดังนี ้ เพศที่แตกตางกันมีผลทําใหราษฎรมีบทบาทตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพืน้ที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวดัขอนแกน–เลย แตกตางกนัอยางมีนยัสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยเพศชายมีบทบาทบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน – เลย มากกวาเพศหญิง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อายุที่แตกตางกันไมมีผลทําใหราษฎรมีบทบาทในการพัฒนาการอนรัุกษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย แตกตางกัน อยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ 0.05

สถานภาพทางสังคมที่แตกตางกันมีผลทําใหราษฎรมีบทบาทในการพฒันาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมในพืน้ที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวดัขอนแกน-เลย แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยราษฎรที่มีสถานภาพทางสังคมมีบทบาท ในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นทีอุ่ทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน- เลย มากกวาราษฎรที่ไมมีสถานภาพทางสังคม อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05

Page 92: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

92

การศึกษาทีแ่ตกตางกันไมมีผลทําใหราษฎรมีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน- เลย แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ภูมิลําเนาทีแ่ตกตางกนัไมมีผลทําใหราษฎรมีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย แตกตางกัน อยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ 0.05 ระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติทีแ่ตกตางกันมผีลทําใหราษฎรมีบทบาท ในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นทีอุ่ทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน- เลย แตกตางกัน อยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยราษฎรที่มีระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติภูผามาน 1 – 20 กม. มีบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย มากกวาราษฎรที่มีระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติภูผามาน 41-60 กม.และมากกวา 60 กม. อยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ 0.05 และราษฎรที่มีระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาต ิภูผามาน 21-40 กม. มีบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพัฒนาการอนรัุกษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย มากกวาราษฎรที่มีระยะหางจากหมูบานถึงอุทยานแหงชาติภูผามานมากกวา 60 กม. อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

รายไดที่แตกตางกันไมมีผลทําใหราษฎรมบีทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย แตกตางกัน อยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ 0.05 การเปนสมาชกิกลุมที่แตกตางกันมีผลทําใหราษฎรมีบทบาทในการพฒันาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย แตกตางกนั อยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยราษฎรที่เขาเปนสมาชิกกลุมมีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย มากกวาราษฎรที่ไมเขาเปนสมาชิกกลุม อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05

Page 93: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

93

การไดรับการฝกอบรมที่แตกตางกันมีผลทําใหราษฎรมบีทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมในพืน้ที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวดัขอนแกน- เลย แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยราษฎรที่ไดรับการฝกอบรมมีบทบาท ในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นทีอุ่ทยานแหงชาติภูผามาน จังหวดัขอนแกน- เลย มากกวาราษฎรที่ไมไดรับการฝกอบรม อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 การมีความรูความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่แตกตางกันไมมีผลทําใหราษฎรมีบทบาทในการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากการทดสอบสมมติฐานตวัแปรทั้ง 10 ตัวแปร ปรากฏวาปจจยัที่มีผลตอการมีบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพฒันาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย ไดแก เพศ สถานภาพทางสังคม ระยะหางจากหมูบาน ถึงอุทยานแหงชาติภูผามาน การเปนสมาชกิกลุม และการเขารับการฝกอบรม 5. ปญหาดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในอุทยานแหงชาต ิ ราษฎรสวนใหญมีความคิดเหน็วาปญหาที่สําคัญที่สุดในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในอุทยานแหงชาติภูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย ไดแก ปญหาการเก็บหาของปา คิดเปนรอยละ 67.2 รองลงมาปญหาการลักลอบตัดไมทําลายปา คิดเปนรอยละ 52.8 และปญหาการลักลอบจับสัตวปา คิดเปนรอยละ 50.4 ตามลําดับ

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะจากการศึกษา จากการศกึษาเรื่องบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย พบวา สถานภาพทางสังคม และการเปนสมาชิกกลุมมีผลตอบทบาทของราษฎรในพื้นที่ตอการพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย ทั้งนี้เนื่องมาจากราษฎรทีม่ี

Page 94: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

94

ตําแหนงทางสงัคมและเปนสมาชิกกลุมตางๆ จะทําใหราษฎรมปีระสบการณดานการบริหารจัดการการทาํงานกบัสวนรวม ราษฎรจะมภีาวะผูนํา และสามารถนําประสบการณทีไ่ดไปปรับใชในการเขาไปมีบทบาทในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม ดังนั้น เจาหนาทีค่วรเปดโอกาสใหราษฎรเหลานี้เขามามีบทบาทในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทกุขั้นตอน โดยเริ่มจากการศึกษาปญหารวมกัน การวางแผนงานในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติในทองถ่ิน การปฏิบัติงานดานการอนุรักษรวมกับภาครัฐ และการตดิตามประเมินผลการปฏิบัติงานจากแผนงานที่ไดดําเนินการไปแลว และนอกจากนีย้ังพบวา การเขารับการฝกอบรมมีผลตอบทบาท ของราษฎรในพื้นที่ตอการพฒันาการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน-เลย ดงันั้น การที่ราษฎรไดรับความรู ความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากขึน้ ทั้งในดานผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการที่ทรัพยากร ถูกทําลาย ดานการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาตอิยางยัง่ยนื และดานกฎหมายทีเ่กีย่วของ จะสงผลใหราษฎรมีแนวทาง มีความมั่นใจ และสามารถเขาไปมีบทบาทในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรวมกับทางเจาหนาทีใ่นโอกาสตอไป ผูศึกษาจึงใหขอเสนอแนะเพือ่เปนประโยชนตอพัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จงัหวัดขอนแกน-เลย ดังนี ้ 1. กระตุนจิตสํานึก โดยการเสริมสรางความรูความเขาใจแกราษฎร และชุมชนใหตระหนกัถึงความสําคัญและประโยชนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในมิตติางๆ โดยการรณรงค ประชาสัมพันธ ประชุมหารือ และฝกอบรมอยางตอเนื่อง และขยายผลไปยังชุมชนอื่น ๆ 2. เสริมสรางกระบวนการมสีวนรวมของราษฎร โดยการปรับทัศนคติของเจาหนาที ่กับราษฎรทั้งที่มีบทบาทและราษฎรที่ยังไมมีบทบาทในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพื้นที่อุทยานแหงชาตภิูผามาน จังหวัดขอนแกน- เลย เพื่อรวมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ขอเสนอแนะ โดยการประชุมหารือ สัมมนา และเวทีชาวบาน ใหไดขอสรุปสําหรับ การปรับปรุงและพัฒนากจิกรรมตางๆ ตอไป

