ชื อ - edu.sg.ac.thedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/P6-60.pdf ·...

77
ชื�อ .......................................................................... นามสกุล................................................................. .6 ห้อง ................ เลขที................

Transcript of ชื อ - edu.sg.ac.thedu.sg.ac.th/download/2017/courseoutline/P6-60.pdf ·...

ชื�อ .......................................................................... นามสกลุ................................................................. ป.6 ห้อง ................ เลขที� ................

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย รหัส ท ๑๖๑๐๑

ครูผูสอน ๑. มิสหฤทัย สมบูรณจันทร ๒. มิสทิพย พรหมโชโต ๓. มาสเตอรอานนท แซเต็ง

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ๖ มัธยมศึกษาปท่ี …..... ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๐

จํานวน ๕ คาบ/สัปดาห ๑๐๐ คาบ/ภาคเรียน จํานวน ๕ หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา บอก อธิบาย จําแนก ยกตัวอยาง วิเคราะห อภิปราย สังเคราะห ประเมินคา ชนิดของคํา (คํานาม คํา

สรรพนาม คํากริยา คําบุพบท คําสันธาน คําวิเศษณ คําอุทาน) คําราชาศัพท ประโยคชนิดตาง ๆ (ความเดียว ความรวม

ความซอน) เครื่องหมายวรรคตอน อักษรยอและคํายอ คําท่ีมาจากภาษาตางประเทศ การใชเลขไทย การอานเลขไทยใน

อดีต การอานคําในภาษาไทย การเขียนคําใหถูกตองตามอักขรวิธี คําท่ีมีความหมายโดยตรงและโดยนัย การใชคําให

ถูกตองตามความหมาย ภาษาถ่ิน คําคม คําขวัญ สํานวน สุภาษิต คําพังเพย คําคลองจอง โวหารในการเขียน

(บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร สาธกโวหาร เทศนาโวหาร อุปมาโวหาร)

โดยใชกระบวนการอาน อานในใจ อานออกเสียงรอยแกว รอยกรอง ทํานองเสนาะ ทองบทอาขยาน (กลอน

สุภาพ (กลอน ๖ กลอน ๗ กลอน๘) โคลงโลกนิติ โคลงสี่สุภาพ กระบวนการสรางความคิดวิจารณญาณ การใชภาษาพูด

และเขียนแสดงความคิดเห็น กระบวนการสรางความคิดรวบยอด เขียนแผนภาพโครงเรื่อง กระบวนการสรางความ

ตระหนัก พิจารณาคุณคาวรรณคดีพ้ืนบาน กระบวนการสรางทักษะการปฏิบัติ การใชหองสมุด การเขียนโครงงาน การเขียน

เลาเรื่อง เลาเหตุการณ การเขียนประกาศ การเขียนเรื่องจากจินตนาการเชิงสรางสรรค มารยาทในการเขียน การคัดลายมือ

แบบอาลักษณ (แบบฝกหัดคัดลายมือของมูลนิธิฯระดับช้ันป.๖) กระบวนการเรียนทางภาษา การใชภาษาในการสื่อสาร

การพูดในโอกาสตาง ๆ การใชภาษาพูดและเขียนตามระดับภาษา การกรอกแบบรายการ แบบฝาก/ถอน/โอนเงิน แบบ

ประเมินผล แบบสอบถามความคิดเห็น กระบวนการสรางเจตคติ มารยาทในการปฏิบัติตนในการอาน ฟง พูดและดู การ

เขียนรายงาน กระบวนการสรางคานิยม การสรางนิสัยรักการอาน กระบวนการสรางความรูความเขาใจ การพูดปฏิเสธ

หรือการโตแยง กระบวนการแกปญหา การแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ การโตวาที กระบวนการวิเคราะห สรุป

ความ ยอความ แยกแยะขอเท็จจริงและขอคิดเห็น/ขอคิดจากเรื่องท่ีอาน การวิเคราะหเรื่องท่ีอาน ดู ฟงจากนิทาน เรื่องสั้น

พระบรมราโชวาท งานเขียนประเภทโนมนาว สารคดี ขาว และเหตุการณสําคัญ จริยศึกษาแดนอโศก(วารสารโรงเรียน)

เสริมทักษะ อาน คิดเชิงวิเคราะหและเขียนสื่อความ

เพ่ือใหผูเรียนมีความรูและความเขาใจภาษา ใฝเรียนรู มีวิริยะ อุตสาหะ มุงม่ันในการทํางาน มีทักษะและเจตคติท่ีดี

ในการฟง ดู พูด อาน และเขียน และถายทอด ความรูความคิดของตนเองไดอยางสรางสรรค ตลอดจนมีบุคลิกภาพและมี

มารยาทท่ีดีและมีนิสัยรักการเรียนรู สามารถเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่อง ตลอดจนมีวิจารณญาณ มีความรับผิดชอบและมี

ความสามารถในการสื่อสารในสังคมและเห็นคุณคาของภาษาไทยผูเรียนสามารถใชทักษะชีวิตนี้ไปประยุกตใชใน การดําเนิน

ชีวิตไดอยางมีประสิทธิภาพควบคูไปกับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอยางมีประสิทธิผล

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด (๓๔ ตัวช้ีวัด)

สาระและมาตรฐานการเรียนรู

สาระท่ี ๑ การอาน

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิตและมี

นิสัยรักการอาน

ตัวชี้วัดท่ี

ป.๖/๑ อานออกเสียงบทรอยแกวและ บทรอยกรองไดถูกตอง

BSG อานออกเสียง ไดคลองและถูกตอง พรอม บอกความหมาย คุณคา และขอคิด ของบทรอยแกวและบทรอยกรอง

ไดถูกตอง

ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคํา ประโยคและขอความท่ีเปนโวหาร

ป.๖/๓ อานเรื่องสั้นๆ อยางหลากหลาย โดยจับเวลาแลวถามเก่ียวกับเรื่องท่ีอาน

ป.๖/๔ แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องท่ีอาน

ป.๖/๕ อธิบายการนําความรูและความคิด จากเรื่องท่ีอานไปตัดสินใจแกปญหา ในการดําเนินชีวิต

ป.๖/๖ อานงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ขอแนะนํา และปฏิบัติตาม

ป.๖/๗ อธิบายความหมายของขอมูล จากการอานแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิ และกราฟ

BSG อธิบายความหมายของขอมูล จากการอานแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิ และกราฟ เครื่องหมายและ สัญลักษณ

ป.๖/๘ อานหนังสือตามความสนใจ และอธิบายคุณคาท่ีไดรับ

ป.๖/๙ มีมารยาทในการอาน

สาระท่ี ๒ การเขียน

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตาง ๆ

เขียนรายงาน ขอมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดท่ี

ป.๖/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด

ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน และเหมาะสม

ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพ่ือใชพัฒนางานเขียน

BSG เขียนแผนภาพ โครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพ่ือใชพัฒนางานเขียน ตามรูปแบบท่ีกําหนดและมีความ

หลากหลาย

ป.๖/๔ เขียนเรียงความ

BSG เขียนเรียงความ การเขียนเรียงความเกี่ยวกับชีวิตประจําวันและเรื่องใกลตัว

ป.๖/๕ เขียนยอความจากเรื่องท่ีอาน

ป.๖/๖ เขียนจดหมายสวนตัว

ป.๖/๗ กรอกแบบรายการตางๆ

ป.๖/๘ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสรางสรรค

ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน

สาระท่ี ๓ การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตาง ๆ

อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค

ตัวชี้วัดท่ี

ป.๖/๑ พูดแสดงความรู ความเขาใจจุดประสงคของเรื่องท่ีฟงและดู

ป.๖/๒ ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล จากเรื่องท่ีฟงและดู

ป.๖/๓ วิเคราะหความนาเชื่อถือจากการฟงและดูสื่อโฆษณาอยางมีเหตุผล

ป.๖/๔ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษาคนควาจากการฟงการดู และการสนทนา

BSG พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษาคนควาจากการฟงการดู และการสนทนาพรอมใชส่ือประกอบการอางอิงได

เหมาะสม

ป.๖/๕ พูดโนมนาวอยางมีเหตุผลและนาเชื่อถือ

ป.๖/๖ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระท่ี ๔ หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญา

ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

ตัวชี้วัดท่ี

ป.๖/๑ วิเคราะหชนิดและหนาท่ีของคําในประโยค

ป.๖/๒ ใชคําไดเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล

ป.๖/๓ รวบรวมและบอกความหมายของคําภาษาตางประเทศท่ีใชในภาษาไทย

ป.๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค

ป.๖/๕ แตงบทรอยกรอง

ป.๖/๖ วิเคราะห และเปรียบเทียบสํานวนท่ีเปนคําพังเพยและสุภาษิต

สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามา

ประยุกตใชในชีวิตจริง

ตัวชี้วัดท่ี

ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมท่ีอาน

ป.๖/๒ เลานิทานพ้ืนบานทองถ่ินตนเองและนิทานพ้ืนบานของทองถ่ินอ่ืน

ป.๖/๓ อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอานและนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง

ป.๖/๔ ทองจําบทอาขยานตามท่ีกําหนดและบทรอยกรองท่ีมีคุณคาตามความสนใจ

BSG ทองจํา ถอดคําประพันธ ตีความ บอกคุณคาและขอคิดของบทอาขยานตามท่ีกําหนด และบทรอยกรองท่ีมีคุณคา

ตามความสนใจ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร ๑๐ คะแนน มฐ. ท ๑.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๘

มฐ. ท ๒.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๙

มฐ. ท ๓.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๒, ๖

มฐ. ท ๔.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๒ สอบปลายภาค ๓๐

คะแนน

ฉบับท่ี ๑ การอาน

จํานวน ๓๐ ขอ( ๑๕

คะแนน )

ฉบับท่ี ๒

หลักภาษาและการใชภาษา

จํานวน ๓๐ ขอ( ๑๕

คะแนน )

มฐ. ท ๑.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๒, ๓, ๔,

มฐ. ท ๔.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๒, ๓,

๔, ๖

สภาพจริง ๒๐ คะแนน มฐ. ท ๑.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๒

มฐ. ท ๒.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๒

มฐ. ท ๔.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๓, ๕

มฐ. ท ๕.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๒, ๔

ภาคปฏิบัติ ๓๐ คะแนน

มฐ. ท ๑.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖

มฐ. ท ๒.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๒, ๓

มฐ. ท ๓.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๓, ๕

มฐ. ท ๔.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๒, ๓, ๔, ๖

มฐ. ท ๕.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๔

แฟมสะสมผลงาน ๑๐ คะแนน มฐ. ท ๑.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๘, ๙

มฐ. ท ๒.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘

มฐ. ท ๓.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๓

มฐ. ท ๔.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๕

รวมคะแนนท้ังหมด ๑๐๐ คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล

อัตราสวนคะแนนระหวางเรียนกับคะแนนสอบ ๗๐: ๓๐

๑. การประเมินจากการส่ือสารสวนบุคคล (Personal Communication) (๑๐ คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

• การมีสวนรวมในการจดักิจกรรมการเรียนการสอน…………...…...........๔ คะแนน

• การเอาใจใสตอการเรียนสมํ่าเสมอ

• ทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยความสนใจและตั้งใจ

• มีการถาม-ตอบ กลาแสดงความคิดเห็นในชั่วโมงเรียน

• มีความรับผิดชอบในการทํางาน…………………………….......…….........…๓ คะแนน

• ผลงานถูกตองตรงตามจุดประสงคการเรียนรู

• สงงานตรงเวลา

• ลายมือ/ ผลงานเรียบรอย สะอาด

• บุคลิกภาพ มารยาทในการสื่อสาร………………………….......…................๓ คะแนน

• พูดเหมาะสมแกกาลเทศะ/ ใหเกียรติผูอ่ืน

• แตงกายสุภาพ

• มีระเบียบวนิัยในตนเอง

๒. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) (๒๐ คะแนน)

๑. การอาน คิดวิเคราะหและเขียนส่ือความและสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม (จริยะ) (๕ คะแนน)

รูปแบบการประเมิน

- ขอสอบอัตนัย ๕ ขอ (ขอละ ๑ คะแนน)

- ครูผูสอนจัดสอบในหองเรียน จะกําหนดวันและเวลาสอบเพ่ือแจงใหนักเรียนทราบลวงหนา

เกณฑการใหคะแนน

• เขาใจจุดประสงคและสามารถสื่อความเรื่องท่ีอานไดชัดเจน

• วิเคราะห คิดไตรตรอง แยกแยะขอเท็จจริงและขอคิดเห็นของเรื่องเปรียบเทียบกับประสบการณในชีวิตจริงได

อยางมีวิจารณญาณ

• นําความรูและขอคิดท่ีไดจากเรื่องไปใชคิดแกปญหา ตัดสินใจ คาดการณ และพัฒนาตนเองได

๒. ทักษะการอานตามรูปแบบ ทองบทอาขยาน (๕ คะแนน) (เฉลี่ยคะแนนจากการสอบ ๒ บท)

๑. บทหลัก (โคลงโลกนิติ ๓ บท จากวรรณคดีและวรรณกรรม หนา ๑๔๘)

๒. บทเลือก (“เปนมนุษยหรือเปนคน” จากวรรณคดีและวรรณกรรม หนา ๑๒๓)

เกณฑการใหคะแนน

• ความถูกตอง แมนยํา...................………......................................... ๒ คะแนน

• ออกเสียงอักขระ ควบกล้ํา…………………………............……………… ๑ คะแนน

• จังหวะ การแบงวรรค การใชน้ําเสียง……..................................... ๒ คะแนน

๓. ทักษะการเขียนตามรูปแบบ คัดไทย (๕ คะแนน)

นักเรียนคัดและเขียนสะกดคําใหถูกตอง การวางสระ และวรรณยุกตใหถูกท่ีตามหลักการเขียนตัวอักษรและคําไทย

ประเมินจาก

๑. สมุดแบบฝกหัดคัดลายมือของมูลนิธิฯระดับชั้น ป.๖

๒. สมุดภาษาไทย (เลมสีขาว) และเอกสารประกอบการเรียนการสอน

เกณฑการใหคะแนน

• รูปแบบอักษร………………………..…………............….................….….. ๒ คะแนน

• ความถูกตองของเนื้อหา................................................................. ๑ คะแนน

• ลายมือ การเวนวรรค ชองไฟ ความสะอาด ................................. ๒ คะแนน

๔. ทักษะการเขียนตามรูปแบบ เขียนไทย (๕ คะแนน)

นักเรียนเขียนไทยจากคําศัพทจากบทเรียนจากหนังสอืวรรณคดีและ

วรรณกรรม เอกสารประกอบการสอน, สมุดคัดไทย รวมท้ังคําท่ีมาจากสื่อมวลชน และคําท่ีมาจากกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนได

ถูกตอง แลวนําคะแนนท้ังหมดมาเฉลี่ย

เกณฑการใหคะแนน

- เขียนสะกดคําถูกตอง ………………..…….…………...............….….. ๕ คะแนน

๓. สอบภาคปฏิบัติ (Performance Assessment) (๓๐ คะแนน)

๑. การสอบวัดคุณภาพผูเรียน ใชคะแนนจากการทดสอบผูเรียนของโรงเรียนในเครือมูลนิธ ิ

คณะเซนตคาเบรียลแหงประเทศไทย โดยสมาพันธสมาคมผูปกครองและครูฯ และมูลนิธิคณะเซนตคาเบรียลแหงประเทศไทย

(๑๐ คะแนน)

๒. กระบวนการเขียนส่ือสาร ส่ือความในรูปแบบตาง ๆ (๑๐ คะแนน)

ตอนท่ี ๑ การใชโวหารในการเขียน (๕ คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

• บอกความหมายและประเภทได......................................................... ๑ คะแนน

• วิเคราะหประเภทโวหารจากขอความ….............................................. ๑ คะแนน

• การใชโวหารประกอบการเขียน......................................................... ๒ คะแนน

• บอกประโยชนของการใชโวหารในชีวิตประจําวัน............................... ๑ คะแนน

ตอนท่ี ๒ การใชภาษาพูดและเขียนตามระดับภาษา (๕ คะแนน)

ใหนักเรียนเลือกใชภาษาพูดและเขียนตามระดับภาษาไดอยางถูกตองจากขอความท่ีครูกําหนดให

เกณฑการใหคะแนน

• วิเคราะหและเลือกใชคํา..................................................................... ๓ คะแนน

• สรางขอความตามระดับภาษา............................................................. ๒ คะแนน

หมายเหตุ ครูจัดสอบในตาราง

๓. ทักษะการฟงและหลักภาษา (๑๐ คะแนน)

ตอนท่ี ๑ ทักษะการฟง นักเรียนเขาใจจุดประสงคของเรื่องท่ีฟงอยางมีวิจารณญาณ และจากแหลงตาง ๆ เชน ขาว

บทความ สารคดี สิ่งพิมพ วรรณคดีและวรรณกรรม ฯลฯ (๕ คะแนน)

