Good Microbiology Practice...

29
Good Microbiology Practice Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อ และการจัดการขยะติดเชื้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การบริหารการจัดการความรูดานความปลอดภัย การบริหารการจัดการความรูดานความปลอดภัย ทางหองปฏิบัติการ ทางหองปฏิบัติการ หองประชุมใหญ กรมวิทยาศาสตรการแพทย นนทบุรี วันที19 มกราคม 2552 วัฒนพงศ วุทธา [email protected]

Transcript of Good Microbiology Practice...

Page 1: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

Good Microbiology PracticeGood Microbiology Practiceและการจัดการขยะติดเชื้อและการจัดการขยะติดเชื้อ

การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ““การบริหารการจัดการความรูดานความปลอดภัยการบริหารการจัดการความรูดานความปลอดภัย

ทางหองปฏิบัติการทางหองปฏิบัติการ””หองประชุมใหญ กรมวิทยาศาสตรการแพทย นนทบุรี

วันที ่19 มกราคม 2552 วัฒนพงศ วุทธา

[email protected]

Page 2: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 2

หลักเกณฑการปฏบิัติงานในหองปฏิบัติการ Good Microbiology Practice หรือ Good Microbiological Technique (GMT)

หรือเทคนิคทางจุลชีววิทยาที่ดี หองปฏิบัติการแตละแหงตองมีคูมือความปลอดภัยที่จําแนกหรือบงชี้อันตรายที่อาจเกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อลดหรือจํากัดอันตรายเหลานั้น และตองตระหนักเสมอวา เครื่องมือหรืออุปกรณเฉพาะทางตางๆ อาจถูกนํามาใชเสริมการปฏบิัติงานได แตเครื่องมือเหลานั้นไมสามารถแทนที่หลักปฏิบัติงานที่เหมาะสมได หลักเกณฑที่สําคญัเหลานี้ ไดแก

1. ทางเขา-ออก 2. การปองกันอันตรายสวนบุคคล 3. วิธีปฏิบัติงาน 4. พื้นที่ปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ 5. การจัดการดานความปลอดภัยทางชีวภาพ 6. การออกแบบหองปฏิบัติการและสิ่งอํานวยความสะดวก 7. เครื่องมือและอปุกรณในหองปฏิบัติการ 8. เครื่องมือที่จําเปนดานความปลอดภัยทางชีวภาพ 9. การจัดการของเสีย

Page 3: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 3

ขอควรปฏิบัติในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาขอควรปฏิบัติในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยา

• การเตรียมสถานที่

– แบงพื้นที่ปฏิบัติงาน แยกสวนตดิเชื้อออกจากสวนไมตดิเชื้อ– มีอางลางมือ อุปกรณในการลางมืออยางพอเพียง

แยกจากอางลางเครื่องมือ อุปกรณของหองปฏิบัตกิาร– กอกน้ําสําหรับลางมือ : คันโยก หรือปดเปดไดโดยไมใช

มือสัมผัส

– น้ําทิ้ง ผานระบบบําบัดน้าํเสีย ทําลายเชื้อ

Page 4: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 4

ขอควรปฏิบัติในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาขอควรปฏิบัติในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยา• การเตรียมเครื่องมือ

– เตรียมอุปกรณที่จําเปนใหพอพียงตอความตองการ

– จัดวางใหเปนระเบียบ สะดวกตอการใชงาน

– เตรียมอุปกรณปองกันและสวมใส (Personel protection

equipment, PPE) : หมวกคลุมผม ผาปดปาก/จมูก แวนตา

ผากันเปอน ถุงมือ เสื้อกาวน

– เตรียมน้ํายาฆาเชื้อ

– เตรียมถังขยะ แยกขยะตดิเชื้อ / ไมตดิเชื้อ

Page 5: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 5

Page 6: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 6

ขยะไมตดิเชื้อ

ขยะตดิเชื้อ

Page 7: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 7

การฝกอบรมการฝกอบรม การปฏิบัติงานจากเจาหนาที่อาจเกิดความผิดพลาดไดแมจะมีการปองกันที่ดีแลว จึง

จําเปนตองมีการฝกอบรมเพื่อใหพนักงานตื่นตัวเสมอ การฝกอบรมดานความปลอดภัยจึงควรเริ่มทําตั้งแตปฐมนิเทศรับพนักงานใหม โดยพนักงานใหมทุกคนตองอานและทําความเขาใจคูมือความปลอดภัย การฝกอบรมควรครอบคลมุเนื้อหาเกี่ยวกับขอมลูหรืออันตรายที่สามารถพบไดบอยๆ ขณะปฏิบัติงาน ไดแก 1. อันตรายจากการหายใจ เชน เมื่อเขี่ยเชื้อ ดูดปลอยของเหลว ปายเชื้อ เพาะเชื้อ ดูด

เลือดหรือ ซีรัม หรือการปนเหวี่ยง 2. อันตรายจากการกิน เมื่อตองทํางานกับเชื้อ ปายเชื้อ และเมื่อทําการเพาะเชื้อ 3. อันตรายจากการถูกเข็มฉีดยาทิ่มแทง 4. อันตรายจากการถูกแมลงสัตวกัดตอย 5. อันตรายจากการทํางานกับเลือดหรือวัตถุติดเชื้อ 6. การขจัดสิ่งปนเปอนวัสดุอุปกรณและการกําจัดวัสดุติดเชื้อ