Page 95: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

95

3. จัดประชุมหารือหรือเวทชีาวบานรวมกนัวเิคราะหกาํหนดเขตการใชประโยชนทีด่ิน วาทีใ่ดควรเปนพืน้ที่ทํากนิ ที่อยูอาศยั พื้นที่อนุรักษ โดยการใชแผนที ่ รูปจําลองภูมิประเทศ ใหเกิดความชดัเจนในความเปนจริงของสถานะการใชประโยชนที่ดนิ เพื่อกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดนิอยางเหมาะสมและเปนทีย่อมรับของทุกฝาย 4. รวมกันกําหนด กฎ กติกา หรือขอตกลงชุมชนเพื่อการอนุรักษ การฟนฟู และการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อใหเกิดประโยชนอยางยั่งยืน 5. จัดตั้งคณะกรรมการรวมระหวางชุมชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ เพือ่กําหนดหลักเกณฑและบริหารจัดการการใชประโยชนที่ดนิ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 6. จัดตั้งคณะกรรมการชุมชนคณะตาง ๆ เพื่อติดตาม ดแูล ใหการดําเนินกิจกรรมตางๆ เปนไปตามขอตกลงที่ไดจดัทํารวมกัน และเพื่อนําผลการประเมินที่ไดมาปรับปรุงขอบกพรองในการดําเนนิงาน 7. เปดโอกาสใหชุมชนไดเขามาใชประโยชนปาเพื่อการยังชีพ ภายหลังการกําหนดขอบเขตการใชพื้นที่และกตกิาตางๆ นอกจากนี้ ควรพฒันาอาชีพเสริมใหแกชุมชนที่อาศัยผลผลิตจากปาในการยังชีพ เพื่อมีรายไดจากแหลงอื่นมาทดแทน หากอยูใกลแหลงทองเที่ยว จะมีอาชีพในการบริการการทองเที่ยว เชน ไกดนําทาง ขายของที่ระลึก รถรับจาง ลูกหาบ ขายอาหาร บริการที่พัก เปนตน 8. สงเสริมการรวมกลุมของราษฎรโดยการจัดตั้งใหอยูในรูปของกลุม ชมรม หรือสหกรณ เพื่อพัฒนาอาชีพของราษฎรในกจิการการทองเที่ยวดานตางๆ เชน การบริการที่พักอาศัย อาหาร เครื่องดื่ม ของที่ระลึก การบริการนําเที่ยว การบริการดานการขนสง เปนตน

Page 96: บทที่ 1 บทนํา - Jakarta Project - Tomcatapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00626/C00626-3.pdf · 2009-04-01 · ธรรมชาติและสิ่งแวดล

96

9. ขยายขอบขายงานดานประชาสัมพันธ เชน การจัดทําโครงการรวมระหวางรัฐ และ ผูที่เกี่ยวของกบัการประชาสัมพันธ เชน ส่ือมวลชน สถานีโทรทัศน วิทยุ นกัเขยีน ในการจัดทาํสารคดี ขาวประชาสัมพันธ รายการวิทยุโทรทัศน เพื่อเผยแพรกจิกรรมดานการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจน การตั้งกลุมสื่อมวลชนเพื่อการอนุรักษ เพื่อใหกลุมสื่อมวลชน รวมกําหนดแผนการประชาสัมพันธ การใหความรู การรณรงคใหประชาชนไดเขาใจและทราบขอมูลเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 10. ขยายเครือขายการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยการประสานกบัโรงเรียน สถาบันการศึกษา ในการจดัหลักสูตรการเรียนรูดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติจากพื้นที่จริง และจัดทํากิจกรรมใหเยาวชนไดเรียนรู และเขามาปฏิบัติในพื้นที่จริง ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป หากมีการศกึษาวิจยัการมบีทบาทในการอนรัุกษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในพื้นที่อ่ืน ๆ ในโอกาสตอไป ควรมีการศกึษาในประเดน็ตางๆ ดังนี ้

1. ศึกษาการมีสวนรวมของผูนาํทองถ่ิน ไดแก กํานนั ผูใหญบาน องคการบริหารสวนตาํบล นักการเมืองทองถ่ิน เพื่อใหทราบบทบาทของผูนําในหมูบาน ตําบล ในการเขามามสีวนรวมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2. ศึกษาการมบีทบาทของราษฎรในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ในพื้นที่อนุรักษอ่ืน ๆ เชน เขตรักษาพันธุสัตวปา พืน้ทีต่นน้ําลําธาร เพื่อเปนการเปรยีบเทยีบ