รูปแบบการประเมิน

- ขอสอบปรนัย ๑๐ ขอ คะแนนเต็ม ๕ คะแนน

เกณฑการใหคะแนน

• มีความรู ความเขาใจและจับใจความสําคัญ

• แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น

• ตีความ สรุปความ นําไปใช

• วิเคราะห สังเคราะห และประเมินคา

ตอนท่ี ๒ หลักภาษาและการใชภาษา ขอสอบปรนัย ๒๐ ขอ คะแนนเต็ม ๕ คะแนน

- มารยาทในการปฏิบัติตนในการอาน ฟง พูดและดู

- การเขียนรายงาน

- เครื่องหมายวรรคตอน อักษรยอและคํายอ

- ภาษาถ่ิน

- การโตวาที

หมายเหตุ ครูจัดสอบในตาราง

๔. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) (๑๐ คะแนน)

๑. โครงงานภาษาไทยประเภทส่ิงประดิษฐและพูดนําเสนอหนาช้ันเรียน (๑๐ คะแนน)

รูปแบบ

๑.ใหนักเรียนทําสื่อประกอบโครงงานประดิษฐท่ีสนใจ ใชวัสดุท่ีใชไมเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม

ไมลอกเลียนแบบ เหมาะสําหรับการนําไปใชไดจริง แบงนักเรียนกลุมละ ๖ คน แลวเลือก ๑ หัวขอ

หัวขอท่ีกําหนด บูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูกลุมอ่ืน (ตามความถนัดของตนเอง)

๑. แผนท่ีความคิดสรุปเรื่องท่ีสนใจ (Mind Mapping)

๒. เกม/ สิ่งประดิษฐเก่ียวกับภาษาไทย

๓. การเลานิทาน การเขียนเรื่องโดยใชการวาดภาพ/ สื่อประกอบ เปนตน

๔. การดัดแปลง/ สรางเนื้อเพลงใสทํานองเพลงท่ีรูจัก เพ่ือชวยจําเนื้อหาวิชาภาษาไทย

หัวขอโครงงานประดิษฐ (รูปเลม)

๑. ชื่อโครงงาน

๒. ชื่อผูทําโครงงาน

๓. ชื่อท่ีปรึกษาโครงงาน

๔. ท่ีมาและความสําคัญของโครงงาน

๕. วัตถุประสงคของการศึกษาคนควา

๖. สมมติฐานของการศึกษาคนควา (ถามี)

๗. วธิีดําเนินงาน

๘. แผนปฏิบัติงาน

๙. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

๑๐. เอกสารอางอิง/ ภาพกิจกรรม

๒. ครูนัดหมายในชั่วโมงเรียน ใหนักเรียนแตละกลุมจัดเตรียมสื่อประกอบการเรียนอยางสรางสรรค จากนั้นสลับกัน

ศึกษา ทดลองเลนสื่อนั้นจนครบทุกกลุม ใชเวลา ๑ คาบ ถายรูปเก็บไวประกอบเลมดวย

หมายเหตุ หัวขอ/วิธีการนําเสนออาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

เกณฑการใหคะแนน

- รูปเลมโครงงาน……………………………………………...………………..….… ๒ คะแนน

- รูปแบบการรวบรวมผลงานครบ เนื้อหาของขอมูลละเอียด ชัดเจน

- แบบประเมินผลงานโดยตนเอง/ เพ่ือน/ผูปกครอง และครู

- ผลสัมฤทธิ์ของสื่อประกอบโครงงาน………………………………..……….. ๓ คะแนน

- ความสมบูรณของงาน ใชวัสดุท่ีใชไมเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม

- บูรณาการกับกลุมสาระฯหรือความรูอ่ืนท่ีกลุมสนใจ

- การเตรียมเนื้อหา / อธิบายกติกาการเลน

- รับผิดชอบตองานท่ีไดรับมอบหมาย/ ตรงตอเวลา

- การพูดนําเสนอแบบกลุม………………..........…………...…………..….… ๕ คะแนน

- ข้ันทักทาย มีลําดับและการวางแผนเชิญชวน

- สมาชิกในกลุม/ผูเลนมีสวนรวมในการนําเสนอหรือรวมใชสื่อ

- มีเทคนิคความคิดสรางสรรคเหมาะสําหรับการนําไปใชไดจริง

- การรักษาความสะอาด ความเรียบรอยของสถานท่ีท่ีจัดกิจกรรม

ฉบับท่ี ๑ ความเขาใจการอานจํานวน ๓๐ ขอ (๑๕ คะแนน) โดยนําเนื้อหาจากแหลงตาง ๆ เชน แบบเรียน ขาว

บทความ สารคดี พระบรมราโชวาท สิ่งพิมพ โฆษณา แผนผัง คุณคาวรรณคดี วรรณกรรมพ้ืนบาน การเขียนประกาศ บท

รอยกรองประเภทตาง ๆ บทอาขยาน (BSG) แนวขอสอบO-NET ฯลฯ แลวใหนักเรียน

- ตีความ สรุปความ และจับใจความสําคัญ

- วิเคราะห สังเคราะห และประเมินคา

- แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น/ขอคิดจากเรื่องท่ีอาน

ฉบับท่ี ๒ หลักภาษาและการใชภาษา จํานวน ๓๐ ขอ( ๑๕ คะแนน )

- ชนิดของคํา (คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําบุพบท คําสันธาน คําวิเศษณ คําอุทาน)

- ประโยคชนิดตาง ๆ (ความเดียว ความรวม ความซอน)

- คําท่ีมาจากภาษาตางประเทศ

- สํานวน สุภาษิต คําพังเพย คําคลองจอง

- คําราชาศัพท

- แนวขอสอบO-NET

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

๑. หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพ่ือชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ กระทรวงศึกษาธิการ

๒. หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรมชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ สํานักพิมพ พว. จํากัด

๓. สมุดคัดไทยของมูลนิธิคณะเซนตคาเบรียล ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖

๔. เอกสารประกอบการเรียนการสอน

๕. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ / หนังสอือางอิง/ คนควาเพ่ิมเติม

หมายเหตุ ถานักเรียนไดรับรางวัล เชน วุฒิบัตร เกียรติบัตร เปนตน เก่ียวกับวิชาภาษาไทยท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน

นักเรียนสามารถนํามารวมในแฟมสะสมผลงานดีเดน

๕. การประเมินการสอบปลายภาค (๓๐ คะแนน)

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (พ้ืนฐาน) รหัส ค 16101

ครูผูสอน 1. มาสเตอรกิตติรัตน ศิริธนาพิพัฒน 2. มิสเบญจวรรณ สุขสวัสดิ ์ 3. มิสปยรัตน ปรีดาวณิชสกุล

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี …..... ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 4 คาบ/สัปดาห 80 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 4 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา / ฝกทักษะการคิดคํานวณและฝกการแกปญหาในสาระตอไปนี้ รูปเรขาคณิต สมบัติเสนขนาน การ

พิจารณาเสนขนาน รูปสี่เหลี่ยม คุณสมบัติตางๆ ของสี่เหลี่ยมแตละชนิด การหาความยาวเสนรอบรูป การหาพ้ืนท่ีของรูป

สี่เหลี่ยม สวนประกอบของรูปเรขาคณิตสามมิติ ปริมาตร และความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก การสรางรูปวงกลม

สวนประกอบของวงกลม คาของพาย การหาความยาวรอบวงกลม การหาพ้ืนท่ีของวงกลมและวงแหวน โจทยปญหาท่ี

เก่ียวกับวงกลม ทิศ แผนผัง แผนท่ี การบอกชื่อ และทิศทางของทิศท้ังแปดทิศ มาตราสวน การอานแผนท่ีและแผนผัง

การเขียนแผนผัง สถิติและความนาจะเปนเบื้องตน การอานและการเขียนแผนภูมิแทงและแผนภูมิแทงเปรียบเทียบ การ

อานกราฟเสน และแผนภูมิรูปวงกลม ความนาจะเปนของเหตุการณ คาดเดาสถานการณตาง ๆ เกิดข้ึนอยางแนนอน อาจจะ

เกิดหรือไมเกิดก็ไดหรือไมเกิดข้ึนอยางแนนอน

การจัดประสบการณหรือสรางสถานการณท่ีใกลตัวผูเรียน ไดศึกษาคนควา ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน โดยใช

ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อ

ความหมายทางคณิตศาสตร การวัดประเมินผลดวยวิธีการท่ีหลากหลายตามสภาพความเปนจริงของเนื้อหาทักษะ /

กระบวนการท่ีตองการวัด สามารถนําประสบการณดานความรู ความคิด ใชวิธีการท่ีหลากหลายแกปญหา ใชความรู ทักษะ

และกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ

และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอได

อยางถูกตอง เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตร และเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืน ๆ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

เพ่ือใหมีความรักในการเรียนคณิตศาสตรสามารถนําประสบการณดานความรู ความคิด และนําไปใชเปนเครื่องมือ

ในการเรียนรู รวมท้ังเห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานอยางมุงม่ันมีระบบระเบียบ รอบคอบ มี

เหตุผล มีทักษะในการแกปญหา มีความรับผิดชอบ ใฝเรียนรู มีวิจารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด (ใชตัวยอ เชน มฐ. ค 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3)

สาระท่ี 2 การวัด

มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพ้ืนฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีตองการวัด มาตรฐาน ค 2.2 แกปญหาเก่ียวกับการวัด

สาระท่ี 3 เรขาคณิต

มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ

มาตรฐาน ค 3.2 ใชการนึกภาพ (visualization) ใชเหตุผลเก่ียวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใชแบบจําลองทาง

เรขาคณิต (geometric model) ในการแกปญหา

สาระท่ี 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน

มาตรฐาน ค 5.1 เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล

มาตรฐาน ค 5.2 ใชวิธีการทางสถิติและความรูเก่ียวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล

สาระท่ี 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร

มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และ

การนําเสนอ การเชื่อมโยงความรู ตาง ๆ ทางคณิตศาสตร และเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืนๆ และมีความคิดริเริ่ม

สรางสรรค

มฐ. ค 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3 มฐ. ค 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3

มฐ. ค 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3 มฐ. ค 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2

มฐ. ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 มฐ. ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1

มฐ. ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6

ตัวช้ีวัด (ใหเขียนรายละเอียดเปนขอๆ)

ค 2.1 ตัวชี้วัด 1. อธิบายเสนทางหรือบอกตําแหนงของ สิ่งตางๆ โดยระบุทิศทาง และระยะทางจริงจากรูปภาพ

แผนท่ี และแผนผัง

ค 2.1 ตัวชี้วัด 2. หาพ้ืนท่ีของรูปสี่เหลี่ยม

ค 2.1 ตัวชี้วัด 3. หาความยาวรอบรูป และพ้ืนท่ีของรูปวงกลม

ค 2.2 ตัวชี้วัด 1. แกปญหาเก่ียวกับพ้ืนท่ีความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและรูปวงกลม

ค 2.2 ตัวชี้วัด 2. แกปญหาเก่ียวกับปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยม -มุมฉาก

ค 2.2 ตัวชี้วัด 3. เขียนแผนผังแสดงตําแหนง ของสิ่งตาง ๆ และแผนผังแสดงเสนทาง การเดินทาง

ค 3.1 ตัวชี้วัด 1. บอกชนิดของ รูปเรขาคณิต สองมิติท่ีเปนสวนประกอบของรูปเรขาคณิตสามมิติ

ค 3.1 ตัวชี้วัด 2. บอกสมบัติของเสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมชนิดตางๆ

ค 3.1 ตัวชี้วัด 3. บอกไดวาเสนตรงคูใดขนานกัน

ค 3.2 ตัวชี้วัด 1. ประดิษฐทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากทรงกระบอก กรวย ปริซึม และพีระมิด จากรูปคลี่ หรือรูปเรขาคณิต

สองมิติท่ีกําหนดให

ค 3.2 ตัวชี้วัด 2. สรางรูปสี่เหลี่ยมชนิดตาง ๆ

ค 5.1 ตัวชี้วัด 1. อานขอมูล จากกราฟเสนและแผนภูมิรูปวงกลม

ค 5.1 ตัวชี้วัด 2. เขียนแผนภูมิแทงเปรียบเทียบและกราฟเสน

ค 5.2 ตัวชี้วัด 1. อธิบายเหตุการณโดยใช คําท่ีมีความหมายเชนเดียวกับคําวา

- เกิดข้ึนอยางแนนอน

- อาจจะเกิดข้ึนหรือไมก็ได

- ไมเกิดข้ึนอยางแนนอน

ค 6.1 ตัวชี้วัด 1. ใชวิธีการท่ีหลากหลายแกปญหา

ค 6.1 ตัวชี้วัด 2. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณ

ตางๆ ไดอยางเหมาะสม

ค 6.1 ตัวชี้วัด 3. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม

ค 6.1 ตัวชี้วัด 4. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยาง

ถูกตองและเหมาะสม

ค 6.1 ตัวชี้วัด 5. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและคณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืน ๆ

ค 6.1 ตัวชี้วัด 6. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค)

คะแนน

ปลาย

ภาค

ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ. ค 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,

3

มฐ. ค 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,

3

มฐ. ค 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1

,2,3

มฐ. ค 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2

มฐ. ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี

1,2,3,4,5,6

คะแนน

เต็ม

30

คะแนน

มฐ. ค 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 ,

3

มฐ. ค 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2 ,

3

มฐ. ค 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 ,

3

มฐ. ค 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2

มฐ. ค 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2

มฐ. ค 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1

มฐ. ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี

1,2,3,4,5,6

สภาพ

จริง

โครงงาน

10 คะแนน

อาน คิด

วิเคราะห

5

คะแนน

สมุด,ใบงาน,

หนังสือ,เอกสาร

ประกอบการ

เรียน

5 คะแนน

กลางภาค 20 คะแนน

มูลนิธิเซนตฯ จัดสอบ เก็บ 10 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผลการเรียน ( พรอมเกณฑการใหคะแนน )

อัตราสวนคะแนนระหวางภาคกบัคะแนนสอบ 70:30

1. การประเมินการส่ือสารรายบุคคล ( 10 คะแนน )

เกณฑการใหคะแนนการสื่อสารรายบุคคล

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. ตอบสนองตอการเรียนรูในชั้นเรียน 3 ตอบคําถามเม่ือครูถามดวยปากเปลาในหองเรียน

2. สงงานครบตรงตอเวลา 4 สงงานครบทุกครั้ง และสงตรงตอเวลา

3. ความรับผิดชอบตอตนเอง 3 เอาใจใสตอภาระงานหรือการบานท่ีไดรับมอบหมายในแตละครั้ง

คะแนนรวม 10 คะแนน

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment ) ( 20 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. โครงงานคณิตศาสตร 10

- รูปแบบการเขียนโครงงาน 3 คะแนน

- ผลงานหรือชิ้นงานท่ีสําเร็จ 4 คะแนน

- ความตรงตอเวลาในการสงงาน 3 คะแนน

2. อาน คิด วิเคราะห 5 อานและคิด วิเคราะห เพ่ือเขียนสื่อความในเชิงคณิตศาสตรและ

สามารถตอบคําถามในเชิงคุณธรรมและจริยธรรม

3. สมุด,ใบงาน,หนังสือ,เอกสาร

ประกอบการเรียน 5

ตอบคําถามไดถูกตอง

คะแนนรวม 20 คะแนน

3. การประเมินแฟมสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. สี่เหลี่ยม 4

- แสดงวิธีคิดไดถูกตอง

- มีความคิดสรางสรรค

- สงงานตรงเวลา

2. ทิศ และแผนผัง 3

- แสดงวิธีคิดไดถูกตอง

- มีความคิดสรางสรรค

- สงงานตรงเวลา

3. วงกลม 3

- แสดงวิธีคิดไดถูกตอง

- มีความคิดสรางสรรค

- สงงานตรงเวลา

คะแนนรวม 10 คะแนน

4. การกลางภาค (ขอเขียนแสดงวิธีทํา 20 คะแนน )

เรื่อง / บทท่ี รายละเอียด จํานวน

ขอ

น้ําหนักความสําคัญ

(% ) คะแนน

1. สี่เหลี่ยม - การสรางรูปสี่เหลี่ยม

- โจทยปญหาพ้ืนท่ีรูปสี่เหลี่ยมและความยาวรอบรูป 2 40 8

2. วงกลม

- การหาพ้ืนท่ี

- การหาความยาวรอบรปู

- โจทยปญหาพ้ืนท่ีสวนท่ีแรเงาของรูปสี่เหลี่ยมและวงกลม

3 60 12

รวม 5 100% 20

5. มูลนิธิเซนตฯ จัดสอบ (เนื้อหาทุกบทในวิชาคณิตศาสตรประถม เก็บ 10 คะแนน)

6. การสอบปลายภาค ( 30 คะแนน )

เรื่อง / บทท่ี รายละเอียด จํานวน

ขอ

ลักษณะโจทย น้ําหนัก

ความสําคัญ

(% )