Page 8: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 8

ขอปฏิบัติขณะปฏิบัติงานขอปฏิบัติขณะปฏิบัติงาน

ทางเขา-ออก 1. เครื่องหมายเตือนอันตรายทางชีวภาพจะตองถูกติดไวที่ประตูหองปฏิบตัิการที่มีการทดลองเชื้อในกลุมเสี่ยงที่ 2 ขึ้นไป

2. หองปฏิบัติการเปนเขตหวงหาม โดยอนุญาตการเขาออกใหแกเจาหนาที่ที่ไดรับอนุญาตเทานัน้

3. ประตูหองปฏิบัตกิารควรปดอยูเสมอ 4. หามเดก็เขาหองปฏิบัตกิาร

Page 9: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 9

Page 10: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 10

Page 11: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 11

ขอปฏิบัติขณะปฏิบัติงานขอปฏิบัติขณะปฏิบัติงาน• ใชอุปกรณปองกัน(PPE)ที่เหมาะสม ทุกครั้งขณะปฏิบัติงาน• ตองสวมอุปกรณปองกันกอนปฏบิัติงานและถอดออกหลังปฏิบัติงาน

• สวมถุงมือ เปลี่ยนทุกครั้งหลังเปอน ถงุมือขาด• ไมควรสวมถุงมือซ้ํา และแยกทิ้งถุงมือในถุง/ถุงขยะติดเชื้อ • หลังถอดถุงมือตองลางมือทุกครั้ง(น้ํายาฆาเชื้อ สบูและน้าํสะอาด)

• ผูที่ใสคอนเทคเลนซตองใสแวนตาปองกัน• หาม ดื่ม กิน สูบบุหรี่ ใชเครื่องสําอางในหองปฏิบัติงาน

Page 12: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 12

ขอปฏิบัติขณะปฏิบัติงานขอปฏิบัติขณะปฏิบัติงาน• ขณะสวมถุงมือ หามจับ ตา จมูก ฯลฯ หรืออุปกรณที่ไมเกี่ยวกับ

กิจกรรมที่ทําอยู

• หามใชปากดูดไปเปตในการดูดสารละลายทุกชนิด

• การปนตกตะกอน ตองปดฝาหลอดใหแนน• ประตูหองปฏิบัติงานควรปดอยูเสมอขณะปฏิบัติงาน และหามผูไม

เกีย่วของเขา-ออก

• หลังจากการทํางาน ทําความสะอาดโตะปฏิบัติงานดวยน้าํยาฆาเชื้อ

Page 13: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 13

ใสถุงมือขณะปฏิบัติงาน

Page 14: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 14

น้ํายาฆาเชื้อ ควรเลือกใชใหเหมาะกับงานที่ปฏิบัติ

Page 15: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 15

Page 16: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 16

ไมใสถุงมือจบั

ประตู โทรศัพท

Page 17: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 17

ขอปฏิบัติขณะปฏิบัติงานขอปฏิบัติขณะปฏิบัติงาน•สวมอุปกรณปองกันใบหนาตามความเหมาะสม

– ปฏิบัติงานทั่วไป สวมแวนตาธรรมดา (Eye glasses)

– หากเชื้อจุลชีพอาจกระเด็นไปสัมผัสใบหนา ควรสวมแวนตานิรภัย (Goggle) และสวมหมวกคลุมผม

– ปฏิบัตงิานเชื้ออันตรายสูง สวมหนากากปดหนา (Face shield)

•สวมอุปกรณปองกันทางเดนิหายใจตามความเหมาะสม–ปฏิบัติงานทั่วไป สวมหนากากผา (Surgical masks)

–ปฏิบัติงานเชื้ออันตรายสูงและติดตอทางระบบหายใจ สวมหนากากที่กรองเชื้อไดเชน N95

Page 18: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 18

Page 19: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 19

ขอปฏิบัติขณะปฏิบัติงานขอปฏิบัติขณะปฏิบัติงาน• สิ่งสงตรวจที่อาจแพรกระจายสูทางเดินหายใจ ตองทําในตู

ปราศจากเชื้อ (biosafety cabinet)

• หามสวมเครื่องประดับที่รุงรัง

• หามสวมเครื่องแตงกายที่รุมราม

• หามปลอยผมยาวหรือรุงรัง ตองรวบผมใหรัดกุมหรือสวมหมวกคลุมผม

• หามเลน หรือหยอกลอกันในขณะปฏิบัติงานในหองปฏิบัตกิาร

Page 20: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 20

Page 21: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 21

การกําจัดวัสดุติดเชือ้หกหลนการกําจัดวัสดุติดเชือ้หกหลนหองปฏิบตัิการตองจดัเตรียมชุดอุปกรณ (spill kit) ประกอบดวย1. น้ํายาฆาเชื่อที่เหมาะสมกับชนิดเชื้อในหองปฏิบัติการ

