ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก...

18
สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด ภาคผนวก การเปรียบเทียบคาความเค็มกับคาความถวงจําเพาะ การเปรียบเทียบคาความเค็ม (ppt) กับคาความถวงจําเพาะ (S.G.) สามารถเปรียบเทียบไดจากตาราง เทียบคา (ตารางผนวกที1) หรือเปรียบเทียบจากกราฟ (TSD graph) (ภาพผนวกที1)โดยคาที่ไดจะขึ้นกับคา อุณหภูมิของน้ํา ตารางผนวกที1 เปรียบเทียบคาความเค็ม (ppt) กับคาความถวงจําเพาะ (S.G.) ชวงอุณหภูมิ 28.5-33 องศาเซลเซียส S.G. Temperature o C 28.5 29 29.5 30 30.5 31 31.5 32 32.5 33 0.998 0.7 0.8 1.1 1.2 1.5 1.6 1.9 2 2.3 2.4 0.999 2 2.3 2.4 2.5 2.8 2.9 3.2 3.4 3.6 3.8 1.000 3.4 3.6 3.7 4 4.1 4.4 4.5 4.8 4.9 5.1 1.001 4.8 4.9 5.1 5.1 5.4 5.5 5.8 5.9 6.2 6.4 1.002 6.1 6.3 6.4 6.6 6.8 7 7.2 7.5 7.6 7.9 1.003 7.4 7.6 7.7 8 8.1 8.4 8.5 8.8 9.1 9.2 1.004 8.8 8.9 9.2 9.3 9.6 9.7 10 10.1 10.4 10.5 1.005 10.1 10.2 10.5 10.6 10.9 11 11.3 11.5 11.7 11.9 1.006 11.4 11.7 11.8 12 12.2 12.4 12.6 12.8 13.1 13.2 1.007 12.8 13 13.1 13.4 13.6 13.7 14 14.1 14.4 14.7 1.008 14.1 14.3 14.5 14.7 14.9 15.2 15.3 15.6 15.7 16 1.009 15.4 15.7 15.8 16.1 16.2 16.5 16.6 16.9 17.1 17.3 1.010 16.7 17 17.1 17.4 17.5 17.8 18 18.2 18.4 18.7 1.011 18.2 18.3 18.6 18.7 19 19.1 19.3 19.6 19.7 20 1.012 19.5 19.6 19.9 20.1 20.3 20.5 20.6 20.9 21.2 21.3 1.013 20.8 21 21.2 21.4 21.6 21.8 22.1 22.2 22.5 22.7 1.014 22.2 22.3 22.6 22.7 23 23.1 23.4 23.6 23.8 24 1.015 23.5 23.6 23.9 24 24.3 24.6 24.7 24.9 25.2 25.3 1.016 24.8 25.1 25.2 25.5 25.6 25.9 26.1 26.3 26.5 26.8 1.017 26.1 26.4 26.5 26.8 27 27.2 27.4 27.7 27.8 28.1 1.018 27.6 27.7 27.9 28.1 28.3 28.5 28.7 29 29.2 29.4

Transcript of ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก...

Page 1: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

ภาคผนวก

การเปรียบเทียบคาความเค็มกับคาความถวงจําเพาะ การเปรียบเทยีบคาความเค็ม (ppt) กับคาความถวงจําเพาะ (S.G.) สามารถเปรียบเทียบไดจากตาราง

เทียบคา (ตารางผนวกที่ 1) หรือเปรียบเทียบจากกราฟ (TSD graph) (ภาพผนวกที่1)โดยคาที่ไดจะขึ้นกับคาอุณหภูมิของน้าํ

ตารางผนวกที่ 1 เปรยีบเทยีบคาความเค็ม (ppt) กบัคาความถวงจาํเพาะ (S.G.) ชวงอณุหภมูิ 28.5-33 องศาเซลเซยีส