คะแนน เขาใจ

โจทย

ปญหา

1. เสนขนาน

-คุณสมบัติของเสนขนาน

-การหาขนาดของมุมท่ีอยู

บนเสนขนาน

6 3 3 15 4.5

2. ทิศและแผนผัง

-ทิศ , การบอกตําแหนง

โดยใชทิศ ( แผนท่ี )

-มาตราสวน , การอาน

แผนผัง

8 4 4 20 6

3. ส่ีเหล่ียม

-สมบัติของรูปส่ีเหล่ียมแต

ละชนิด

-การหาพ้ืนท่ีและความยาว

รอบรูป

-โจทยปญหา

6 3 3 15 4.5

4. วงกลม

-หาความยาวรอบรูปและ

พ้ืนท่ีวงกลม,วงแหวน

-โจทยปญหา

6 3 3 15 4.5

5. รูปเรขาคณิตสาม

มิติและปริมาตรของ

ทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก

-สวนประกอบของรูป

เรขาคณิตสองมิติ

-โจทยปญหาเกี่ยวกับ

ปริมาตรและความจุ

6 3 3 15 4.5

6. แผนภูมิและความ

นาจะเปนเบ้ืองตน

-อานขอมูลจากกราฟเสน

และแผนภูมิรูปวงกลม

-โอกาสท่ีจะเกิดข้ึนของ

เหตุการณตางๆ

8 4 4 20 6

รวม 40 20 20 100% 30

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

โจทยปญหาคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 สํานักพิมพ PBC

Modern Math คณิตศาสตร 6 สํานักพิมพ PC

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรพ้ืนฐาน รหัส ว 16101

ครูผูสอน 1. มาสเตอรสยาม เจริญศรี 2. มาสเตอรกฤษติชัย ดียิ่ง

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี …..... ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 4 คาบ/สัปดาห 80 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 4 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะห กระบวนการเจริญเติบโตของมนุษย การทํางานท่ีสัมพันธกันของระบบยอยอาหาร ระบบหายใจ

และระบบหมุนเวียนเลือด สารอาหารท่ีรางกายตองไดรับ สารเสพติด ความสัมพันธของกลุมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและ

สิ่งแวดลอม การใชทรัพยากรธรรมชาติและการดูแลรักษา การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอม สมบัติของสารและการเปลี่ยนแปลง

การจําแนกประเภทของสาร และการแยกสารตางๆ ท่ีใชในชีวิตประจําวัน การเลือกใชสารอยางถูกตองปลอดภัย วงจรไฟฟา

การตอเซลลไฟฟา การตอหลอดไฟฟา การเกิดสนามแมเหล็ก หินและแร การเปลี่ยนแปลงของหินและธรณีพิบัติภัย การเกิด

ฤดูกาล ขางข้ึน ขางแรม สุริยุปราคา จันทรุปราคา ความกาวหนาและประโยชนของเทคโนโลยีอวกาศ รวมท้ัง การนําความรู

ตามแนวพระราชดําริ มาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การทดลอง การสืบคนขอมูล การ

สรางแบบจําลอง การคาดการณ การนําเสนอขอมูล การสรุปผล การอภิปราย การแสดงความคิดเห็น การจัดแสดงผลงาน

เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรูไป

ใชประโยชนในชีวิตประจําวัน ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน ซ่ือสัตยสุจริต รักความเปนไทย อยูอยางพอเพียง มีจิต

วิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จํานวน 10 ตัวชี้วัด) สาระท่ี 5 พลังงาน

มาตรฐานท่ี ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

ตัวชี้วัด ว5.1.1 ทดลองและอธิบายการตอวงจรไฟฟาอยางงาย ว5.1.2 ทดลองและอธิบายตัวนําไฟฟาและฉนวนไฟฟา

ว5.1.3 ทดลองและอธิบายการตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรม แบบขนานและนําความรูไปใชประโยชน

ว5.1.4 ทดลองและอธิบายการตอหลอดไฟฟาท้ังแบบอนุกรม แบบขนาน และนําความรูไปใชประโยชน

ว5.1.5 ทดลองและอธิบายการเกิดสนามแมเหล็กรอบสายไฟฟาท่ีมีกระแสไฟฟาผาน และนําความรู

ไปใชประโยชน

สาระท่ี 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐานท่ี ว 6.1 เขาใจกระบวนการตางๆ ท่ีเกิดข้ึนบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของกระบวนการ

ตางๆท่ีมีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบ

เสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

ตัวชี้วัด ว6.1.1 อธิบายและจําแนกประเภทของหิน โดยใชลักษณะของหิน สมบัติของหินเปนเกณฑ และนํา

ความรูไปใชประโยชน

ว6.1.2 สํารวจและอธิบายการเปลี่ยนแปลงของหิน

ว6.1.3 สืบคนและอธิบายธรณีพิบัติภัยท่ีมีผลตอมนุษยและสภาพแวดลอมในทองถ่ิน

สาระท่ี 7 ดาราศาสตรและอวกาศ มาตรฐานท่ี ว 7.1 เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะและผล

ตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร การสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู

และนําความรูไปใชประโยชน

ตัวชี้วัด ว7.1.1 สรางแบบจําลองและอธิบายการเกิดฤดูกาล ขางข้ึนขางแรม สุริยุปราคา จันทรุปราคา

และนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐานท่ี ว 7.2 เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศท่ีนํามาใชในการสํารวจอากาศและทรัพยากรธรรมชาติดาน

การเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร การสื่อสารสิ่งท่ี

เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม

ตัวชี้วัด ว7.2.1 สืบคนอภิปรายความกาวหนาและประโยชนของเทคโนโลยีอวกาศ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน

คะแนนเต็ม

30

คะแนน

มฐ.ว 5.1 ว.5.1.1 ,

ว.5.1.2, ว.5.1.3,

ว.5.1.4, ว.5.1.5 มฐ.ว 6.1 ว.6.1.1 ,

ว.6.1.2, ว.6.1.3

มฐ.ว 7.1 ว.7.1.1

มฐ.ว 7.2 ว.7.2.1

2. สภาพจริง 20 คะแนน มฐ.ว 5.1 ว.5.1.1 ,

ว.5.1.2, ว.5.1.3,

ว.5.1.4, ว.5.1.5

3. กลางภาค/ปฏิบัติ 20 คะแนน 4. มูลนิธิฯ 10 คะแนน

มฐ.ว 5.1 ว.5.1.1 ,

ว.5.1.2, ว.5.1.3,

ว.5.1.4,ว.5.1.5

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน มฐ.ว 5.1 ว.5.1.1 ,

ว.5.1.2, ว.5.1.3,

ว.5.1.4, ว.5.1.5

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ บทท่ี 1 วงจรไฟฟา วงจรไฟฟาอยางงาย ตัวนําไฟฟาและฉนวนไฟฟา วงจรไฟฟาอนุกรมและขนาน 10 คะแนน

บทท่ี 2 แมเหล็กไฟฟา ประโยชนจากแมเหล็กไฟฟา 10 คะแนน

คะแนนจากแบบทดสอบของมูลนิธิฯ 10 คะแนน

2. การประเมินจากการสื่อสารรายบคุคล ( 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

1. ความรับผิดชอบในการสงงาน 5 คะแนน

2. ความตั้งใจในการเรียน การมีสวนรวมในชั้นเรียน 5 คะแนน

3. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) ( 20 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

1. การอาน คิด วิเคราะห เขียนสื่อความ และจริยธรรม 5 คะแนน

2. การทดลองวิทยาศาสตร 2 เรื่อง รวม 5 คะแนน

3. โครงงานวิทยาศาสตร (STEM) 10 คะแนน

4. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) ( 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

1. ใบงานการพัฒนาการเรียนรูของนักเรียน 10 คะแนน

รายละเอียดการสอบ หนวยการเรียนรูท่ี 4 ไฟฟานารู 5 คะแนน

หนวยการเรียนรูท่ี 5 การเปลี่ยนแปลงของโลก 10 คะแนน

หนวยการเรียนรูท่ี 6 จักรวาลและอวกาศ 15 คะแนน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม หนังสือเรียนวิชาวิทยาศาสตรทุกสํานักพิมพ

5. สอบปลายภาค 30 คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัส ส 16101

ครูผูสอน มาสเตอรจักรินทร สุขเกษม

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี …..... ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 2 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาเครื่องมือทางภูมิศาสตร(แผนท่ี ภาพถายชนิดตาง ๆ) เสนละติจูดท่ีสําคัญ เสนลองจิจูดท่ีสําคัญ ลักษณะสําคัญ

ทางกายภาพและสังคมของประเทศไทย ความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณทางธรรมชาติของ

ประเทศไทย ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดลอมทางสังคมในประเทศไทย การแปลงสภาพ

ธรรมชาติในประเทศไทยจากอดีต ถึงปจจุบัน และผลท่ีเกิดข้ึนจากการเปลี่ยนแปลง แผนการใชทรัพยากรในชุมชน

ผูผลิตและผูบริโภคท่ีมีความรับผิดชอบท่ีรูเทาทัน บทบาทของผูผลิต บทบาทของผูบริโภค การใชทรัพยากรอยาง

ยั่งยืน ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ หนวยเศรษฐกิจ การหารายได รายจาย การออม การลงทุน ภาษีและหนวยงานท่ีจัดเก็บ

ภาษี สิทธิของผูบริโภค สิทธิผูใชแรงงาน การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ สหกรณและประเภทตาง ๆของสหกรณ

โดยใชกระบวนการทางสังคมศาสตร การฝกทางทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห อธิบาย การสืบคน การอภิปราย

การแกปญหา การเรียนรู กระบวนการกลุม การจัดการ และการปฏิบัติ เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ ได

เรียนรูอยางมีความสุข และเห็นคุณคาของการนําความรูไปใชประโยชนในการดําเนินชีวิต เปนพลเมืองดีของประเทศชาติและ

สังคมโลก รักชาติ ศาสน กษัตริย มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มีความซ่ือสัตย มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทยและ

มีจิตสาธารณะ

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธของสรรพสิ่งซ่ึงมีผล ตอกันและกันในระบบ

ของธรรมชาติ ใชแผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร ในการคนหาวิเคราะห สรุป และใชขอมูลภูมิ

สารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวช้ีวัด ส 5.1.1 ใชเครื่องมือภูมิศาสตร (แผนท่ี ภาพถายชนิดตางๆ) ระบุลักษณะสําคัญทางกายภาพและ

สังคมของประเทศ

ส 5.1.2 อธิบายความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณทางธรรมชาติของ

ประเทศ

มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพท่ีกอใหเกิด

การสรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสํานึก และมีสวนรวมในการอนุรักษ ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

เพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน

ตัวช้ีวัด ส 5.2.1 วิเคราะหความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดลอมทางสังคมใน

ประเทศ

ส 5.2.2 อธิบายการเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศไทยจากอดีตถึงปจจุบันและผลท่ีเกิด

จากการเปลี่ยนแปลงนั้น

ส 5.2.3 จัดทําแผนการใชทรัพยากรในชุมชน

สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช ทรัพยากรท่ีมีอยูจํากัด

ไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดํารงชีวิต

อยางมีดุลยภาพ

ตัวช้ีวัด

ส 3.1/1 อธิบายบทบาทของผูผลิตท่ีมีความรับผิดชอบ

ส 3.1/2 อธิบายบทบาทของผูบริโภคท่ีรูเทาทัน

ส 3.1/3 บอกวิธีและประโยชนของการใชทรัพยากรอยางยั่งยืน

มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ

และความจําเปนของการรวมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ตัวช้ีวัด

ส 3.2/1 อธิบายความสัมพันธระหวางผูผลิต ผูบริโภค ธนาคาร และรัฐบาล

ส 3.2/2 ยกตัวอยางการรวมกลุมทางเศรษฐกิจภายในทองถ่ิน

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ส 5.1.1 ส 5.1.2 ส 5.2.1

ส 5.2.2 ส 5.2.3 ส 3.1/1,

ส 3.1/2,ส 3.1/3,ส 3.2/1

,ส 3.2/2

30 คะแนน ส 3.1/1, ส 3.1/2,ส 3.1/3,ส

3.2/1 ,ส 3.2/2

2. สภาพจริง 20 คะแนน ส 5.1.1,ส 5.1.2,ส 5.2.1

ส 5.2.2 ส 5.2.3

3. แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ส 5.1.2,ส 3.2/2

4. สอบกลางภาค 30 คะแนน - สอบมูลนิธิ 10 คะแนน - ภาคปฏิบัติ 20 คะแนน

ส 5.1.1,ส 5.1.2,ส 5.2.1 ส 5.2.2

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) …30…. คะแนน

รายละเอียดการสอบ • เครื่องมือทางภูมิศาสตร (แผนท่ีและภาพถายชนิดตาง ๆ)

• ละติจูด และ ลองจิจูด (ความหมาย เสนละติจูด และ ลองจิจูดท่ีสําคัญ) • ลักษณะภูมิศาสตรและภูมิสังคมของประเทศไทย

o ลักษณะภูมิอากาศ

o ทรัพยากรธรรมชาติ o ความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพกับภัยธรรมชาติ o ภูมิลักษณท่ีมีผลตอภูมิสังคมในประเทศไทย

*สอบกลางภาค 20 คะแนน และ สอบมูลนิธิฯ 10 คะแนน

รายละเอียดการสอบ • ผูผลิตและผูบริโภคท่ีมีความรับผิดชอบท่ีรูเทาทัน

o บทบาทของผูผลิต บทบาทของผูบริโภค

o การใชทรัพยากรอยางยั่งยืน • ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ

o หนวยเศรษฐกิจ

o การหารายได รายจาย การออม การลงทุน o ภาษีและหนวยงานท่ีจัดเก็บภาษี o สิทธิของผูบริโภค

o สิทธิผูใชแรงงาน o การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ o สหกรณและประเภทตาง ๆของสหกรณ

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม • หนังสือเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน

• หนังสืออักขรานุกรมภูมิศาสตรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน • หนังสือไทยแลนด แอตลาส สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน • หนังสือเงินทองของมีคา ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2. สอบปลายภาค ……30……… คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู ประวัติศาสตร รหัส ส 16102

ครูผูสอน มาสเตอรบัณฑิต วัฒนสุนทรฤทัย

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี …..... ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา ศึกษาวิเคราะห ปฏิบัติเก่ียวกับพัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทรโดยสังเขป ในเรื่องเก่ียวกับการสถาปนา

อาณาจักร พัฒนาการทางการเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ ประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญสมัยรัตนโกสินทร เชน

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช(รัชกาลท่ี ๑) และภูมิปญญาไทยในสมัยรัตนโกสินทร ท่ีนาภาคภูมิใจและควร

คาแกการอนุรักษ โดยใชทักษะการอาน การสํารวจ การสืบคน การวิเคราะห การตีความ เพ่ือเขาใจความเปนมาของชาติ

ไทยในสมัยรัตนโกสินทร รวมท้ังวัฒนธรรมไทย ภูมิปญญาไทย และบุคคลสําคัญในสมัยรัตนโกสินทร เกิดความรักและความ

ภูมิใจในความเปนไทย ตระหนกัถึงความพากเพียรพยายามของบรรพบุรุษไทยท่ีไดปกปอง และสรางสรรคความเจริญใหบานเมือง

ตกทอดเปนมรดกทางวัฒนธรรมสืบตอถึงปจจุบัน

โดยใชกระบวนการ อธิบาย ระบุยกตัวอยาง วิเคราะห สังเคราะห การสืบเสาะหาความรูเพ่ือใหประมวลผล

ความคิดอันนําไปสูการสรางองคความรูใหม รวมถึงการสรางจริยธรรม คุณธรรม การเห็นคุณคาของตนเองและบุคคลอ่ืน

และเขาใจความเปนมาวัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย การเปนพลเมืองท่ีดีของสังคมซ่ึงกอเกิดสังคมใหมีความสุข

เพ่ือใหมีความรู ความเขาใจวิธีการสืบคนประวัติมาเปนมาของชนชาติไทยไดอยางถูกตองตามหลักการทาง

ประวัติศาสตร รวมท้ังวัฒนธรรมไทย ภูมิปญญาไทย เกิดความรักและความภูมิใจในความเปนไทย ตระหนักถึงความพากเพียรพยายามของบรรพบุรุษไทยท่ีไดปกปอง และสรางสรรคความเจริญใหบานเมือง ตกทอดเปนมรดกทางวัฒนธรรมสืบตอถึงปจจุบันอีกท้ังเห็นคาความสามารถของบรรพบุรุษของตนท่ีสรางบานเมืองใหชนรุนหลังไดมีอยูจนถึงปจจุบัน และเปน

แบบอยางในการดําเนินชีวิต รวมท้ังสรางคุณธรรม จริยธรรม และสามารถอยูรวมกันในสังคมไดมีความสุข สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 4 ตัวช้ีวัด)

สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร มาตรฐานท่ี ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธํารงความ

เปนไทย

ตัวชี้วัด 1 อธิบายพัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร โดยสังเขป ตัวชี้วัด 2 อธิบายปจจัยท่ีสงเสริมความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจ และการปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร ตัวชี้วัด 3 ยกตัวอยางผลงานของบุคคลสําคัญดานตางๆ สมัยรัตนโกสินทร

