Office Syndrome

1

Click here to load reader

description

โรคออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) หรือโรคคอมพิวเตอร์ซินโดรม (Computer Syndrome)

Transcript of Office Syndrome

Page 1: Office Syndrome

“สาระนารู” ฝายความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม สวนงานกลาง ประจาํเดอืนมีนาคม 2553

ลักษณะงานสวนใหญของพี่นองชาว สวทช. คือ งานออฟฟศ หนุม-สาวออฟฟศที่น่ังทํางานอยูหนาคอมพิวเตอรเปนเวลานานๆ น้ันมีปญหาเก่ียวกับสายตา และปวดเม่ือยบริเวณสวนบนของรางกายหรือไม? หากคุณกําลังรูสึกเชนน้ันอยู... คุณมีโอกาสที่จะเปน “โรคออฟฟศซินโดรม (Office Syndrome) หรือคอมพิวเตอรซินโดรม (Computer Syndrome)” เปนกลุมอาการที่พบบอยในคนทํางานในออฟฟศที่มีสภาพแวดลอมในที่ทํางานไมเหมาะสม ไมวาจะเปนการน่ังทํางานตลอดเวลา ไมมีการเคล่ือนไหวรางกาย มีความเครียดจากการทํางาน สภาพพ้ืนที่ทํางานไมเหมาะสม ส่ิงเหลาน้ีสงผลใหเกิดอาการกลามเน้ืออักเสบ และปวดเม่ือยตามอวัยวะตางๆ อาทิ หลัง ไหล บา แขน หรือขอมือ รวมทั้งทําใหสายตาพรามัว ตาแหงและระคายเคืองได เรามาศึกษาวิธีสรางภูมิคุมกันโรคคอมพิวเตอรซินโดรมพรอมกันเถอะครับ

9 วิธสีรางภมูิคุมกนัโรคออฟฟศซนิโดรม 1. ขณะพิมพคอมพิวเตอรตองใหขอศอกอยูระดบัเดียวกบัคยีบอรด เพ่ือใหสามารถกดคียบอรดไดอยางถนัดประกอบตัว

แปนคียบอรด และจัดใหมทีีร่องรบัขอมอืไมใหเกิดการกระดกขอมือซ้ําๆ 2. จอคอมพิวเตอรอยูหางจากสายตาประมาณ 2 ฟุต และหนาจอต่ํากวาระดับสายตา 15 องศา 3. อยาน่ังจองคอมพิวเตอรนานๆ ใหพกัสายตาทกุ 15 นาที ดวยการมองออกไปไกลๆ จะทําใหดวงตาไมเกิดอาการลา 4. เม่ือรูสึกเม่ือยตา ใหนวดคลึงเบาๆรอบดวงตาและควรบรหิารดวงตา เพ่ือคลายความตึงเครียด ดวยการกลอกตาไป

รอบๆ เปนวงกลม สัก 5-6 รอบ ใชน้ิวทั้ง 2 น้ิว แตะที่หัวตาแตละขาง คลึงเบาๆ 5. ควรปรับความสวางของหนาจอคอมพิวเตอรใหเหมาะสม ควรปรับสีของจอใหสบายตา 6. ควรเลือกใชตวัอกัษรสีเขมบนพื้นจอสอีอนจะทําใหสบายตา 7. ควรปดเครือ่งคอมพวิเตอรหรอืโนตบุคทกุครัง้ทีไ่มไดใชงาน เพ่ือลดระยะเวลา ในการรับคล่ืนแมเหล็กไฟฟา ซึ่งเปนสาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง และความเครียด 8. เลอืกเกาอีท้ีม่พีนกัพิงที่เหมาะสมกับผูน่ัง 9. ปลกูตนไมในรม เพ่ือชวยดูดซับสารพิษและเปนที่พักสายตาอันออนลา

แพทยเวชศาสตรฉุกเฉินแนะนําวา หากผูมีอาการทราบไดเร็ววาตนเองมีอาการคอมพิวเตอรซินโดรมใหรีบไปปรึกษาแพทยเพ่ือทําการรักษาและทํากายภาพบําบัด การยืดหยุนรางกายจะชวยใหอาการหายไวมากขึ้น อยางไรก็ตามอาการสามารถเกิดซ้ําไดหากไมยอมปรับเปล่ียนสไตล ซึ่งปลอยไวระยะยาวภัยเงียบน้ีอาจจะนําเราไปสูเตียงผาตัดเอ็นกระดูกได ทีม่า : www.thaihealth.or.th / www.vcharkarn.com

oäoäoo¿¿ �Èoo¿¿ �È«i¹o´ÃÁ«i¹o´ÃÁ ((OOffffiiccee SSyynnddrroommee))