S.G. Temperature oC

28.5 29 29.5 30 30.5 31 31.5 32 32.5 33

0.998 0.7 0.8 1.1 1.2 1.5 1.6 1.9 2 2.3 2.4 0.999 2 2.3 2.4 2.5 2.8 2.9 3.2 3.4 3.6 3.8 1.000 3.4 3.6 3.7 4 4.1 4.4 4.5 4.8 4.9 5.1 1.001 4.8 4.9 5.1 5.1 5.4 5.5 5.8 5.9 6.2 6.4 1.002 6.1 6.3 6.4 6.6 6.8 7 7.2 7.5 7.6 7.9 1.003 7.4 7.6 7.7 8 8.1 8.4 8.5 8.8 9.1 9.2 1.004 8.8 8.9 9.2 9.3 9.6 9.7 10 10.1 10.4 10.5 1.005 10.1 10.2 10.5 10.6 10.9 11 11.3 11.5 11.7 11.9 1.006 11.4 11.7 11.8 12 12.2 12.4 12.6 12.8 13.1 13.2 1.007 12.8 13 13.1 13.4 13.6 13.7 14 14.1 14.4 14.7 1.008 14.1 14.3 14.5 14.7 14.9 15.2 15.3 15.6 15.7 16 1.009 15.4 15.7 15.8 16.1 16.2 16.5 16.6 16.9 17.1 17.3 1.010 16.7 17 17.1 17.4 17.5 17.8 18 18.2 18.4 18.7 1.011 18.2 18.3 18.6 18.7 19 19.1 19.3 19.6 19.7 20 1.012 19.5 19.6 19.9 20.1 20.3 20.5 20.6 20.9 21.2 21.3 1.013 20.8 21 21.2 21.4 21.6 21.8 22.1 22.2 22.5 22.7 1.014 22.2 22.3 22.6 22.7 23 23.1 23.4 23.6 23.8 24 1.015 23.5 23.6 23.9 24 24.3 24.6 24.7 24.9 25.2 25.3 1.016 24.8 25.1 25.2 25.5 25.6 25.9 26.1 26.3 26.5 26.8 1.017 26.1 26.4 26.5 26.8 27 27.2 27.4 27.7 27.8 28.1 1.018 27.6 27.7 27.9 28.1 28.3 28.5 28.7 29 29.2 29.4

Page 2: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

ตารางผนวกที่ 1 (ตอ)

S.G. Temperature oC

28.5 29 29.5 30 30.5 31 31.5 32 32.5 33

1.019 28.9 29 29.2 29.5 29.6 29.9 30 30.3 30.6 30.8 1.020 30.2 30.4 30.6 30.8 30.9 31.2 31.5 31.6 31.9 32.1 1.021 31.5 31.7 32 32.1 32.4 32.5 32.8 33 33.3 33.4 1.022 32.9 33 33.3 33.4 33.7 33.9 34.1 34.3 34.6 34.8 1.023 34.2 34.5 34.6 34.8 35 35.2 35.5 35.6 35.9 36.2 1.024 35.5 35.8 35.9 36.2 36.4 36.5 36.8 37.1 37.2 37.5 1.025 36.8 37.1 37.2 37.5 37.7 37.8 38.1 38.4 38.6 38.8 1.026 38.2 38.4 38.6 38.8 39 39.3 39.4 39.7 39.9 40.2 1.027 39.5 39.8 39.9 40.2 40.3 40.6 40.8 41 41.2 41.5 1.028 40.8 41.1 41.2 41.5

ขอมูลจาก www.pisces-aqua.co.uk/aquatext/tables/hyd23-28.htm

ภาพผนวกที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบคาความเค็ม(ppt) กับคาความถวงจําเพาะที่อุณหภูมิตางๆ ขอมูลจาก www.biosbcc.net/ocean/marinesci/01intro/tomeas.htm

Page 3: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

การฟอกเปลือกไขอารทีเมีย

การฟอกเปลือกไข (Decapsulation of cysts) ดําเนินการกอนที่จะนําไขอารทีเมียไปเพาะฟก เพื่อนําไปเล้ียงสัตวน้ําโดยตรง หรือเตรียมเพื่อไวใชโดยเก็บในตูเย็น 0-4 องศาเซลเซียส ไดนานประมาณ 2-3 วัน (แตไมควรเกิน 1 สัปดาห)