ตัวชี้วัด 4 อธิบายภูมิปญญาไทยท่ีสําคัญสมัยรัตนโกสินทรท่ีนาภาคภูมิใจ และควรคาแกการอนุรักษไว

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน มฐ. ส 4.3 ตัวชี้วัดท่ี 1

ตัวชี้วัดท่ี 2 ตัวชี้วัดท่ี 3

คะแนนเต็ม

30 คะแนน

มฐ. ส 4.3 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4

2.สภาพจริง …20… คะแนน มฐ. ส 4.3 ตัวชี้วัดท่ี 1

ตัวชี้วัดท่ี 2 ตัวชี้วัดท่ี 3

3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน มฐ. ส 4.3 ตัวชี้วัดท่ี 1

ตัวชี้วัดท่ี 2 ตัวชี้วัดท่ี 3

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน มฐ. ส 4.3 ตัวชี้วัดท่ี 4

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) …30…. คะแนน

รายละเอียดการสอบ 1. สาเหตุการยายราชธานีจากกรุงธนบุรีมากรุงรัตนโกสินทร 2. พระราชประวัติพระมหากษัตริยสมัยรัตนโกสินทรรัชกาลท่ี ๑ – ๙

3. การเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร

รายละเอียดการสอบ 1. การสถาปนาอาณาจักรกรุงรัตนโกสนิทร 2. พระมหากษัตริยแหงอาณาจักรรัตนโกสินทร

3. การเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร 4. ลักษณะทางเศรษฐกิจสมัยรัตนโกสินทร 5. ลักษณะทางสังคม และวัฒนธรรมสมัยรัตนโกสินทร

6. ความสัมพันธกับตางประเทศสมัยรัตนโกสินทร 7. ภูมิปญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร 8. บุคคลสําคัญในสมัยรัตนโกสินทร

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

แมบทมาตรฐานหลักสูตรแกนกลาง ประวัติศาสตร

หนังสืออานเพ่ิมเติมจากหองสมุด ขอมูลจาก sheet เสริมท่ีแจก

ขอมูลจาก Website ตางๆ ในอินเตอรเน็ต

2. สอบปลายภาค 30 คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) รหัส พ 16101

ครูผูสอน มาสเตอรวงศพัทธ พงศภัคกิตติกูล

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี …..... ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา ฝกปฎิบัติ คิดเคราะห สรุปความคิดรวบยอดและบูรณาการการเคลื่อนไหวพ้ืนฐานและการควบคุมตนเองใน

การเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน รูหลักการเคลื่อนไหวและสามารถเลือกเขากิจกรรมทางกาย เกม การละเลนพ้ืนเมือง กีฬาไทย

กีฬาสากลไดอยางปลอดภัยและสนุกสนาน มีน้ําในนักกีฬา โดยปฎิบัติตามกฎ กติกา สิทธิ และหนาท่ีของตนเอง

ศึกษาและฝกปฎิบัติทักษะการเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนกีฬา กีฬาไทย และกีฬาสากล กิจกรรมเขา

จังหวะ ฟุตบอล กีฬาพ้ืนบานและการทดสอบสมรรถภาพทางกาย การดูแลรักษา จัดเก็บอุปกรณเพ่ือยืดอายุการใชงานของสื่อ

การเรียนการสอน มีความรูความเขาใจปฎิบัติไดตามกฎและกติกาสากล

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด (ใชตัวยอ เชน มฐ. พ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3)

สาระท่ี 3 การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล

มฐ. พ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2,3,4,5

มฐ. พ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3,4,5,6

ตัวชี้วัด (ใหเขียนรายละเอียดเปนขอๆ)

มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

พ 3.1ป.6/1 แสดงทักษะการเคลื่อนไหวรวมกับผูอ่ืนในลักษณะแบบผลัดและแบผสมผสานไดตามลําดับท้ังแบบอยูกับท่ี

เคลื่อนท่ีและใชอุปกรณประกอบและเคลื่อนไหวประกอบเพลง

พ 3.1ป.6/2 จําแนกหลักการเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรง การใชแรงและสมดุลในการเคลื่อนไหวรางกายในการเลนกีฬา

และนําผลมาปรับปรุงเพ่ิมพูนวิธีปฎิบัติของตนและผูอ่ืน

พ 3.1ป.6/3 เลนกีฬาไทย กีฬาสากล ประเภทบุคคลและประเภททีม อยางละ 1 ชนิด

พ 3.1ป.6/4 ทักษะกลไกเพ่ือปรับปรุงเพ่ิมพูนความสามารถของตนและผูอ่ืนในการเลนกีฬา

พ 3.1ป.6/5 รวมกิจกรรมนันทนาการอยางนอย 1กิจกรรมแลวนําความรูและหลักการท่ีไดไปใชเปนหลักฐานการศึกษาหา

ความรูเรื่องอ่ืนๆ

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฎิบัติเปนประจําสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ

กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

พ 3.2 ป.6/1 อธิบายประโยชนและหลักการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพสมรรถภาพการออกกําลังการและการเสริมสราง

บุคลิกภาพ

พ 3.2ป.6/2 เลนเกมท่ีใชทักษะการวางแผนและสามารถเพ่ิมพูนทักษะการออกกําลังกายและการเคลื่อนไหวอยางเปนระบบ

พ 3.2ป.6/3 เลนกีฬาท่ีตนเองชื่นชอบและสามารถประเมินทักษะการเลนของตนเปนประจํา

พ 3.2ป.6/4 ปฎิบัติตามกฎ กติกา ตามชนิดกีฬาท่ีเลนโดยคํานึงถึงความปลอดภัยของตนเองและผูอ่ืน

พ 3.2ป.6/5 จําแนกกลวิธีการรุก การปองกันและนําไปใชในการเลนกีฬา

พ 3.2ป.6/6 เลนเกมและกีฬาดวยความสามัคคีและมีน้ําใจนักกีฬา

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลาย

ภาค

ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน พ 3.1 ป 6/2,พ 3.1 ป

6/4

พ 3.2 ป 6/4,พ 3.2 ป

6/6

คะแนนเต็ม

20

คะแนน

พ 3.1 ป 6/1,พ 3.1 ป 6/2

พ 3.1 ป 6/3,พ 3.1 ป 6/4

พ 3.1 ป 6/5,พ 3.2 ป 6/1

พ 3.2 ป 6/2,พ 3.2 ป 6/3

พ 3.2 ป 6/4,พ 3.2 ป 6/5

พ 3.2 ป 6/6

2.สภาพจริง 25+5 คะแนน พ 3.1 ป 6/1,พ 3.1 ป

6/2

พ 3.1 ป 6/3,พ 3.1 ป

6/4

พ 3.1 ป 6/5,พ 3.2 ป

6/1

พ 3.2 ป 6/2,พ 3.2 ป

6/3

พ 3.2 ป 6/4,พ 3.2 ป

6/5

พ 3.2 ป 6/6

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30

คะแนน

พ 3.1 ป 6/1,พ 3.1 ป

6/2

พ 3.1 ป 6/3,พ 3.1 ป

6/4

พ 3.1 ป 6/5,พ 3.2 ป

6/1

พ 3.2 ป 6/2,พ 3.2 ป

6/3

พ 3.2 ป 6/4,พ 3.2 ป

6/5

พ 3.2 ป 6/6

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน พ 3.1ป.6/3

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

อัตราสวนคะแนนระหวางภาคกับคะแนนสอบ 80/20

1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล ( 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

1) การแตงกาย 5 คะแนน

2) ความตั้งใจในการเรียน, การมีสวนรวมในการเรียน 5 คะแนน

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) ( 30 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

1) 30 คะแนน (สอบในช่ัวโมงเรียนพลศึกษา)

- การเดาะบอล + กฏ กติกา และ ขอปฏิบัติ มรรยาท ในการเลน 10 คะแนน

- การยิงปะตู + การผูกเชือกตาขายฟุตบอล 10 คะแนน

- การผานบอลไกล + การทุมบอล 10 คะแนน

3. การทดสอบระหวางเรียน (Formative Test)

รายละเอียดการสอบ

- ไมมี

4. สอบกลางภาค / สอบปฎิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน (สอบในช่ัวโมง

เรียนพลศึกษา)

รายละเอียดการสอบ

รายละเอียด คะแนน

การเตนแอโรบิก 10

การเสริมสรางสมรรถภาพ ( การวิดพ้ืน , การ Sit – up ฯลฯ ) 10

การละเลนพ้ืนบาน วิ่ง 2 คน 3ขา , วิ่ง 5 คน 6 ขา 10

5. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) 10 คะแนน

การนําไปใชในชีวิตจริง / เกณฑการใหคะแนน คะแนน

1. การผูกตาขายจัดเก็บลูกบอล 5

2. ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา 5

6. สอบปลายภาค (สอบในชั่วโมงเรียนพลศึกษา) 20 คะแนน

รายละเอียดการสอบ คะแนน

1. การเลนทีม (ฟุตบอล) 10

2. การวิ่งรวมกันท้ังหอง (จํานวนนักเรียนท่ีเรียน + 1 ขา ) 10

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- หนังสือเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 ของสํานักพิมพตางๆ , วารสาร , Internet

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) รหัส พ 16101

ครูผูสอน มาสเตอรวัตนธนัท พัชรภูกิตติกูล

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี …..... ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติการ บาสเกตบอล ประวัติบาสเกตบอล ทักษะการเลนบาสเกตบอล การเคลื่อนท่ีเบื้องตน

การยิงประตู(การยืน การกระโดดและการ Lay-up) การรับและสงลูกบาสเกตบอล(สองมือระดับอกและลูกกระดอนพ้ืน)

การเลี้ยงลูกบาสเกตบอล(ลูกตํ่าและลูกสูง) ตําแหนงในการเลนบาสเกตบอลเปนทีม การแขงขันและกติกาบาสเกตบอล

เบื้องตน กรีฑา กรีฑาประเภทลู การวิ่งระยะสั้น (วิ่ง 100 เมตร) และการวิ่งผลัด (วิ่งผลัด 4 x 100 เมตร) และการวิ่ง

กระโดดขามรั้ว กรีฑาประเภทลาน การทุมน้ําหนัก

โดยใชกระบวนการวิเคราะหเชื่อมโยง การฝกปฏิบัติ กระบวนการกลุม และกระบวนการสืบคน

เพ่ือใหมีระเบียบวินัย ใฝเรียนรู เคารพกฎกติกา มุงม่ันในการทํางาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การ

แกปญหา การใชเทคโนโลยี การใชทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีตอการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออก

กําลังกาย

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 10 ตัวช้ีวัด)

มาตรฐาน พ3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-6

พ3.2 ตัวชีว้ัดท่ี 1-4

สาระท่ี 3 การเคล่ือนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 ตัวช้ีวัดท่ี 1-6

มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว

กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

1. จัดรูปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสานและควบคุมตนเองเม่ือใชทักษะการเคลื่อนไหวตามแบบท่ีกําหนด

2. เลนเกมนําไปสูกีฬาท่ีเลือกและกิจกรรมการเคลื่อนไหวแบบผลัด

3. ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรง การใชแรงและความสมดุล

4. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบติักิจกรรมทางกายและเลนกีฬา

5. เลนกีฬาไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมไดอยางละ 1 ชนิด

6. อธิบายหลักการ และเขารวมกิจกรรมนันทนาการ อยางนอย 1 กิจกรรม

สาระท่ี 3 การเคล่ือนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.2 ตัวช้ีวัดท่ี 1-4

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสมํ่าเสมอ

มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน และชื่นชม ในสุนทรียภาพของการกีฬา

1. ออกกําลังกายอยางมีรูปแบบเลนเกมท่ีใชทักษะการคิดและตัดสินใจ

2. เลนกีฬาท่ีตนเองชอบอยางสมํ่าเสมอโดยสรางทางเลือกในวิธีปฏิบัติของตนเองอยางหลากหลายและมีน้ําใจนักกีฬา

3. ปฏิบัติตามกฎกติกา การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ตามชนิดกีฬาท่ีเลน

4. ปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองไมละเมิดสิทธิผูอ่ืนและยอมรับในความแตกตางระหวางบุคคลในการเลนเกมและกีฬา

ไทย กีฬาสากล

การวัดและประเมินผล วิชาพลศึกษา (มาสเตอร วัตนธนัท พัชรภูกิตติกูล)

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน

พ3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-6

พ3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

คะแนนเต็ม

20

คะแนน

พ3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-6

พ3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

2.สภาพจริง 25 คะแนน

3.การสอบทฤษฎี 5 คะแนน

4.ภาคปฏิบัติ 30 คะแนน

5.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

อัตราสวนคะแนนระหวางภาคกับคะแนนสอบ 80: 20

1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล ( 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

วัดและประเมินผลดังตอไปนี้

- ดานระเบียบวินัยวัดจากการเดินแถวและขณะปฏิบัติกิจกรรม

- เครื่องแตงกายชุดพลศึกษาโดยวัดจากเสื้อพลศึกษาและรองเทาผาใบ

รายละเอียดการประเมิน ดีมาก ด ี ปานกลาง พอใช ปรับปรุง หมายเหตุ

1.ความมีระเบียบวินัย 5 4 3 2 1 10

2.เครื่องแตงกายชุดพลศึกษา 5 4 3 2 1

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) ( 25 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

วัดและประเมินผลดังตอไปนี้

การจัดทําเอกสารประกอบการเรียนบาสเกตบอลและกรีฑา

รายละเอียดการประเมิน ดีมาก ด ี ปานกลาง พอใช ปรับปรุง หมายเหตุ

1.ขอมูลเนื้อหา 10 9 8 7 6 25

2.ผลงาน 10 9 8 7 6

3.ความรวมมือและสงงาน 5 4 3 2 1

3. การสอบทฤษฎี ( 5 คะแนน )

รายละเอียดการสอบ

วัดและประเมินผลโดยการสอบปรนัย 15 ขอ สอบในชั่วโมงเรียน

เนื้อหาขอสอบ จํานวนขอ เกณฑ/คะแนน หมายเหตุ

1.บาสเกตบอล 8 ขอ - 5 คะแนน

2.กรีฑา 7 ขอ -

รวม 15 ขอ 15 ÷ 3 = 5 คะแนน

4. สอบปฏิบัติ (Performance Assessment) ( 30 คะแนน)

รายละเอียดการสอบ

- วัดและประเมินผลจากการฝกทักษะบาสเกตบอลตามจํานวนลูกท่ีปฏิบัติ

รายละเอียดการประเมิน ดีมาก ด ี ปานกลาง พอใช ปรับปรุง หมายเหตุ

1.การสงบาสระยะ6เมตร 10 9 8 7 6 30

2.การlay-up10ลูก 10 9 8 7 6

3.ยืนยิงประตู10ลูก 10 9 8 7 6

5. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) ( 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

วัดและประเมินผลจากการฝกทักษะในการออกกําลังกายดังตอไปนี้

- การเขารวมกิจกรรมการออกกําลังกายสังเกตจากการเขารวม

- สมุดบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมเปนเวลา 1 ภาคเรียนและมีผูรับรองการปฏิบัติกิจกรรม

- การวิ่งรอบสนามในแตละวัน

ตัวอยางการบันทึกผลการออกกําลังกาย

วัน/เดือน/ป รายการปฏิบัติกิจกรรม ผูรับรอง

18 พ.ค.2560 วิ่งรอบสนาม 2 รอบ ม.วัตนธนัท

รายละเอียดการประเมิน ดีมาก ด ี ปานกลาง พอใช ปรับปรุง หมายเหตุ

1.การเขารวมกิจกรรมการออกกําลังกาย 5 4 3 2 1 10

2.สมุดบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม 5 4 3 2 1

สอบปลายภาค 20 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

วัดและประเมินผลโดยการแขงขันบาสเกตบอลในชั่วโมงโดยครูผูสอน

เนื้อหาขอสอบ เกณฑ/คะแนน หมายเหตุ

1.ทักษะของการเลนบาสเกตบอล ดูจากทักษะการแขงขัน10คะแนน 10 คะแนน

2.ผลงานการแขงขันบาสเกตบอล ดูจากการแขงขัน10คะแนน 10 คะแนน

รวม 20 คะแนน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสือ หนังสือสุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 ของ อจท และ วพ WWW. aksorn.com

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ รหัส ศ 16101

ครูผูสอน มิสนัยนา วรรณรัตน

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี …..... ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ เก่ียวกับทัศนธาตุ การสรางงานทัศนศิลปโดยใชหลักการจัดองคประกอบศิลป ขนาดสัดสวน

ความสมดุล การใชสีคูตรงขาม การสรางงานทัศนศิลป 3 มิติ โดยใชหลักของแสงเงา และน้ําหนักสี สรางสรรคงานปนโดยใช

หลักการลดและเพ่ิม การสรางแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพ่ือถายทอดความคิด เรื่องราวเก่ียวกับเหตุการณตาง ๆ