2. วัสดุซับหรือเช็ด ไดแก กระดาษ3. ภาชนะใสของสีย : ถุงใสขยะติดเชื้อ(ถุงแดง)

4. ภาชนะทิ้งของมีคม

5. อุปกรณปองกันตัว : เสื้อกาวน ถุงมือ อุปกรณปองกันหนาตา6. อุปกรณเก็บกวาด : ไมกวาด ที่ตักผง ปากคีบ

Page 22: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 22

SPILL KIT

Page 23: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 23

การจัดการและการทิ้งวัสดุปนเปอนและของเสียการจัดการและการทิ้งวัสดุปนเปอนและของเสีย หองปฏิบัติการทุกแหงควรมีระบบการจําแนกและการแบงขยะ

โดยจําแนกขยะไดดังนี ้1. ขยะไมปนเปอนหรือขยะไมติดเชื้อ อาจนํากลบัมาใชใหมหรือทิ้ง แลวแตกรณี

ไดแกขยะตามบานเรือนทั่วไป

2. วัสดุมีคมติดเชื้อ เชน เข็มฉีดยา มีดผาตัด ใบมีด แกวแตก วัสดุเหลานี้ตองทิ้ง

ในภาชนะที่เหมาะสม

3. วัสดุติดเชื้อสําหรับการนึ่งฆาเชื้อและลางเพื่อนํากลบัมาใชใหม

4. วัสดุติดเชื้อที่ตองนึ่งฆาเชื้อกอนนําไปทิ้ง

5. วัสดุติดเชื้อที่ตองเผาทําลาย

Page 24: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 24

การจัดการขยะตดิเชื้อการจัดการขยะตดิเชื้อ1.การคัดแยกขยะติดเชือ้ออกจากขยะไมตดิเชือ้

• มีภาชนะรองรับขยะติดเชื้อและไมติดเชื้อแยกออกจากกัน • บุคคลากรของหองปฏิบัติการตองทราบวิธีปฏิบัติและทิ้งขยะอยางถูกตอง

2.การหอเกบ็

• ขยะติดเชื้อบรรจุใสในถุงพลาสติกสีแดงที่กันรั่ว

• ขยะไมติดเชื้อบรรจุใสในถุงพลาสติกสีดํา

3.การติดฉลากภาชนะ

• ถุงหรือภาชนะรองรับขยะติดชื้อตองติดเครื่องหมายสัญญลักษณชีวสากลพรอม

ทั้งติดฉลากใหรูวาเปนขยะติดเชื้อ

Page 25: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 25

การจัดการขยะตดิเชื้อการจัดการขยะตดิเชื้อ4.การเก็บรวบรวม

หากไมสามารถบําบัดหรือทําลายไดทันที ตองเก็บรวบรวมไวในพื้นที่เฉพาะ ปองกันและควบคุมสัตวและแมลงกัดแทะ กําจัดการเขาออกบริเวณที่เกบ็ขยะติดเชื้อเฉพาะบุคคลที่เกี่ยวของ

5.การขนยาย

บรรจุถุงขยะติดเชื้อในภาชนะที่แข็งแรง ฝาปดสนิท6.การบําบัดขยะติดเชื้อ

วิธีที่เหมะสมคือการเผา และการนึ่งฆาเชื้อดวยไอน้ํา (autoclave)

Page 26: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 26

สะอาด

ของปนเปอน

แยก เครื่องนึ่งของสะอาด -ของติดเชื้อ

Page 27: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 27

Page 28: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 28

การจัดการขยะติดเชื้อการจัดการขยะติดเชื้อคําถามที่ควรถามทุกครั้งกอนที่กําจัดวัสดตุดิเชือ้

1. วัสดุนั้นๆไดรับการฆาหรือทําลายเชื้อดวยวิธีการที่เหมาะสมแลวหรือยัง

2. หากยังไมไดทําในขอ 1 วัสดุนั้นถูกบรรจุดวยวิธีการที่เหมาะสมเพื่อการเผาทําลายหรือเพื่อขนยายไปเผาที่อื่นแลวหรือยัง

3. โอกาสที่วัสดุนั้นๆ จะกอใหเกิดอันตรายแกบุคคลภายนอกหองปฏิบัติการที่อาจมาสัมผัสกับวัสดุนั้นโดยบังเอิญมีหรือไม

Page 29: Good Microbiology Practice และการจัดการขยะติดเชื้อnih.dmsc.moph.go.th/KM/safety19-01-09_1/Good_Microbiology_Practice.pdf · 19/01/52

19/01/52 วัฒนพงศ วุทธา 29

ขอปฏิบัติขอปฏิบัติขอปฏิบัติ

การกํากับดูแล• ผูเชี่ยวชาญดูแล

• กําหนดกฏในการเขาพื้นที่

• ควบคุมการเขาออก

• กําหนดขอปฏิบตัิ

• อบรมผูปฏิบัตงิาน

บุคลากรตอง…• ปฏิบัตติามระเบียบ อยางเครงครัด• ประเมนิความสามารถ กอนปฏิบัตกิาร• รายงานอุบตักิารณ

• ใหความรวมมอืในการตดิตามสุขภาพ