สารฟอกเปลือกไข ใหใชสารละลายพวกไฮโปคลอไรด (hypochlorite) อยางหนึง่อยางใด คือ สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด (liquid bleaching NaOCL) หรือใชแคลเซียมไฮโปคลอไรด หรือ คลอร็อกซ (chlorox) คือ bleaching powder Ca(OCL)2 สําหรับแคลเซียมไฮโปคลอไรด บริษทัที่ผลิตขายจะระบเุปอรเซ็นต by weight activity ไวที่ฉลากอยางชัดเจน โดยทัว่ไปจะเปน 70 % by weight activity และสารละลาย NaOCL ตองใหม มีการเก็บรักษาอยางถูกวิธี เพื่อใหคา activity ไมเปลี่ยนแปลง โปแตสเซียมไฮโปคลอไรด (potassium hypochloride : KOCL) ก็สามารถใชเปนสารฟอกเปลือกไขไดเชนกนั (อนันต และคณะ, 2536) นอกจากนีก้อนการใชฟอกไขตองปรับ pH ของไฮโปคลอไรดใหมีความเปนดาง เพราะสารละลายนี้จะทําปฏิกริิยาไดดใีนสภาวะเปนดาง สารที่ใชในการปรับสภาพใหเปนดาง คือ โซเดียมไฮดรอกไซด (sodiumhydroxide : NaOH) หรือโซเดียมคารบอเนต (sodium carbonate : Na2CO3) หรือปูนขาว “แคลเซียมออกไซด” (calciumoxide : CaO) น้ําหนกัของสารฟอกเปลือกไขไฮโปคลอไรดที่ใชคือ NaOCL หรือ Ca(OCL)2 ตอปริมาตรสารละลายที่ใชฟอกเปลือกไขตอไขอารทีเมียแหง 1กรัม (1 กรัม cysts) ใชเทากันทั้งสองสาร คือใช NaOCL 0.5 กรัม/กรัม cysts สารละลายที่ใชฟอก 14 มิลลิลิตร/กรัม cysts หรือ Ca(OCL)2 0.5 กรัม/กรัม cysts สารละลายที่ใชฟอก 14 มิลลิลิตร/กรัม cysts แตสารทีต่องใสลงไปในไฮโปคลอไรดเพื่อเพิม่ระดบั pH ของสารละลายฟอกเปลือกไขใหมากกวา pH 10 นั้นตางกนั คือ

ถาใช NaOCL 0.15 กรัม ใหเติม NaOH (technical grade) 0.33 มิลลิลิตร ของสารละลายเขมขน 40 % ตอกรัม cysts

ถาใช Ca(OCL)2 0.15 กรัม ใหเติม Na2CO3 0.67 กรัม หรือเติม CaO 0.4 กรัม/กรัม cysts น้ําที่ใชเตรียมสารละลายฟอกเปลือกไขใหใชน้ําทะเลความเค็ม 35 ppt และตองใชน้ําแข็งเพื่อรักษา

ระดับอุณหภูมใิหอยูระหวาง 15-20 องศาเซลเซียส การเตรียม Ca(OCL)2 ซ่ึงเปนผงใหเปนสารละลายฟอกเปลือกไข ขอสําคัญคือ ตองละลายผง Ca(OCL)2 เสียกอนแลวจึงเติม CaO หรือ Na2CO3 คนใหเขากันประมาณ 10 นาที และใหอากาศอยางแรงเพื่อใหสารละลายแตกตวัและกระจายทั่วถึง เสร็จแลวหยุดการใหอากาศและนําสารละลายสวนที่ใสเทานั้นไปใช ขอมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับคุณภาพน้ํา

Page 4: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

1. คุณสมบัตนิ้าํทางฟสิกสและเคมี

ตารางผนวกที่ 2 คุณสมบัติทางฟสิกสและเคมีของน้ําจดื น้ําเค็มและน้ํากรอยที่ใชในการเพาะลูกกุงกามกราม

หัวขอ น้ําจืด (ppm) น้ําเค็ม (ppm) น้ํากรอย (ppm)

Chloride (CI)

Sodium (Na)

Potassium (K)

Calcium (Ca)

Magnesium (Mg)

Silicon (SiO2)

Lead (Pb)

Copper (Cu)

Zinc (Zn)

Manganese (Mn)

Iron (Fe)

Chromium (Cr)

Dissolved oxygen

Total hardness (as CaCO3)

Total dissolved solids

Ammonia (NH3-N)

Nitrite (NO2-N)

Nitrite (NO3-N)