บทบาทของงานทัศนศิลปท่ีสะทอนชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเชื่อความศรัทธาในศาสนาและวัฒนธรรมท่ีมีผลตอการ

สรางงานทัศนศิลปในทองถ่ิน วิธีการวิจารณงานศิลปะ การเชื่อมโยงทักษะรวมกับกลุมสาระอ่ืนๆ โดยใชกระบวนการสราง

ความรูความเขาใจ สรางคานิยม สรางเจตคติ ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางความคิดวิจารณญาณ เพ่ือใหผูเรียนมี

ลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และมีจิต

สาธารณะ

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

สาระท่ี 1 ทัศนศิลป มฐ. ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7

มฐ. ศ 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 ,3

รวม 10 ตัวชี้วัด

ตัวช้ีวัด

มาตราฐาน. ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางาน

ทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. ระบุสีคูตรงขามและอภิปรายเก่ียวกับการใชสีคูตรงขามในการถายทอดความคิดและอารมณ

2. อธิบายหลักการจัดขนาดสัดสวน ความสมดุลในการสรางงานทัศนศิลป

3. สรางงานทัศนศิลปจากรูปแบบ 2 มิติ เปน 3 มิติ โดยใชหลักการของแสงเงา และน้ําหนัก

4. สรางสรรคงานปนโดยใชหลักการเพ่ิมและลด

5. สรางสรรคงานทัศนศิลปโดยใชหลักการของรูป และพ้ืนท่ีวาง

6. สรางสรรคงานทัศนศิลปโดยใชสีคูตรงขาม หลักการจัดขนาดสัดสวน และความสมดุล

7. สรางงานทัศนศิลปเปนแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพ่ือถายทอดความคิด หรือเรื่องราวเก่ียวกับเหตุการณ

ตาง ๆ

มาตราฐาน. ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางาน ทัศนศิลปท่ี

เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทย และสากล

1. บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลปท่ีสะทอนชีวิตและสังคม

2. อภิปรายเก่ียวกับอิทธิพลของความเชื่อ ความศรัทธาในศาสนาท่ีมีตองานทัศนศิลปในทองถ่ิน

3. ระบุและบรรยายอิทธิพลทางวัฒนธรรมในทองถ่ินท่ีมีตอการสรางงานทัศนศิลปของบุคคล

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลาย

ภาค)

การสื่อสาร 10

คะแนน

ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2

ศ 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3

คะแนนเต็ม

20

คะแนน

ศ 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 7

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 3 , 4 , 5 , 6 , 7

ศ 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 2

กลางภาค/ปฏิบัติ 30

คะแนน

ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 3 , 4 , 5 , 6 , 7

แฟมสะสมงาน 10

คะแนน

ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 3 , 4 , 5 , 6 , 7

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน 80:20)

1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล (…10…. คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1.พฤติกรรมในหองเรียน 5 การเอาใจใส ตั้งใจทํางานท่ีไดรับมอบหมาย

2.ความรับผิดชอบ 3 สงงานครบทุกชิ้น และสงตรงเวลาท่ีกําหนด

3.การตอบคําถามในเรื่องท่ีกําหนด 2 การมีสวนรวมในชั้นเรียนโดยการตอบคําถาม

คะแนนรวม 10

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) ( …30… คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. หองใตดินในจินตนาการ 10 ออกแบบ วาดภาพระบายสี หองใตดินในจินตนาการ

2. ลายไทย 10 วาดลายไทย 1 ลาย และระบายสีใหสวยงาม

3. จริยะ อานคิดวิเคราะห 5 ตอบปญหาเหตุการณจากโจทยโดยยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม

4. แบบฝกหัด 5 องคความรูภาคทฤษฎีเก่ียวกับทัศนศิลป

คะแนนรวม 30

3. การประเมินจากปฏิบัติ (Performance Assessment) (.... 30 ....คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. สีคูตรงขาม 10 วาดใบหนาการตูนและระบายสีโดยใชสีคูตรงขาม

2. วาดภาพตามหัวขอท่ีกําหนด 10 วาดภาพและระบายสีโดยใชสีคูตรงขาม

3. แรเงา 10 กําหนดทิศทางของแสง และระบายสีแสดงน้ําหนักแสงเงาของรูปทรง

คะแนนรวม 30

4. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio)

เกณฑการใหคะแนน

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. การจัดทําแฟมสะสมงาน 5 เลือกผลงานของตนเองท่ีชอบหรือประทับใจ 1 ชิ้น

2. การเขียนแสดงความคิดเห็น 3 เขียนบรรยายวธิีการทํางานและความประทับใจในผลงานชิ้นนั้น

3. การสงผลงาน 2 ความเรียบรอย ตรงตอเวลา

คะแนนรวม 10

5. การประเมินปลายภาค (... 20... คะแนน) * สอบในช่ัวโมงเรียน*

รายละเอียดการสอบ

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

วาดภาพ โดยเลือกจากหัวขอท่ีกําหนดให 7 การวาดภาพ จัดองคประกอบภาพ เนื้อหาเรื่องราว

7 การระบายสี ไลน้ําหนักสี เรียบรอย สวยงาม

6 ความตั้งใจ สะอาด สงตรงเวลา

คะแนนรวม 20

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

คูมือทัศนศิลป ป.6 , การจัดองคประกอบศิลป , การปนดิน , Internet และหองสมุด

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ (ดนตรีไทย) รหัส ศ 16101

ครูผูสอน มาสเตอรโรจนินทร สุรียนิธคุิณ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี …..... ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ เก่ียวกับทัศนธาตุ การสรางงานทัศนศิลปโดยใชหลักการจัดองคประกอบศิลป ขนาดสัดสวน

ความสมดุล การใชสีคูตรงขาม การสรางงานทัศนศิลป 3 มิติ โดยใชหลักของแสงเงา และน้ําหนัก สรางสรรคงานปนโดยใช

หลักการลดและเพ่ิม การสรางแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพ่ือถายทอดความคิด เรื่องราวเก่ียวกับเหตุการณตาง ๆ

บทบาทของงานทัศนศิลปท่ีสะทอนชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเชื่อความศรัทธาในศาสนาและวัฒนธรรมท่ีมีผลตอการ

สรางงานทัศนศิลปในทองถ่ิน

องคประกอบดนตรี ศัพทสังคีต ประเภทและบทบาทหนาท่ี เครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมตาง ๆ

ดนตรีในประวัติศาสตร การอาน-เขียนโนตไทยและโนตสากล การบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบการรองเพลง การดนสด

วิธีการการวิเคราะหและวิจารณเพลง รูปแบบการแสดง การละคร ประเภทของการแสดง ลักษณะของภาษาทา นาฏยศัพท

เทคนิคการเคลื่อนไหว วิธีการวิจารณงานแสดง การเชื่อมโยงทักษะรวมกับกลุมสาระอ่ืนๆ

โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม สรางเจตคติ ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะ

การปฏิบัติทางดนตรี สรางความคิดวิจารณญาน เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ัน

ในการทํางาน รักความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตสาธารณะ

ตัวชี้วัด

ศ 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7

ศ 1.2 ป.6/1 / ป.6/2 / ป.6/3

ศ 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6

ศ 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3

ศ 3.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6

ศ 3.2 ป.6/1, ป.6/2

รวม 27 ตัวชี้วัด

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7

มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3

ตัวช้ีวัด

มฐ. ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรีถายทอดความรูสึก

ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. เปรียบเทียบองคประกอบท่ีใชในงาน ดนตรีและงานศิลปะอ่ืน

2. รองเพลง เลนดนตรีเดี่ยว และรวมวง โดยเนนเทคนิคการรอง การเลน การ แสดงออก และคุณภาพสียง

3. แตงเพลงสั้น ๆ จังหวะงาย ๆ

4. อธิบายเหตุผลในการเลือกใช องคประกอบดนตรีในการสรางสรรค งานดนตรีของตนเอง

5. เปรียบเทียบความแตกตางระหวาง งานดนตรีของตนเองและผูอ่ืน

6. อธิบายเก่ียวกับอิทธิพลของดนตรี ท่ีมีตอบุคคลและสังคม

7. นําเสนอหรือจัดการแสดงดนตรี ท่ีเหมาะสมโดยการบูรณาการกับสาระ การเรียนรูอ่ืนในกลุมศิลปะ

มฐ. ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดกทาง

วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

1. บรรยายวิวัฒนาการของดนตรีแตละ ยุคสมัย

2. อภิปรายลักษณะเดนท่ีทําใหงานดนตรี นั้นไดรับการยอมรับ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.7

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.1.5 / 2.2.1 /

2.2.2

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.2 / 2.1.3

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

หัวขอเนื้อหาวิชา

1. การขับรอง-ปฏิบัติเครื่องดนตรี

1.1 ทักษะ, แบบฝกหัดการปฏิบัติเครื่องดนตรีปพาทย-เครื่องสายไทย

1.2 ปฏิบัติเครื่องดนตรีปพาทย-เครื่องสายไทย

1.3 การขับรองเพลงไทย

2. ทฤษฎีดนตรีไทย

2.1 องคประกอบดนตรี

2.2 ประเภทวงดนตรีไทย

2.3 เครื่องประกอบจังหวะไทย

2.4 ประเพณีไทย – รําวงพ้ืนบาน

3. การแสดง/นําเสนอผลงาน

3.1 การจัดทําแฟมสะสมผลงาน (Portfolio)

3.2 การบูรณาการ การเรียนรูตามสภาพจริง (Authentic)

3.3 การสอบปฏิบัติรวมวงเครื่องดนตรีปพาทย-เครื่องสายไทย (Final)

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

ระหวางเรียน 80 คะแนน

1. การประเมินจากการส่ือสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

o การสอบปากเปลา (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน

o ความสนใจระหวางเรียน 3 คะแนน

o มีทัศนคติท่ีดีตอวิชาดนตรี 2 คะแนน

2. การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

2.1. ทักษะ, แบบฝกหัด การปฏิบัติเครื่องดนตรี

เกณฑการใหคะแนน

o ทักษะพ้ืนฐานการปฏิบัติเครื่องดนตรี 5 คะแนน

o แบบฝกหัดการปฏิบัติเครื่องดนตรี 5 คะแนน

2.2. การบรรเลงรายบุคคล ตามบทเพลงท่ีกําหนดให

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 5 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

2.3. การขับรองเพลงไทย ตามบทเพลงท่ีกําหนดให

เกณฑการใหคะแนน

o ขับรองตรงจังหวะ / ทํานองของเพลง 5 คะแนน

o ความไพเราะของการขับรอง/มารยาทในการฟง และรับชม 5 คะแนน

3. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

3.1. ความสําเร็จของชิ้นงาน (20 คะแนน) ชิ้นงานท่ีไดรับมอบหมายเปนงานกลุมหรือเดี่ยว

เกณฑการใหคะแนน

o รายละเอียด, ความสําเร็จของชิ้นงานท่ีไดรับมอบหมาย 10 คะแนน

o ความสะอาด / เปนระเบียบ 5 คะแนน

o ทัศนคติของนักเรียนตอการเรียนดนตรีและชิ้นงาน 5 คะแนน

3.2. การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบขอเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม

จริยธรรม

เกณฑการใหคะแนน

o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน

o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี) 2 คะแนน

3.3. การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรีไทย เปนขอสอบปรนัย 4 ตัวเลือกจํานวน 15

ขอ

เกณฑการใหคะแนน

o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

4. การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน)

เลือกชิ้นงานตามหัวขอท่ีกําหนดให

เกณฑการใหคะแนน

o เนื้อหาขอมูล / องคประกอบหลัก 5 คะแนน

o ความรับผิดชอบ / รูปแบบ 3 คะแนน

o การตรงตอเวลา 2 คะแนน

5. การสอบปลายภาค 20 คะแนน

การบรรเลงรวมวง ตามหลักดุริยางคศาสตร ตามบทเพลงท่ีกําหนดไวในหลักสูตร (20 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 10 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. เอกสารประกอบการเรียนการสอนดนตรี ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ (ดนตรีสากล) รหัส ศ 16101

ครูผูสอน 1. มาสเตอรชรินทร ทรงสิริวรกุล 2. มิสอัศมาร หมัดเหย็บ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี …..... ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ เก่ียวกับทัศนธาตุ การสรางงานทัศนศิลปโดยใชหลักการจัดองคประกอบศิลป ขนาดสัดสวน

ความสมดุล การใชสีคูตรงขาม การสรางงานทัศนศิลป 3 มิติ โดยใชหลักของแสงเงา และน้ําหนัก สรางสรรคงานปนโดยใช

หลักการลดและเพ่ิม การสรางแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพ่ือถายทอดความคิด เรื่องราวเก่ียวกับเหตุการณตาง ๆ

บทบาทของงานทัศนศิลปท่ีสะทอนชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเชื่อความศรัทธาในศาสนาและวัฒนธรรมท่ีมีผลตอการ

สรางงานทัศนศิลปในทองถ่ิน องคประกอบดนตรี ศัพทสังคีต ประเภทและบทบาทหนาท่ี เครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีท่ีมา

จากวัฒนธรรมตาง ๆ ดนตรีในประวัติศาสตร การอาน-เขียนโนตไทยและโนตสากล การบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบการร

องเพลง การดนสด วิธีการการวิเคราะหและวิจารณเพลง รูปแบบการแสดง การละคร ประเภทของการแสดง ลักษณะของ

ภาษาทา นาฏยศัพท เทคนิคการเคลื่อนไหว วิธีการวิจารณงานแสดง การเชื่อมโยงทักษะรวมกับกลุมสาระอ่ืนๆ โดยใช

กระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม สรางเจตคติ ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทาง

ดนตรี สรางความคิดวิจารณญาน เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รัก

ความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตสาธารณะ

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระดนตรี

มาตรฐานท่ี ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรีถายทอดความรูสึก

ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตัวช้ีวัดท่ี

1. บรรยายเพลงท่ีฟง โดยอาศัยองคประกอบดนตรีและศัพทสังคีต

2. จําแนกประเภทและบทบาทหนาท่ีเครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมตางๆ

3. อาน เขียนโนตไทยและโนตสากลทํานองงายๆ

4. ใชเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการรองเพลง ดนสด ท่ีมีจังหวะและทํานองงายๆ

5. บรรยายความรูสึกท่ีมีตอดนตรี

6. แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับทํานองจังหวะ การประสานเสียงและคุณภาพเสียงของเพลงท่ีฟง

มาตรฐานท่ี ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดกทาง

วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

ตัวช้ีวัดท่ี

1. อธิบายเรื่องราวของดนตรีไทยในประวัติศาสตร

2. จําแนกดนตรีท่ีมาจากยุคสมัยท่ีตางกัน

3. อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมตอดนตรีในทองถ่ิน

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.3 ศ 2.1.6 ศ 2.2.3

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.4 ศ 2.1.5

สภาพจริง 20 คะแนน

ศ 2.1.4 ศ 2.1.5 ทฤษฎีดนตรี 5 คะแนน

อานคิดวิเคราะห 5 คะแนน

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 ศ 2.1.3 ศ 2.1.1

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.2 ศ 2.2.1 ศ 2.2.2

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

เนื้อหารายวิชา (เลนตามท่ีเลือกเรียน)

รายละเอียดการวัดและประเมินผล

ระหวางเรียน 80 คะแนน

1. การประเมินจากการส่ือสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

• มีอุปกรณและเอกสารประกอบการเรียน........................................ 5 คะแนน

• มีความรับผิดชอบในการเรียน....................................................... 3 คะแนน

• มีทัศนคติท่ีดีตอวิชาดนตรี............................................................ 2 คะแนน

เปยโน

- บทเพลง ในบันไดเสียง G Major

- บันไดเสียง G Major 2 octave (ทีละมือ)

- บันไดเสียง C Major 2 octave (ทีละมือ)

- ทฤษฎีดนตรี

เครื่องเปา

- Mouthpiece (8 จังหวะ และ 4 จังหวะ long tone)

- เปา Bb, C, D Concert (8 จังหวะ long tone)

- เปา Bb, C, D, E, F (5 tone / 8 จังหวะ long tone)

- Bb Major Scale ( 8 tones / 8 จังหวะ long tone)

- เพลง Old McDonald

- ทฤษฎีดนตรี

2. การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

บรรเลงบทเพลง นักเรียนบรรเลงบทเพลงตามท่ีกําหนดให เกณฑการใหคะแนน

• บทเพลงตรงตามจังหวะ-ทํานอง ถูกตองแมนยํา............................. 20 คะแนน

• บรรเลงบทเพลงตามเครื่องหมายและอารมณเพลง......................... 10 คะแนน

3. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

• การสอบบรรเลงเพลง (20 คะแนน)

นักเรียนเลือกบทเพลง หรือครูกําหนดบทเพลง โดยบรรเลง 1 บทเพลง

เกณฑการใหคะแนน

• ความถูกตองในโนตและจังหวะ ....................................................... 10 คะแนน

• เทคนิคการบรรเลงตามรูปแบบของบทเพลงท่ีบรรเลง......................... 5 คะแนน

• ความตอเนื่องในการบรรเลงและทักษะการอานโนต.. ......................... 5 คะแนน

• การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนส่ือความ (5 คะแนน)

ประเมินจากการสอบอาน คิดวิเคราะหและเขียนสื่อความ จากบทความท่ีครูกําหนด พรอมเขียนความคิดเห็นโดย

สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

เกณฑการใหคะแนน

• การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม........................................... 3 คะแนน

• พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี)................................................ 2 คะแนน

• การสอบทฤษฎ ี(5 คะแนน)

1) ศัพทสังคีต , เครื่องดนตรีไทยในภาคตางๆ , ดนตรีวิจารณ , ดนตรีไทยในประวัติศาสตร

2) บทบาทสําคัญและหนาท่ีของนาฏศิลป

3) สัญลักษณ , ประเภทการขับรองและเครื่องดนตรีสากล

4) บทเพลงพระราชนิพนธ

เกณฑการใหคะแนน

• การทดสอบตัวเลือก................................................................... 5 คะแนน

4. การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน)

นักเรียนนําเสนอรูปแบบโปรแกรมทางคอมพิวเตอร ตามหัวขอท่ีครูกําหนดให

เกณฑการใหคะแนน

• เนื้อหาขอมูล / องคประกอบหลัก............................................. 5 คะแนน

• ความรับผิดชอบ / รูปแบบ....................................................... 3 คะแนน

• ตรงเวลา ................................................................................ 2 คะแนน

สอบปลายภาค 20 คะแนน

แสดงดนตรี โดยบรรเลงบทเพลงตามท่ีครูกําหนด (20 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

- บรรเลงตามจังหวะ / ตัวโนต ถูกตองและแมนยํา........................ 10 คะแนน

- บุคลิกภาพของผูสอบ.............................................................. 5 คะแนน

- มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง................................ 5 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. Piano Lesson by Alfred’s Basic Piano Lesson

2. Essential Elements a Comprehensive Band Method

Course Outline and Evaluation Assessment

Subject: Computer Code: ง 16101

Instructors: Miss Supaphan Meekhun

Class Level: Primary 6 Secondary Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week. 40 periods/semester 4 units of learning

Basic Subject Intensive Subject Others..........................

Course Description:

Studying the basic principles of problem-solving, components of information and communication,

use of information technology processes in searching for data, communicating, problem–solving, working,

Use computers to facilitate creation of work pieces from imagination or work. Present data in appropriate

forms by choosing applied software and understand working methods to help themselves, their families

and the public.

To Use process computers to facilitate creation of work pieces from imagination or work performed

in daily life with awareness and responsibility. They study how to use the materials, instruments and

equipment correctly as required for the type of work. They understand and are skillful in searching for

data at all stages, presenting data in various forms.

Have creative thinking; have characteristics and habits of work that show diligence, patience,

responsibility and honesty; have skills in process of work have skills in characteristics and habits of work

that show enthusiasm, punctuality, economy, care for safety, cleanliness and carefulness, and have

awareness of the need to protect the environment.

The Learning Standard:

Strand Standard :

Strand3:Information and Communication

Technology

Standard O3.1: Understanding, appreciation, and

efficient, effective and ethical use of information

technology processes in searching for date,

communicating, problem-solving, working and

livelihood.

Indicators : (Write the details in items)

The Principle of Problem-solving

Indicators:

O3.1.1Tell basic principles of problem-solving.

O3.1.2 Use computers to search for data. O3.1.3Store useful data in various forms.

Parts of a Computer

Indicators:

O3.1.1. Reiterate the definition of input and output;

O3.1.2. Differentiate between input and output;

O3.1.3. List the most important input and output units;

O3.1.4. Recognize and identify input units and their functions;

O3.1.5. Distinguish between input and output units through lab exercises;

O3.1.6. Explain the role of a Central Processing Unit (CPU);

O3.1.7. Differentiate between primary and secondary memory;

O3.1.8. Differentiate Read only memory (ROM) and Random Access Memory (RAM);

O3.1.9. Explain secondary memory and provide examples;

O3.2.1. Identify the measuring units of memory (Bits, Bytes, Kilobytes, etc.);

O3.2.2. Differentiate between software and hardware;

O3.2.3. Explain their relationship in a computer system;

O3.2.4. Clarify the difference between system and application software;

Spreadsheets with Excel

Indicators:

O3.1.1. Describe the purpose and concept of MS Excel;

O3.1.2. List the advantages of using MS Excel;

O3.1.3. Practice using the features of Excel;

O3.1.4. Practice opening, saving, closing MS Excel;

O3.1.5. Practice how to delete, copy, and move data from cells;

O3.1.6. Practice opening, saving, and deleting cells;

O3.1.7. Explain how MS Excel has contributed to saving a significant amount of time

and effort;

Presentations with PowerPoint

Indicators:

O3.1.1. Describe the various uses/benefits of MS PowerPoint;

O3.1.2. Practice starting up MS PowerPoint and Learning the important Components;

O3.1.3.Be acquainted with creating a presentation;

O3.1.4. Practice the basic manipulations available in MS PowerPoint;

O3.1.5.Be familiar with adding text to a slide and formatting that text;

O3.1.6. Provide examples of what MS PowerPoint can be used for in contemporary

society;

Internet

Indicators:

O3.1.1. Define a Computer Network;

O3.1.2. Explain what distinguishes the three types of computer networks;

O3.1.3. Describe what the internet is;

O3.1.4. List the advantages of the internet;

O3.1.5. Explain the types of internet connections available;

O3.1.6. Practice using a standard web browser;

O3.1.7. Explain the concept of a search engine;

O3.1.8. Practice using search engines;

O3.1.9. Describe the concept of electronic mail (Email);

O3.2.1. List the benefits of Email;

O3.2.2. Practice sending emails;

O3.2.3. Describe in what ways the internet has helped our the world excel at an incredible rate;

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination

Indicators (Final

examination)

1.Communication 10 marks Part of a computer

O3.1.1-O3.2.4

Spreadsheets with Excel

O3.1.1- O3.1.7

Presentation with

PowerPoint

O3.1.1- O3.1.6

Internet

O3.1.1 – O3.2.3

20 Marks

Presentation with

PowerPoint

O3.1.1- O3.1.6

Internet

O3.1.1 – O3.2.3

2. Authentic 30 marks

Part of a computer

O3.1.1-O3.2.4

Internet

O3.1.1 – O3.2.3

3.Performance test. 30 marks Presentation with

PowerPoint

O3.1.1- O3.1.6

Internet

O3.1.1 – O3.2.3

4.Portfolio 10.marks Spreadsheets with Excel

O3.1.1- O3.1.7

Total 100 marks

Assessment

1. Communication (…10…. marks)

Topic / subject matter:

- Participation in class

- Responsibility

- Homework

2. Authentic Assessment (…30…. marks)

Topic / subject matter:

- Moral

- Dictation

- Create publishing by MS Office #1

- Design Project

3. Performance Assessment (…30…. marks)

Topic / subject matter:

- Create presentation #1

- Create Presentation #2

4. Portfolio (…10…. marks)

Topic / subject matter:

- Create publishing by MS Office

5. Final Examination (…20…. marks)

Topic / subject matter:

- Create presentation #1

- Create Presentation #2

References :

Computer book (Office 2013) , Computers Ahead-Information Technology, Plain & Simple.,

Book F We can use the computer, IT Kids, my world of Computers primary 6

Course Outline and Evaluation Assessment

Subject: Technology Code: ง 16101

Instructors: Miss Tipayasuda Sakorn

Class Level: Primary 6 Secondary Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week. 40 periods/semester 5 units of learning

Basic Subject Intensive Subject Others..........................

Course Description:

Study Analysis to manage how to work together systematically, the components of career and

technology and working process. The adaptation and the solution of problem steps by steps are the skill

to create work piece to apply to create equipments, the planning to choose the interesting career.

To use the process of technology to manage how to work together systematically and to use skill

to apply and create things by describe the though into dimension figures, to do work and assess by self

skills and interest. Can plans to pick up for the awareness career.

Love to do work, have creative ideas, have good behaved. To be the diligent, honest, to punctual,

economy, circumspect to do work, safe, conscious to responsibility and environment reservation. To look

after and keep the school equipments and the interested occupations are considered.

The Learning Standard:

Strand Standard

Standard 1.1 Living and Family

Understanding of concept of work; endowment with creativity

and skill for various aspects and work processes, management,

teamwork, investigation for seeking knowledge, morality,

diligence, and awareness of the need to economies on the use

of energy and the environment for one’s life and for family.

2.1 Design and Technology

3.1 Occupation

Understanding of technology and technological processes,

design and creation of objects and utensils or methodologies

through creative technological processes selective utilization of

technologies beneficial to one’s life, society and the

environment, and participation in sustainable technological

management.

Understanding and acquisition of necessary skills and

experiences; proper perception of future career; technological

application for occupational development; endowment with

morality and favorable attitude towards occupations.

Standard 1.1 Living and Family

Indicators : (Write the details in items)

1.1.1 Discuss the guidelines for working and improving each stage of work.

1.1.2 Apply management and teamwork skills

1.1.3 Conduct themselves with good manners when working with family members and others.

2.1 Design and Technology

Indicators

2.1.1 Explain components of the technological system.

2.1.2 Safely construct objects and utensils of interest by identifying problems or needs, collection data,

selecting method of design by transforming the ideas into a three-dimensional sketch or a mind map,

constructing and evaluating.

2.1.3 Apply knowledge and skills for constructing work pieces when making objects and utensils.

Standard 4.1 Occupation

Indicators

4.1.1 Explore them to plan to choose occupations.

4.1.2 Specify knowledge, capacities and morality relevant to occupations of interest.

Class Level Assessment and Evaluation

During the course Indicators Final

examination

Indicators

Communication10 marks

CT(1.1.1-1.1.3)

CT(2.1.1-2.1.3)

CT(4.1.1-4.1.2)

20 mark

CT(1.1.1-1.1.3)

CT(2.1.1-2.1.3)

CT(4.1.1-4.1.2)

Performancetest30marks CT(1.1.1-1.1.3)

CT(2.1.1-2.1.3)

Authentic 30 marks

CT(2.1.1-2.1.3)

Portfolio 10 marks CT(4.1.1-4.1.2)

Total 100 marks

Assessment

1. Communication(10 marks)

Topic/subject matter:

- Punctually

- Attention

- Participation

2. Authentic Assessment (30 marks)

Topic/subject matter:

- Moral

- Dictation

- Design Technology

- Design Project (STEM)

3. Performance Assignment (30 marks)

Topic/subject matter:

- Design Technology

- Exist and family

- Career

4. Portfolio Assessment (10 marks)

Topic/subject matter:

- Design Technology

5. Final Examination (20 marks)

Topic/subject matter:

- Robot

- Design Technology

References :

Electronic with Basic circuits and Control circuits of Fisher Technic.

Course Outline and Evaluation Assessment

Subject: E.IE.1 Grammar Code: E 16101

Instructors: Miss Yaowaluck Yoocharoen

Class Level: Primary 6 Secondary Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week. 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others..........................

Course Description:

In this course, students will learn proper sentence structure using English grammar. They will learn

how to correctly ask questions in English using quantifiers and question words. They will learn how to use

the perfect and continuous forms of verbs in the past, present, and future. In addition, students will be

able to identify and use active and passive voice. Throughout this course, students will greatly expand

their English vocabulary, allowing them to write and speak correctly and in more detail. Students will be

required to complete worksheets involving reading and writing using proper English grammar as well as

interactive activities in partners and groups to practice speaking in English. By learning these different

aspects of English grammar, students will gain confidence to communicate with others using English.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 1 : Language for

Communication

Standard F1.2: Endowment with language communication

skills for exchange of data and information; efficient

expression of feelings and opinions

Standard F1.3: Ability to present data, information,

concepts and views about various matters through

speaking and writing

Strand 2 : Language and Culture Standard F2.1: Appreciation of the relationship between

language and culture of native speakers and capacity for

use of language appropriate to occasions and places

Standard F2.2: Appreciation of similarities and differences

between language and culture of native and Thai

speakers, and capacity for accurate and appropriate use of

language

Strand 4 : Language and Relationship

with Community and the World

Standard F4.1: Ability to use foreign languages in various

situations in school, community and society

Standard F4.2: Usage of foreign languages as basic tools

for further education, livelihood and exchange of learning

with the world community

Indicators :

F1.2.2. Choose and use requests and give instructions, clarifications and explanations fluently.

F1.2.4. Speak and write appropriately to ask for and give data, describe, explain, compare and

express opinions about matters/ issues/news and situations heard and read.

F1.3.1. Speak/write to give data about themselves, their friends and the environment around

them.

F1.3.2. Draw pictures, plans, charts and tables to show various data heard or read.

F1.3.3. Speak/write to express opinions about various matters around them.

F2.1.1. Use words, tone of voice, gestures and manners politely and appropriately by observing

the social manners and culture of native speakers.

F2.1.3. Participate in language and cultural activities in accordance with their interests.

F2.2.1. Tell similarities/differences between pronunciation of various kinds of sentences, use of

punctuation marks and word order in accordance with structures of sentences in foreign

languages and Thai language.

F4.1.1. Use language for communication in various situations in the classroom and in school.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

Communication

10 marks

- Writing Teacher (5 marks)

- Grammar Teacher (5 marks)

Grammar

(30 marks)

F 1.2.2

F 1.2.4

F 2.2.1

F 4.1.1

Authentic

20 marks

- Ethics and Critical Thinking

Test (5 marks)

- Class Participation and

Responsibility (5 marks)

- External Reading (5 marks)

- Verb 1-2-3 test (5 marks)

Performance test

20 marks

FSGST

10 marks

F 1.2.2, F1.2.4, F 2.2.1, F 4.2.1

Portfolio

10 marks

1. Handwriting Book

5 marks

2. Assignments

5 marks

1. F 1.2.4, F 1.3.1, F 1.3.3,

F 2.2.1,

2. F 1.2.4, F 1.3.1, F 1.3.3,

F 2.2.1, F 4.2.1

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (20 marks) + FSGST TEST (10 marks)

Topic / subject matter: 1. Infinitives and Gerunds

2. Present tenses: Present simple, Present continuous, Present perfect

3. Past tenses: Past simple, Past continuous, Past perfect

4. Subject and Verb Agreement

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter: 1. Present tenses: Present simple, Present continuous, Present perfect

2. Past tenses: Past simple, Past continuous, Past perfect

3. Future tenses: Future simple - Will / going to

4. Active voice and passive voice

References :

- Scholar’s Junior English Grammar and Composition

- My World of English Book 6

- Practical English Grammar for Primary Levels

- Primary Level Grammar & Usage Book 5-6

- Challenging Grammar & Vocabulary MCQs 4-5-6

- Grammar Exercises Primary 4-5-6

- Topical Grammar Practice 4-5-6

- Learning English Primary 6

- Grammar Skills 4-5-6

- Learning Grammar 4-5-6

- Round-Up 2 English Grammar Practice

- Round-Up 3 English Grammar Practice

- Round-Up 4 English Grammar Practice

- Essential Grammar 4-5-6

- Conquer Grammar 4-5-6

- External Reading

- Grammar Workbook

- Oxford Practice Grammar

- Learning Strategies

- Internet resources

- Magazines/ Newspaper/ Audio-visual/ Visual aids

Remarks :

This course outline may be changed in any suitable case.

Course Outline and Evaluation Assessment

Subject: Mathematics I.E. Code: ค 16201

Instructors: Ms. Chonticha Nuamphummarin

Class Level: Primary 6 Secondary Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week. 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others..........................

Course Description:

This course is designed to provide students with the opportunity to explore math units through

visual, auditory and written English language. Students will be guided through an array of units, first learning

the process of solving problems by observing the teacher. They will then be required to practice and

apply the skills either working independently or collaboratively. Students will move from basic equations

to reading and understanding word problems. They will use higher level thinking to calculate and provide

solutions by selecting and using the appropriate method.

Students are expected to exemplify core values in all their work. They will show integrity,

honesty and respect for themselves and others in the classroom. Furthermore, students will be

encouraged and supported to use the English language to connect information and skills to foster

development.

The Learning Standard:

Component : Standard :

1. Angles in Geometric Figures M.3.1

2. Circles M.2.1, M.2.2

3. Solid Figures and Nets M.3.2

4. Volume M.2.2

5. Pie Charts M.5.1

Indicators : (Write the details in items)

M.2.2.1. Solve problems involving volume of a solid made up of cubes and cuboids;

M.2.2.2. Find the volume of a liquid.

M.2.2.3. Differentiate between length, breadth, and height and calculate volume based on these

measurements.

M.2.1.1. Identify and name the different parts of a circle;

M.2.1.2. Express circumference and area of a circle, semicircle, and quadrant using the appropriate

formula;

M.2.1.3. Calculate the area and perimeter of a circle, semicircle, quadrant and four sided figure.

M.2.1.4. Compute multi – step problems related to the area and perimeter of a single figure comprised

of various smaller figures.

M.2.2.1. Solve problems involving area and perimeter of circles;

M.2.2.2. Dismantles multi – step problems to uncover a final answer.