Hydrogen sulphide (H2S)

pH

Temperature (°C)

40-223

28-101

2-42

12-24

10-27

41-53

0.02

0.02

0.2-0.4

<0.02

0.02

0.01

>4

120

217

-

-

-

-

6.5-8.5

-

19,000-19,657

5,950-10,500

399-525

390-451

1,250-1,343

3-14

0.03

0.03

0.03-4.6

0.4

0.05-0.15

0.005

>5

-

-

-

-

-

-

7.0-8.5

-

6,600-7,900

3,500-4,000

175-220

176-194

458-542

6-29

-

<0.06

>3

-

0.3

-

>5

2,325-2,713

-

<0.5

<0.1

<0.2

-

7.0-8.5

28-31

ขอมูล : New and Singhalka, 1985

2. การคํานวณหาคาปริมาณอันอิออนไนซแอมโมเนีย NH3

Page 5: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

ตารางผนวกที่ 3 แสดงเปอรเซ็นตของอันอิออนไนซแอมโมเนีย (NH3) ที่ผันตามคาความเปนกรดเปนดาง และอุณหภูม ิ

อุณหภูมิ pH

16 18 20 22 24 26 28 30 32 7.0 0.30 0.34 0.40 0.46 0.52 0.60 0.70 0.81 0.95 7.2 0.47 0.54 0.63 0.72 0.82 0.95 1.10 1.27 1.50 7.4 0.74 0.86 0.99 1.14 1.30 1.50 1.73 2.00 2.36 7.6 1.17 1.35 1.56 1.79 2.05 2.35 2.72 3.13 3.69 7.8 1.84 2.12 2.45 2.80 3.21 3.68 4.24 4.88 5.72 8.0 2.88 3.32 3.83 4.37 4.99 5.71 6.55 7.52 8.77 8.2 4.49 5.16 5.94 6.76 7.68 8.75 10.00 11.41 13.22 8.4 6.93 7.94 9.09 10.30 11.65 13.20 14.98 16.96 19.46 8.6 10.56 12.03 13.68 15.40 17.28 19.42 21.83 24.45 27.68 8.8 15.76 17.82 20.08 22.38 24.88 27.64 30.68 33.90 37.76 9.0 22.87 25.57 28.47 31.37 34.42 37.71 41.23 44.84 49.02 9.2 31.97 35.25 38.69 42.01 45.41 48.96 52.65 56.30 60.38 9.4 42.68 46.32 50.00 53.45 56.86 60.33 63.79 67.12 70.72 9.6 54.14 57.77 61.31 64.54 67.63 70.67 73.63 76.39 79.29 9.8 65.17 68.43 71.53 74.25 76.81 79.25 81.57 83.68 85.85 10.0 74.78 77.46 79.92 82.05 84.00 85.82 87.52 89.05 90.58 10.2 82.45 84.48 86.32 87.87 89.27 90.56 91.75 92.80 93.84

ท่ีมา : Boyd (1990)

จากตารางเมื่อทราบคาความเปนกรดเปนดาง อุณหภูมิ และคาแอมโมเนียรวม (NH4++ NH3) ของน้ํา

สามารถมาวิเคราะหหาคาอันอิออนไนซแอมโมเนีย (NH3) เชน น้ําตวัอยางมีคาความเปนกรดเปนดาง 8.6 วดัคาอุณหภูมิได 26 ํC และวิเคราะหแอมโมเนียท้ังหมดได 1.5 mg/l เมื่อเทียบจากตารางจะมีเปอรเซ็นตอันอิออนไนซแอมโมเนียเทากับ 19.42 % ดังนั้นมีวิธีคํานวณคือ คาปริมาณแอมโมเนียรวม (TAN) 100 mg/l จะมี NH3 = 19.42 mg/l 1.5 mg/l จะมี NH3 = (19.42 × 1.5)/100 = 0.29 mg/l NH3-N และในกรณีทีต่องการหาปรมิาณ NH3 ก็สามารถคํานวณได โดยนําคาปริมาณแอมโมเนีย (NH3-N) มาคูณดวย 17 แลวหารดวย 14 เนื่องจาก 17/14 คือ อัตราสวนของน้ําหนกั (Weight Ratio) ของ NH3 : N น้ําหนกัโมเลกุล (Atomic Weight) N=14, H=1 NH3 = (0.29 × 17) / 14 = 0.35 mg/l 3. คาความเปนพิษของแอมโมเนียและไนไตรท

Page 6: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

ตารางผนวกที่ 4 แสดงคาความเปนพิษของแอมโมเนียและไนไตรท ตอลูกกุงกามกรามวัยออน

ระยะลูกกุง สาร ความเขมขน(มิลลิกรัม/ลิตร )

ระยะ เวลา(ชม.)