M.3.1.1. Determine angles based on properties of angles on a straight line, angles at a point, and

vertically opposite angles;

M.3.1.2. Identify angles in triangles and four-sided figures;

M.3.1.3. Compute the angle measurements based on the properties of triangles and four-sided figures.

M.3.2.1. Visualize a prism and a pyramid from drawings;

M.3.2.2. Create cuboids, cylinders, cones, prisms and pyramids from nets of three- dimensional geometric

figures or two-dimensional geometric figures;

M.3.2.3. Identify the solid which can be formed by the given net;

M.3.2.4. Differentiate between various geometric figures.

M.5.1.1. Read and interpret data from pie charts and line graphs;

M.5.1.2. Solve 1-step problems using data in pie charts;

M.5.1.3. Draw comparative bar charts, line graphs, and pie charts.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators (Mid-term) Final

examination

Indicators

(Final examination)

Communication 10 marks all

30 marks

M.3.1 Angles in

Geometric Figures

M.3.2 Solid Figures

and Nets

M.5.1 Pie Charts

M.2.2 Volume

M.2.1, M.2.2 Circles

Authentic 20 marks M.3.2 Solid Figures and

Nets

M.5.1 Pie chart

Performance test 30 marks

- Performance 25

- FSGST 5

M.3.1 Angles in Geometric

Figures

M.2.1, M.2.2 Circles

Portfolio 10 marks M.2.1, M.2.2 Circles

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Topic / subject matter:

Topic Supply Type Selection Type

• Performance test

1. Angles in Geometric Figures

2. Circle

- Short answer

- Solve the problems

- Multiple Choice

• Listening test

1. Angles in Geometric Figures

2. Circle

- - Multiple Choice

• Foundation test

- Algebra

- Speed

- Ratio and Direct Proportion

- Percentage Angles in Geometric

Figures

- Circle

- Solid Figures and Nets

- Pie chart

- Factors and Multiples

- Multiple Choice

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter:

Topic Selection Type

1. Angles in Geometric Figures

2. Circles

3. Solid Figures and Nets

4. Pie Charts

5. Volume

- Multiple Choice

References :

Topic / subject matter:

1. My world of Math

2. Maths Textbook

3. Mathematics Problem Sums

Course Outline and Evaluation Assessment

Subject: Science I.E. Code: ว 16201

Instructors: Miss Areeya Saeng-un

Class Level: Primary 6 Secondary Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week. 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others..........................

Course Description:

According to Basic Education Curriculum, Science is a way of knowing, a process for knowledge and

understanding the natural world. The science curriculum emphasizes on understanding and practicing skills

to understand the principles and theories based on Science concept of Classification of materials, Energy

and Forces.

Sixth graders will experience hands-on, appreciate inquiry-based approach to science.

In addition to developing “scientific literacy” in concepts and skills, an important goal of the program is

to nurture the ability to think scientifically by practicing methods of scientific inquiry-posing questions,

formulate and test hypotheses, designing tests, making careful observations, recording data, report, then

analyzing and communicating results, evaluating findings and to provide skills for discovery and creation

in science and technology to develop the thinking process, imagination, ability to solve problems, data,

management, communication skills and ability to make decision.

In a focus on current science events will enhance the curriculum as well as show sixth grades

that science extends beyond the classroom and to be aware of relationships between science, technology,

humans and the environment in terms of influence and impact on one another.

To bestow the scientific mind, moral and ethical sense of responsibility and proper values so the science

and technology will be used constructively. Viewing Science as an integral part of life will be emphasized

through out the year.

Basic Standard of Learning:

Component : Standard :

Strand 3:

Substances and Properties of

Substances

Sub-Strand: Classification of

Materials

Standard Sc 3.1

Understanding of properties of substances; relationship between

properties of substances and structures and binding forces between

particles; investigative process for seeking knowledge and scientific mind;

and communicating acquired knowledge for useful purposes.

Strand 4: Forces and Motion

Sub-Strand: Force

Standard Sc 4.1

Understanding of the nature of electromagnetic, gravitational and

nuclear forces; investigative process of seeking knowledge and applying

acquired knowledge for useful and ethical purposes.

Strand 5: Energy

Sub-Strand: Energy

Standard Sc 5.1

Understanding of relationship between energy and life;

energy transformation; interrelationship between substances and energy;

effects of energy utilization on life and the environment; investigative

process for seeking knowledge; and communication of acquired knowledge

that could be applied for useful purposes.

Standard Sc 8.1

Application of scientific process and scientific mind in investigation

for seeking knowledge and problem-solving; knowing that most natural

phenomena assume definite patterns that are explainable and verifiable

within limitations of data and instruments available during particular periods

of time; and understanding that science, technology, society and the

environment are interrelated.

Indicators :

Sc3.1.1 Describe materials based on their properties;

Sc3.1.2 Identify and define the properties of materials;

Sc3.1.3 Compare and contrast properties of materials;

Sc3.1.4 Test the properties of materials;

Sc3.1.5 Classify materials based on properties;

Sc3.1.6 Identify uses of commonly used materials based on properties;

Sc4.1.1 Define force;

Sc4.1.2 Identify and describe the effects of a force;

Sc4.1.3 Demonstrate in which direction force should be applied to cause certain effects

Sc4.1.4 Relate the types of force to effects of force;

Sc4.1.5 Explain the different types of force;

Sc4.1.6 Recognize that objects have weight because of the gravitational force of the Earth on

them;

Sc4.1.7 Compute own weight on the moon with the knowledge that they would weigh less due

to the change in gravitational force;

Sc4.1.8 Recognize that when springs are stretched or compressed they exert a force on whatever

is stretching or compressing them;

Sc4.1.9 Construct a jack-in-the-box by applying their understanding of elastic spring force;

Sc4.1.10 Recognize that friction is the force that opposes motion;

Sc4.1.11 Recognize that magnets can exert a force of attraction and repulsion;

Sc4.1.12 Demonstrate the force of repulsion using magnets;

Sc4.1.13 Explain magnetic field;

Indicators :

Sc5.1.1 Define energy;

Sc5.1.2 Differentiate between renewable and non-renewable sources of energy;

Sc5.1.3 Demonstrate that most of our energy resources are indirectly derived from the Sun;

Sc5.1.4 Recognize and give examples of the various sources of energy;

Sc5.1.5 Identify the different forms of energy;

Sc5.1.6 Differentiate between potential and kinetic energy;

Sc5.1.7 Classify forms of energy into potential and kinetic;

Sc5.1.8 Demonstrate that energy can be converted from one form to another;

Sc5.1.9 Give examples of energy conversions;

Sc5.1.10 Recognize the benefits of using renewable energy sources.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination

Indicators

(Final

examination)

1.Communication 10 marks Sc3.1, Sc4.1, Sc5.1

30 Marks

Sc3.1,

Sc4.1,

Sc5.1

2.Authentic 20 marks Sc3.1, Sc4.1 , Sc5.1

3.Performance test 30 marks

- Writing test 20 marks

- Listenning test 5 marks

- FSG 5 marks

Sc5.1

4.Portfolio 10 marks Sc3.1, Sc4.1, Sc5.1

Total 100 marks

Details of Evaluation and Assessment

1. Communication 10 marks

Criteria:

- Participation (5) marks

- Responsibility (5) marks

2. Authentic Assessment 20 marks

Criteria:

- Dictation Test (5) marks

- Worksheets (5) marks

- Notebook (5) marks

- Paper test (5) marks

3. Performance Assessment 30 marks

Details:

- Writing Test (20) marks

- SG foundation Standard Test (5) marks

- Listening Test (5) marks

4. Portfolio 10 marks

Criteria:

- Completeness and punctual (5) marks

- Neat and creativity (5) marks

Final Examination

Details: (Multiple choice questions (30) marks

1. Classification of materials 2. Energy 3. Forces

References:

- Vandana Tirath, Dr Karan R Banerji, E Doris James, Sumitra Siromani, 2010. My Science

Companion. 1. Chennai.

- Mabel Cheong( 2006). Science Notes&questions. Reprinted 2007. Singapore. Koh Sok Sang.

(Reprinted 2006, 2007).Science Companion, Marshall Cavendish Education. Singapore.

- Koh Siew Luan, Teo-Gwan Wai Lan, Dr Kwa Siew Hwa(2004)Science My pals are here. Federal

Publications. Singapore.

- Anton Siromani, E Doris James, Vandana Tirath(2008).ICSE Science Science 6. Orient Longman

Private Limited. Delhi.

Course Outline and Evaluation Assessment

Subject: Social Studies I.E. Code: ส 16201

Instructors: Miss Kullawan Phatpukittikoon

Class Level: Primary 6 Secondary Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week. 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others..........................

Course Description :

The learning area of Social Studies, religion and culture focuses on coexistence in societies that are

interlinked and that have many differences, enabling the learners to adjust themselves to various

environmental contexts. They will thus become good, responsible citizens, are endowed with knowledge,

skills, morality and desirable values. The main strands prescribed are as follow :

History change : historical times and periods ; historical methodology ; development of mankind

from the past to the present; relationships and changes of various events; effects of important events in

the past; personalities that influenced various in the past ; historical development of the Thai nation;

culture and Thai wisdom; origins of important civilizations of the world.

Economics: production, distribution and consumption of goods and services; management of

limited resources available; lifestyle of equilibrium and application of the principles of Sufficiency Economy

in daily life

Have knowledge about their own provinces, regions and the country regarding history, physical

characteristics, societies, traditions and culture as well as politics, administration and economic situations,

with emphasis on Thai nationhood.

Can compare data and information about Thailand’s various provinces and regions with those of

neighboring countries; have developed sociological concepts regarding religion, morality, ethics, civics,

economics, history and geography, with a view to widening their experiences for understanding of the

eastern and western world regarding religion, morality, ethics, values, beliefs, customs, traditions, culture

and way of life; have developed concepts of organization of social order and social change from the past

to the present. However, the students of Saint Gabriel’s College should be including with SG. Values

(Characteristic) as the following :

1. Being loyal to the Country, Religion, King

2. Being honest

3. Being self-disciplined

4. Being inquisitive

5. Being self-sufficient

6. Devoting to work

7. Being Thai Patriotism

8. Being Public-mind

9. Being Free from Drugs

10. Loving and being proud of our institute

Contents : History

Unit 1 :Ways of Life in Thailand

Economics

Unit 1: Manufacturer and Consumer

Unit 2: Economic System and Economic Relationship

Unit 3: Earning income, Spending, Saving and Investing

Unit 4: Sufficiency Economy

Learning Standards and Indicators :

Strand Standard

Strand ___3___ : Economics

Sub-strand:

Unit 1 Manufacturer and Consumer

Unit 2 Economic System and

Economic Relationship

Standard So 3.1 : Understanding and capability of managing

resources for production and consumption; efficiency and

cost – effective utilization of limited resources available ; and

understanding principles of Sufficiency Economy for leading a

life of equilibrium

3.1.1 Explain the roles of responsible producers.

3.1.2 Explain the roles of sharp consumers.

3.1.3 Tell the methods and benefits of sustainable utilization

of resources.

Strand ___3___ : Economics

Sub-Strand :

Unit 3 Earning income, Spending,

Saving and Investing

Unit 4 Sufficiency Economy

Standard So 3.2 : Understanding of various economic systems

and institutions, economic relations and necessity for

economic cooperation in the world community

3.2.1Explain relationships between producers, consumers,

bank and the government.

3.2.2 Cite examples of economic grouping in the local area.

Strand 4 : History

Sub-Strand :

Unit 1 The Way of life in Thailand

Standard 4.1 : historical times and periods ; historical

methodology ; development of mankind from the past to the

present; relationships and changes of various events; effects

of important events in the past; personalities that influenced

various in the past ; historical development of the Thai nation;

culture and Thai wisdom; origins of important civilizations of

the world.

Indicators (Learning Outcomes):

1. Define what a manufacturer is and related terms

2. Identify the important roles of a manufacturer

3. Explain how a good manufacturer should be

4. Define consumers and related terms

5. Identify the differences between a good consumer and a bad consumer does

6. Explain what a wise consumer does

7. Define economic system and related terms

8. Distinguish between economic units- household units, business units and government units

9. Know and understand what economic relationship is

10. Define “saving” and related terms

11. Tell advantages of saving money

12. Make their own saving plan for the future

13. Know about His Majesty King Bhumibol’s ideas about the Theory of Sufficiency Economy

14. Recognize how Sufficiency Economy methods are practiced

15. Know how the Sufficiency Economy Philosophy is applied in organizations and stimulation

programs

Class Level Assessment and Evaluation

During the course Indicators Final

Examination

Indicators

1. Communication 10 marks

So. 3.1/1, 3.1/2, 3.1/3

30 marks

So 4.1/1 , 4.1/2

So 4.2/1, 4.2/2, 4.2/3

So 4.3/1 , 4.3/2 , 4.3/3 ,

4.3/4

So 3.1/1 , 3.1/2 , 3.1/3

2. Authentic 20 marks

So. 3.1/1, 3.1/2, 3.1/3

3. Performance Test 30 marks

- Listening 10 marks

- Writing 15 marks

- Foundation Test 5 marks

So. 3.1/1, 3.1/2, 3.1/3

4. Portfolio 10 marks

So. 3.1/1, 3.1/2, 3.1/3

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (…30… marks)

Topic / subject matter: Economic

Unit 1-4 of Economic

Unit 1-2 : Listening 5 marks

Unit 3-4 : Writing 20 marks

Foundation Test 5 marks

2. Final Examination (…30... marks)

Topic / subject matter: Unit 4 of Economic

Unit 1 of History

References :

- Textbook (History and Geography) Primary 6 of Saint Gabriel’s Foundation

- National Curriculum (The Office of Basic Education Curriculum, Ministry of Education)

Remarks : This course outline may be changed in any suitable case.

Course Outline and Evaluation Assessment

Subject: E.IE.2 Reading Code: E 16201

Instructors: Miss Hemmawan Talapatcharoenkit

Class Level: Primary 6 Secondary Semester 2 Academic year 2017

2 periods/week. 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others..........................

Course Description :

The function of this course will be to advance the students in their reading comprehension,

vocabulary and reasoning skills. This course will teach different types of reading skills – differentiating

facts and opinions, making sequence, and identifying organizational patterns of a paragraph such as cause

and effect and comparison and contrast. Moreover, the course will provide various types of reading

comprehension exercises, and students will have opportunity to read advertisement, news, weather

forecast, horoscope, graph and diagram, label, cartoon, brochure, etc. The various techniques will help

the students to improve all aspects of those skills that are necessary for reading. Their participation in

class should be checked on a frequent basis for reading aloud skills such as inflection, intonation, pacing

and pronunciation. These skills will further improve the speaking abilities of students in conversation and

allow them to be more fluent in English. Furthermore, the topics within the supplemental reading passage

will increase the students’ vocabulary and their ability to reason through problems, state opinions versus

facts, and express their own ideas or thoughts about the content of a passage.

By being able to use these skills and better express their own opinions based on the facts presented

in a passage, the students will be able to be more prepared for the secondary level in which they start to

write reports and use reading as a fundamental component for learning. These skills will allow students

the opportunity to prove themselves as young educated individuals who seek more knowledge for the

betterment of society.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 1 Language for Communication F1.1: Understanding of and capacity to interpret what had been heard and read from various types of media, and ability to express opinions with proper reasoning

F1.2: Endowment with language communication

Skills for exchange of data and information;

efficient expression of feelings and opinions.

F1.3: Ability to present data, information,

concepts and views about various matters

through speaking and writing.

Strand 2 : Language and Culture F2.1: Appreciation of the relationship between

language and culture of native speakers and capacity

for use of language appropriate to occasions and

places.

F2.2: Appreciation of similarities and differences

between language and culture of native and Thai

speakers, and capacity for accurate and appropriate

use of language.

Strand3: Language and Relationship with Other

Learning Areas

F3.1: Usage of foreign languages to link knowledge

with other learning areas, as foundation for further

development and to seek knowledge and widen

one's world view.

Strand 4 : Language and Relationship with

community and the World

F4.1: Ability to use foreign languages in various

situations in school, community and society.

F4.2: Usage of foreign languages as basic tools for

further education, livelihood and exchange of

learning with the world community.

Indicators :

F.1.1.1. Act in compliance with orders, requests and instructions heard and read.

F.1.1.2. Accurately read aloud texts, tales and short poems by observing the principles of reading.

F.1.1.3.Choose/specify the sentences or short texts corresponding to the meanings of symbols or signs

read.

F.1.1.4. Tell the main idea and answer questions from listening to and reading dialogues, simple tales

and stories.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators During the course Indicators

Communication 10 marks F1.1.1, F1.1.2, F1.1.3, F1.1.4

Final examination

30 marks

F1.1.1, F1.1.2,

F1.1.3, F1.1.4

Authentic 20 marks F1.1.1, F1.1.2, F1.1.3, F1.1.4

Performance test 25 marks

FSGST Test 5 marks F1.1.1, F1.1.2, F1.1.3, F1.1.4

Portfolio 10 marks F1.1.1, F1.1.2, F1.1.3, F1.1.4

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Test (25 marks) + FSGST Test (5 marks)

Topic / subject matter (Reading):

- Fact and Opinion

- Sequencing

- Organizational patterns of paragraph

• Cause and Effect

• Comparison and Contrast

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter:

- Reading Skills

- Reading Comprehension: Advertisement, Close, Poem, News, Weather Forecast,

Horoscope, Graph and Diagram, Labe, Cartoon, Brochure, Story, etc.