หนวยความเปนพิษ

อุณหภูมิ

(°C) ความเค็ม

(ppt) พีเอช เอกสารอางอิง

ลูกกุงวัยออน ลูกกุงวัยออน อายุ 5 วัน อายุ 12 วัน อายุ 23 วัน ลูกกุงวัยออน

แอมโมเนีย(NH3+NH4

+)

แอมโมเนีย (NH3)

แอมโมเนีย (NH3)

แอมโมเนีย ( NH3) ไนไตรท ( NO2)

112.90

43.20

32.00

1.53

1.85

2.05

5.1-6.4

1.80

24

144

168

48

48

48

144

192

LC50∗∗

LC50∗∗∗

GR

LC50

LC50

LC50

LC50

GR

28.0

28.0

28.0

26-29

26-29

26-29

28.0

28.0

12

12

12

12

12

12

12

12

7.6

7.6

7.6

7.1-7.8

7.1-7.8

7.1-7.8

7.9

7.9

Armstrong et al. (1978)

Armstrong et al. (1978)

Armstrong et al. (1978)

จารุวรรณ

(2525) จารุวรรณ

(2525) จารุวรรณ

(2525) Armstrong et

al. (1976) Armstrong et

al. (1976)

หมายเหตุ : มิลลิกรัมแอมโมเนีย-ไนโตรเจน/ลิตร; มิลลิกรัมไนไตรท-ไนโตรเจน/ลิตร ∗∗ ความเขมขนที่ทําใหลูกกุงตาย 50 เปอรเซน็ตภายในระยะเวลาที่กําหนด ∗∗∗ ความเขมขนที่ทําใหอัตราการเจริญเติบโตลดลง

ตารางผนวกที่ 5 แสดงคาความเปนพิษเฉียบพลันของแอมโมเนียตอสัตวน้ําชนดิตางๆ

Page 7: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

ชนิด 24 hr LC50

48 hr LC50

96 hr LC 50

อางอิง หมายเหตุ

Channel Catfish 1.50 – 3.10 Ruffier et al. (1951)

Guppy fish 1.24 Ruffier et al. (1951)

Largemouth Bass 0.72 – 1.20 Ruffier et al. (1951)

Stripped Bass 1.10 Ruffier et al. (1951)

Bluegill 0.40 – 1.30 Ruffier et al. (1951)

Stickleback 0.72 – 0.84 Ruffier et al. (1951)

Cutthroat Trout 0.43 – 0.66 Ruffier et al. (1951)

Rainbow Trout 0.32 Ruffier et al. (1951)

Varous Species 0.5 – 3.8 Colt & Tchobanoglous (1976), Ball (1967)

Freshwater Fish 0.7 – 2.4 EIFAm (1973)

Common Carp Fry 2.1 Hasan and Macintosh (1986)

Common Carp Fry 2.1 Hasan and Macintosh (1986)

Common Carp Fry 2.0 (168hr LC50) Hasan and Macintosh (1986)

Fathead Minows 0.80 – 3.4 Thurston (1980)

Spotted Seatrout

- Egg 11.83 Daniels et al. (1987)

- Larvae 0.34 Daniels et al. (1987)

- 1-month Juvenile 1.68 Daniels et al. (1987)

- 4-month Juvenile 2.40 Daniels et al. (1987)

- 4-month Juvenile 2.09 Daniels et al. (1987)

M. rosenbergii 0.09 Colt and Armstrong (1979) ลดการเจริญเติบโต

Penaeid shrimp 0.45 Colt and Armstrong (1979) ลดการเจริญเติบโต

P. monodon post larva 5.71 Chin and Chen (1987)

P. monodon post larva 1.26 Chin and Chen (1987)

0.13 Chin and Chen (1987) ระดับที่ปลอดภัย

ตารางผนวกที่ 6 แสดงคาความเปนพิษเฉียบพลันของไนไตรทตอสัตวน้ําชนิดตางๆ

Page 8: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

ชนิด 24 hr LC 50 96 hr LC 50 เอกสารอางอิง หมายเหตุ Channel Catfish 1.0 Tomasso et al. (1979) เลือดน้ําตาล 21 %

Fingerling 2.5 Tomasso et al. (1979) เลือดน้ําตาล 60 %

5.0 Tomasso et al. (1979) เลือดน้ําตาล 77 %

Freshwater Fish 0.66 - 200 Colt and Armstrong (1979)

Freshwater Crustacean 8.5 – 15.4 Colt and Armstrong (1979)

M. rosenbergii 1.8 – 6.2 Colt and Armstrong (1979) ลดการเจริญเติบโต

P. monodon post larva 204 Colt and Armstrong (1979)

P. monodon post larva 45 Colt and Armstrong (1979)

P. monodon post larva 4.5 Colt and Armstrong (1979) ปลอดภัย

4. ปญหาที่เกิดจากความเปนดาง พีเอช และความกระดาง ของน้ําในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา

4.1 ปญหาที่เกิดความเปนดาง ปญหาทีเ่กดิจากความเปนดางของน้าํในการเพาะเลีย้งสัตวน้ํานัน้ มีสาเหตุมาจากระดับความเปนดางต่าํ

ซ่ึงอาจเกิดจากการที่น้ําในแหลงน้ําธรรมชาติที่นํามาเลี้ยงสัตวน้ํามีความเปนดางต่ํา หรือเกิดจากดนิที่ใชสรางบอเปนดินกรด จึงทําใหเกดิการทําลายความเปนดางโดยกรดที่ซึมออกมาจากดนิ ซ่ึงอาจทําใหเกิดปญหาดังนี ้

1. ทําใหระบบตานการเปลี่ยนแปลงพีเอชของน้ําออนแอ เกิดการเปลีย่นแปลงพีเอชของน้ําในรอบวันอยูในชวงกวาง และพีเอชตอนบายขึ้นสูงจนอาจเปนอันตรายตอสัตวน้ํา เนื่องจากบอเล้ียงสัตวน้ําสวนใหญมีแพลงคตอนพืชมาก มีการสังเคราะหแสงมากในชวงกลางวัน

2. ขาดแหลงใหคารบอนไดออกไซด ทําใหบอไมตอบสนองตอการใชปุย แพลงคตอนพชืไมขึ้น ทําใหอาหารธรรมชาติในบอมนีอย ผลผลิตต่ํา

3. ผลจากระบบตานพีเอชที่ออนแอ พีเอชที่เพิ่มขึ้นสูงมากในชวงบายจะทําใหแอมโมเนียเปนพิษตอสัตวน้ําสูง และพีเอชที่ลดลงมากในชวงเชามืดจะทําใหไฮโดรเจนซัลไฟดเปนพษิตอสัตวน้ําสูง

การปองกันแกไข 1. ถาสาเหตุของความเปนดางต่ํา เกิดเนื่องจากความเปนกรดของดินที่เกิดจาก exchange acidity

สามารถปองกันปญหาไดโดยการคํานวณความตองการปนูของดินและใสวัสดุปูน เพื่อทําลายความเปนกรดของดิน ซ่ึงจะทําใหความปนดางของน้ําถูกปรับขึ้นมาในระดับที่สูงกวา 20 มิลลิกรัม/ลิตร as CaCO3 ถาไมสะดวกในการวัดความตองการปูนของดิน อาจจะใชวิธีใสปูนลงไปในอัตรา 60 กก./ไร แลวตรวจวัดความเปนดาง ถายังไมถึง 20 มิลลิกรัม/ลิตร as CaCO3 ก็จะเพิ่มลงไปอีก 60 กก./ไร และตรวจวดัไปเรื่อยๆ