References:

- My World of English Primary 6 Textbook

- Value Education

- Other resources from internet

- Reading Aloud Book and CD

Remarks:

The lessons and activities can be flexible depended upon the circumstances. This course outline

may be changed in any suitable case.

Course Outline and Evaluation Assessment

Subject: Lab (Writing) Code: E 16201

Instructors: Miss Phitcha Socha

Class Level: Primary 6 Secondary Semester 2 Academic year 2017

1 periods/week. 20 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others..........................

Course Description :

Communication is vital in today's society. It is not enough to merely be able to speak and

understand spoken English. In Thailand, English language is unnecessary to talk to each others as much as

they usually speak local language. Most of them don’t realize how important English structure is.

So that this subject will develop practical writing skills, one must understand the basics of English

grammar and sentence structure. Learning essential vocabulary and continually expanding knowledge is

one of the best ways to succeed, both in personal and professional lives.

Learning how to write English may be difficult for many individuals, and takes much practice and

patience. Saint Gabriel’s college students as well as native English speakers who wish to improve their

writing skills need to have a basic understanding of grammar structure, tense usage, vocabulary, and how

to commit thought processes and ideas onto paper.

This basic writing course will help you improve your writing skills through lesson plans and

samples that explain many grammatical style rules and functions in easy-to-understand examples and

usage and also help students learn to write natural and clear sentences, as well as paragraph writing,

letter, e-mail and story. Increasing proficiency in clarity not only in the spoken but written language is an

important part of the basic human necessity known as communication.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 1: Grammar, Spelling and Punctuation F1.1: Correct grammar, punctuation and spelling

are key in written communications. The reader

will form an opinion of you, the author, based on

both the content and presentation, and errors are

likely to lead them to form a negative impression.

Strand 2: Writing improves communication skills

F2.1: First and foremost, writing provides a vehicle for expression and communication. No matter the age or grade level of students, diligent writing practice will boost both their skill and comfort level with revealing and relating their own thoughts and feelings. F2.2: Bridge the application of writing to support reading, speaking, listening, and content-area learning.

Strand 3: Writing to study F3.1: The act of writing helps students clarify their thoughts, remember things better, and reach their goals more surely. Writing will help students remember better than typing.

Indicators :

Students will:

- To understand how to write in variation methods.

- Be able to write paragraph writing, letter, e-mail and story.

- To know the structure of writing

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 5 marks Standard En.1 – 4

Indicators 1.1, 1.2, 1.3

Authentic 5 marks Standard En.1 – 4

Indicators 1.1, 1.2, 1.3

Portfolio 5 marks Standard En.1 – 4

Indicators 1.1, 1.2, 1.3

Total 15 marks

Assessment

1. Communication (5 marks)

- To ask some question on the content after that students present their communication skill.

- Monitor them when they do assignment in the class then review it.

2. Authentic Assessment (5 marks)

- To do activities and worksheets in each class.

- To analyze the writing structure from worksheet.

- Individual writing.

3. Portfolio (5 marks)

- Journal writing

Reference

- My world of English Primary 6

Course Outline and Evaluation Assessment

Subject: Lab (Listening) Code: E 16201

Instructors: Mr. Daniel Rimando

Class Level: Primary 6 Secondary Semester 2 Academic year 2017

1 periods/week. 20 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others..........................

Course Description :

This course is aimed to practice the students’ English in all skills: reading, writing, listening and

speaking in order to communicate effectively and confidently among their classmates, teachers, family

members and friends. This course is focused on speaking and listening. It will also give the students

some ideas to develop the skill of using language and the ability to learn more facts about people’s

daily living through different stories. Students are also able to read, write, speak and share their ideas

and opinions among their classmates.

The students will also be able to deliberate the meaning of words, sentences, phrases,

paragraphs, stories, notices, personal information, and follow directions. Understand topic sentences and

determine the main idea and supporting details of each story. It also improves students’ knowledge,

skills, abilities, pronunciation, vocabulary, and grammar. It inspires students to speak and pronounce the

words or sentences clearly and correctly. Moreover, students are able to create their worn summary,

draw conclusions, and answer the questions or give what is being asked after each lesson/unit by writing

and speaking the words, phrases, sentences and statements.

Additionally, the students partake in foreign language activities include the festivals and cultures.

They can choose and apply different technologies: skills in application of technologies processes for

development of oneself and society in regard to learning, communication, working and problem-solving

through constructive, proper, appropriate and responsibilities as Thai citizens as well as members of the

world community.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 1: Language for Communication F1.1: Understanding of and capacity to interpret what has been heard and read from various types of media, and ability to express opinions with proper reasoning. F1.2: Endowment with language communication skills for exchange of data and information; efficient expression of feeling and opinions. F1.3: Ability to present data, information, concepts and views about various matters through speaking and writing.

Strand 2: Language and Culture F2.1: Appreciation of the relationship between language and culture of native speakers and capacity in using language appropriately to occasions and places. F2.2: Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capability for accurate and appropriate use of language.

Strand 3: Language and Relationship with Other Learning Areas

F3.1: Usage of foreign languages to link knowledge with other learning areas, as foundation for further development and to seek knowledge and widen one’s world view.

Strand 4: Language and Relationship with Community and the World

F4.1: Ability to use foreign languages in various situations at school, community and society. F4.2: Usage of foreign languages as basic tools for further education, livelihood and exchange of learning with the world community.

Indicators : F1.1.2 Accurately read aloud texts, tales and short poems by observing the principles of reading.

F1.1.4 Tell the main idea and answer questions from listening to and reading dialogues, simple tales and

stories.

F1.2.3 Speak/write to express needs, ask for help and agree and refuse to give help in simple situations.

F1.2.4 Speak/write to express their own feelings about various matters around them and various

activities, as well as provide brief justifications.

F1.3.3 Speak/write to express opinions about various matters around them.

F2.1.1 Use words, tone of voice, gestures and manners politely and appropriately by observing the

social manners and culture of native speakers.

F4.1.1 Use words, tone of voice, gestures and manners politely and appropriately by observing the social

manners and culture of native speakers.

Give data

During the course

Indicators

Final examination

Indicators

Communication 5 marks F1.1.2, F1.1.4, F1.2.3, F1.2.4, F1.3.3, F2.1.1, F4.1.1

-

-

Authentic 5 marks Standard En.1 – 4 Indicators 1.1, 1.2, 1.3

Performance test 5 marks (Listening test)

Standard En.1 – 4 Indicators 1.1, 1.2, 1.3

Portfolio 5 marks Standard En.1 – 4 Indicators 1.1, 1.2, 1.3

Total 20 marks

Evaluation and Assessment

Assessment 1. Communication (5 marks) Assignment in classroom

2. Authentic Assessment (5 marks) Participation, activities and worksheets 3. Performance Test (5 marks) Listening test 4. Portfolio (5 marks) English activity

References:

My World of English Primary 6

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู หนาท่ีพลเมือง รหัส ส 16202

ครูผูสอน มาสเตอรโกวิทย ศักดิ์สมวาศ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี …..... ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ปฏิบัติตนและชักชวนผูอ่ืนใหมีมารยาทไทย ในเรื่องการแสดงความเคารพ การสนทนา การปฏิบัติตน ตามกาลเทศะ และการตอนรับผูมาเยือน มีสวนรวมและชักชวนผูอ่ืนใหอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีสวนรวม ในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาไทย ปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซ่ือสัตยสุจริต ตั้งใจ

ปฏิบัติหนาท่ี และยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเอง เห็นคุณคาและแนะนําผูอ่ืนใหแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ดวยการใชสินคาไทย ดูแลรักษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ และสาธารณสมบัติ ปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนท่ีดี ปฏิบัติตนตาม

พระราชจริยวัตรและพระจริยวัตร ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท ในเรื่องความใฝรู ความกตัญู หลักการทรงงาน ในเรื่ององครวมและทําใหงาย และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซ่ือสัตยสุจริต ขยันหม่ันเพียร อดทน ใฝหาความรู ตั้งใจปฏิบัติหนาท่ี และยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเอง

ปฏิบัติตนและแนะนําผูอ่ืนใหปฏิบัติตามขอตกลง กติกา กฎ ระเบียบของหองเรียนและโรงเรียน ในการใชและดูแลรักษาสิ่งของ เครื่องใช วัสดุอุปกรณ และสถานท่ีของสวนรวม เห็นคุณคาและปฏิบัติตนตามบทบาทหนาท่ีของการเปนสมาชิกท่ีดีของหองเรียนและโรงเรียน ดวยการเปนผูนําและการเปนสมาชิกท่ีดี การยึดถือประโยชนของสวนรวมเปนสําคัญ

การใชสิทธิและหนาท่ี การใชเสรีภาพอยางรับผิดชอบ มีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของหองเรียนและโรงเรียน ปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซ่ือสัตยสุจริต ขยันหม่ันเพียร อดทน ใฝหาความรู ตั้งใจปฏิบัติหนาท่ี และยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเอง

ยอมรับความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในประเทศไทย ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา และสิ่งแวดลอม อยูรวมกับผูอ่ืนอยางสันติและพ่ึงพากัน ในเรื่องการเคารพซ่ึงกันและกัน ไมแสดงกิริยา วาจาดูหม่ินผูอ่ืน ชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และแบงปน วิเคราะหปญหาความขัดแยงในประเทศไทย ในเรื่องการการละเมิดสิทธิ การรักษาสิ่งแวดลอม และเสนอ

แนวทางการแกปญหาโดยสันติวิธี ปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซ่ือสัตยสุจริต อดทน และยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเอง โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการกลุม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ และกระบวนการ

แกปญหา เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะท่ีดีของคนไทย ภาคภูมิใจและรักษาไวซ่ึงความเปนไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ดําเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย อยูรวมกับผู อ่ืนอยางสันติ สามารถจัดการ

ความขัดแยงดวยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด (จํานวนจุดเนน 3 จุดเนน)

สาระท่ี 3 เราเปนพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มาตรฐานตามคานิยม 12 ประการ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย 2. ซ่ือสัตย เสียสละ อดทน

4. ใฝหาความรู หม่ันศึกษาเลาเรียนท้ังทางตรงและทางออม 9. มีสติรูตัว รูคิด รูทํา รูปฏิบัติ 10. รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

11. มีความเขมแข็งท้ังรางกายและจิตใจ สาระท่ี 4 เรามีความปรองดอง สมานฉันท

มาตรฐานตามคานิยม 12 ประการ 3. กตัญูตอพอแม ผูปกครอง ครูบาอาจารย 4. ใฝหาความรู หม่ันศึกษาเลาเรียนท้ังทางตรงและทางออม 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจักการเคารพผูใหญ

12. คํานึงถึงผลประโยชนของสวนรวมและของชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง สาระท่ี 5 เราเปนคนดีมีวินัยในตนเอง

มาตรฐานตามคานิยม 12 ประการ 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย หวังดีตอผูอ่ืน เผื่อแผและแบงปน 11. มีความเขมแข็งท้ังรางกายและจิตใจ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.คานิยม ท่ี 1,4,9,10

20 คะแนน

มฐ.คานิยม ท่ี 1,2,3,4,6,7,

8,9,10,11,12

2.สภาพจริง 30 คะแนน มฐ.คานิยม ท่ี 1,4,9,10

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน มฐ.คานิยม ท่ี 6,8,11

5.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน มฐ.คานิยม ท่ี 4,9,10,11,

12

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

- ขอสอบแบบตัวเลือก จํานวน 30 ขอ 30 คะแนน 1. หนวยการเรียนรูท่ี 3 3. เอกสารการเรียนชุดท่ี 1–6 2. หนวยการเรียนรูท่ี 4

รายละเอียดการสอบ

- ขอสอบปรนัย (หนวยท่ี 3, 4, 5 และเอกสารการเรียนท้ังหมด) จํานวน 20 ขอ 20 คะแนน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสือวิชาหนาท่ีพลเมือง ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 สํานักพิมพ พว., วพ. และ อจท.

2. สอบปลายภาค 20 คะแนน

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาตางประเทศ (ภาษาจีน) รหัส จ 16401

ครูผูสอน มิสสิริวิมล เขมะธารากูล , Master Qin Yi

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี …..... ภาคเรียนท่ี 2/2560

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 14 คาบ/ภาคเรียน จํานวน - หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ....วชิาชมรม.....

คําอธิบายรายวิชา

นักเรียนไดฝกทักษะในการฟง พูด อาน เขียน ภาษาจีนระดับตน การเขียนตัวอักษรจีน คําศัพท โดยสอนวิธีการเขียน

และการพัฒนาอักษรเดี่ยวท่ีมาจากรูปภาพ ประวัติความเปนมาของอักษรจีน การฟงและปฏิบัติตามคําสั่งงาย ๆ ฟงเขาใจ

ความหมายของคําศัพทระดับตน มีความสนใจตอการศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมในดานภาษาจีน และสามารถใช ภาษาจีนกลาง

ในการติดตอสื่อสารไดในระดับข้ันตนได

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 5 ตัวช้ีวัด ) สาระท่ี 1. ภาษาเพ่ือการสื่อสาร

2. ภาษาและวัฒนธรรม

มาตรฐานท่ี

มฐ. ต.1.1 เขาใจและตีความเรื่องท่ีฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆและแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล

มฐ. ต.1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึกและความคิดเห็นอยาง

มีประสิทธิภาพ

มฐ. ต.1.3 นําเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตางๆโดยการพูดและการเขียน

มฐ. ต.2.1 เขาใจความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนําไปใชไดอยางเหมาะสมกับ

กาลเทศะ

มฐ. ต.2.2 เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของเจาของภาษา กับภาษาและ

วัฒนธรรมไทย และนํามาใชอยางถูกและเหมาะสม

ตัวช้ีวัด

1. ปฏิบัติตามคําขอรอง คําแนะนํา คําชี้แจง และคําอธิบายงายๆท่ีฟงและอาน

2. พูดและเขียนแสดงความตองการและใหความชวยเหลือ ตอบรับ ปฏิเสธ ในสถานการณตางๆ

3. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับกิจกรรมเรื่องใกลตัวและประสบการณ พรอมใหเหตุผลสั้นๆประกอบ

4. ใชภาษา น้ําเสียง และกิริยาทาทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของจีน

5. เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางชีวิตความเปนอยูวัฒนธรรมของจีนกับของไทย

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน 1,2,3,4 30 คะแนน 2,4,5

2.สภาพจริง …20… คะแนน 2,3,4

3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน 2,4,5

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน 2,4

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) …30…. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

บทท่ี 5 วันนี้อากาศเปนอยางไรถามเก่ียวกับพินอิน (สัทอักษรจีน) คําศัพทและบทสนทนาในบทเรียน เชน ถามเก่ียวกับคําศัพทสภาพอากาศตางๆหรือการเรียงประโยคบทสนทนาใหถูกตอง เปนตน บทท่ี 6 พอของเธอตัวสูงไหม ถามเก่ียวกับพินอิน (สัทอักษรจีน) คําศัพทและบทสนทนาในบทเรียน เชน ถามเก่ียวกับรูปราง

ลักษณะของคน หรือการเรียงประโยคบทสนทนาใหถูกตอง เปนตน บทท่ี 7 ครูหลี่คือทานใด ถามเก่ียวกับพินอิน (สัทอักษรจีน) คําศัพทและบทสนทนาในบทเรียน เชน การเรียงประโยคบทสนทนาใหถูกตอง การถามคําศัพทในบทเรียนโดยการเติมลําดับเขียนท่ีหายไปไดอยางสมบูรณ

รายละเอียดการสอบ บทท่ี 8 บานของคุณใหญไหม ถามเก่ียวกับพินอิน (สัทอักษรจีน) คําศัพทและบทสนทนาในบทเรียน เชน ถามเก่ียวกับลักษณะของบานและหองตางๆภายในบาน หรือการเรียงประโยคบทสนทนาใหถูกตอง เปนตน

บทท่ี 9 เธอเปนอะไรไป ถามเก่ียวกับพินอิน (สัทอักษรจีน) คําศัพทและบทสนทนาในบทเรียน เชน ถามเก่ียวกับอาการเจ็บปวยตางๆ หรือการเรียงประโยคบทสนทนาใหถูกตอง การถามคําศัพทในบทเรียนโดยการเติมลําดับเขียนท่ีหายไปไดอยางสมบูรณ เปนตน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- หนังสือเรียนภาษาจีน เลม 3 (中文新天地 第三册 )

- บัตรคําอานสัทอักษร

- สื่ออิเล็กทรอนิกสอ่ืน ๆ

- สื่อนวัตกรรม ภาพเคลื่อนไหว

2. สอบปลายภาค ……30……… คะแนน