Page 9: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

2. ในกรณีที่ความเปนดางต่ําทีม่ีสาเหตุมาจากดินกรดจัด (acid sulfate soil) นอกจากจะตองใชวัสดุปูนเพื่อทําลายกรดปรับพีเอชดินในชวงตนแลว ในบอประเภทนี้ตองมีการใชวัสดุปูนเปนระยะ ๆ เพือ่เพิ่มความเปนดาง เพราะความเปนดางมักจะมแีนวโนมลดลง ถาจัดการบอไมดพีอ เพราะจะมีกรดซึมออกมาเรื่อย ๆ จึงตองมีการวิเคราะหความเปนดางเปนระยะ ๆ

3. ในการเลี้ยงสัตวน้ําบางประเภท เชนการเลี้ยงกุงทะเลทีต่องการระดับความเปนดางไมต่ํากวา 50-60 มิลลิกรัม/ลิตร as CaCO3 เพื่อชวยตานการเปลี่ยนแปลงพีเอช ในบางกรณีเชน ในบอที่เคยมกีารใชวัสดุปูนมากอยูแลว และบอดินเปนดินเปรี้ยว ความเปนดางจะถกูทําลายไปแตจะมีการสะสมแคลเซี่ยม และแมกนีเซียมอยูในน้ํา ประกอบกับพีเอชของน้ําทะเลที่คอนขางสูง จึงทําใหการใชวัสดุปูนเพือ่เพิ่มความเปนดางทําไดยาก เนื่องจากมีอัตราการละลายต่าํ ในกรณีนี้อาจใชโซเดียมไบคารบอเนต (NaHCO3) ในการเพิ่มความเปนดางของน้ํา เพราะสามารถละลายน้ําไดด ี

4.2 ปญหาเกี่ยวกับพีเอชของน้ําในการเพาะเลี้ยงสัตวน้าํ 1. ปญหาพีเอชของน้ําต่ํา ซ่ึงอาจอยูในระดบัที่ทําใหสัตวน้ําตาย หรือไมสามารถทําใหเกิดอาหาร

ธรรมชาติ หรือมีผลกระทบตอการเจริญเตบิโต สวนใหญจะเกดิจากปญหาความเปนกรดของดินทีใ่ชสรางบอซ่ึงจะทําใหน้ําเปนกรด

2. ปญหาพีเอชของน้ําสูงเกินไป โดยปกตทิี่พบเปนปญหามากคือ ในบอเล้ียงสัตวฯที่เล้ียงแบบหนาแนนใหอาหารในปริมาณที่มาก ทําใหแพลงคตอนพืชมาก พเีอชของน้ําจึงมักจะขึน้สูงมากในชวงบาย ในชวงที่มกีารสังเคราะหแสงสูงสุด ปญหานี้จะวิกฤตมากในบอที่มีความเปนดางและความกระดางของน้ําต่ํา

ปญหาพีเอชของน้ําสูงเกินไปที่พบในอีกกรณีหนึ่งคือ ในบอเล้ียงสัตวน้ําโดยเฉพาะอยางยิ่งบอเล้ียงกุงกุลาดําที่ใสวัสดุปูนมากเกินไปจนมปีูนสะสมอยูทีพ่ื้นบอมาก ในชวงฤดูฝนที่ความเคม็ของน้ําลดต่ํา ความสามารถในการละลายของปูนจะมากขึ้น ทําใหพเีอชของน้ําสูงผิดปกต ิ

3. ปญหาการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงของพีเอชในรอบวันกวางเกินไป สวนใหญจะพบในบอที่มีแพลงคตอนพืชมาก มสีารอินทรียมาก มีความเปนดางและความกระดางของน้าํตาง

การปองกันและแกไขปญหาเกี่ยวกับพีเอชของน้ํา 1. ปญหาพีเอชของน้ําต่ํา ทําไดโดยการเติมวัสดุปูนเพื่อทาํลายความเปนกรดในดิน และคอยปองกนั

ไมใหมกีารรั่วซึมหรือชะลางกรดจากคนัดนิลงไปในบออีก 2. ปญหาพีเอชทีสู่งเกินไป ในกรณีทีเ่กิดจาการสังเคราะหแสงของแพลงคตอนพืชก็ตองควบคุม

ปริมาณแพลงคตอนพืชอยาใหมีมากเกินไป และเพิ่มความเปนดางและความกระดางของน้ํา ซ่ึงถาไมสามารถใชปูนในการเพิ่มความเปนดางและความกระดางของน้ําไดอาจใชยิบซ่ัม และโซเดียมไบคารบอเนตแทน

3. การปองกันไมใหพีเอชของน้ําขึ้นลงมากเกินไป ปองกันแกไขเหมือนขอ 2 คือจาํกัดปริมาณแพลงคตอนพชื เพิ่มความเปนดาง และความกระดางของน้ํา และควบคุมปริมาณสารอินทรียในบอ อยาใหเหลือตกคางทาํใหเกิดการเนาสลายมาก

Page 10: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

4. พีเอชของน้ําที่สูงเกินไป โดยเฉพาะอยางยิ่งในน้ําที่ใชในบอเพาะฟกและอนุบาลอาจปรับลดลงไดโดยการใชกรดเกลือ หรือกรดกํามะถัน

4.3 ผลของพีเอชของน้ําตอคุณสมบัติอ่ืนของน้ํา เนื่องจากพีเอชของน้าํมีความสัมพันธทั้งทางตรงและทางออมกับคณุสมบตัิของน้าํอื่นๆ หลายประการ

การเปลี่ยนแปลงพีเอชของน้ําจึงมีผลใหคณุสมบัติหลายประการของน้าํเปลี่ยนแปลงไปดวย คือ 1. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอมโมเนียในน้ําเมื่อพีเอชเปลี่ยนแปลง แอมโมเนยีมีความเปนพษิ

มากขึ้น เมื่อพีเอชเพิ่มขึ้น เนือ่งจากแอมโมเนียจะเปลี่ยนไปอยูในรูป NH3 มากขึ้น 2. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของซัลไฟดในน้าํเมื่อพีเอชเปลี่ยนแปลง มีผลใหซัลไฟดมคีวามเปนพษิ

มากขึ้นเมื่อพีเอชลดลง เนื่องจากซัลไฟดจะเปลี่ยนไปอยูในรูป H2S มากขึ้น 3. ในสภาวะที่เปนกรดขบวนการไนตริฟเคชั่น (nitrification) จะชาลง และจะเกิดนอยมากที่พีเอชต่ํา

กวา 5.0 ที่พีเอชสูงกวา 8.0 การทํางานของ Nitrobacter ซ่ึงออกซิไดซใหเปนไนเตรท จะลดประสิทธิภาพลงทําใหเกิดการสะสมของไนไตรท

4. มีผลตอการละลายไดของโลหะหนกั ในน้ําที่ระดับพเีอชต่ําจะมีโลหะหนักละลายออกมามาก 5. มีผลตอการละลายไดของแคลเซียมคารบอเนตและแมกนเีซียมคารบอเนต โดยละลายไดดีที่พเีอชต่าํ 6. มีผลตอการละลายไดของฟอสฟอรัสในน้ํา เมื่อพีเอชสูงหรือต่ําเกินไป

4.4 ปญหาท่ีเกิดจากความกระดางของน้ําในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ปญหาที่เกิดจากความกระดางในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําอาจเกิดไดใน 2 กรณีคือ 1. ความกระดางต่ํา ปกติน้ําทีม่ีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติไมควรมีความกระดางต่ํากวา 20

มล.ก./ลิตร as CaCO3 และน้ําที่ใชเล้ียงสัตวน้ําในกลุมกุง ปู ไมควรมีความกระดางต่าํกวา 50 มล.ก./ลิตร as CaCO3 2. ความกระดางสูงผิดปกติ ซ่ึงสวนใหญจะมีปญหาในน้ําจืด ความกระดางที่สูงอาจมีสามเหตุมาจาก

น้ําจากแหลงน้าํที่มีความกระดางสูงตามธรรมชาติ หรือเกิดจากการผสมของน้ําเค็มในเขตที่อิทธิพลของน้ําเค็มขึ้นถึง นอกจากนี้ในบอที่เปนดินเปรีย้วทีม่ีการใชปูนเปนระยะเวลานาน และมีการถายเปลี่ยนน้ํานอย จะมกีารสะสมของแคลเซี่ยมและแมกนีเซียม ทาํใหความกระดางสูง ซ่ึงนอกจากจะมีผลตอสัตวน้ําบางชนิดแลวยงัจะทําใหประสิทธิภาพการใชปุยฟอสฟอรัสลดลง เพราะจะไปตกตะกอนฟอสฟอรัสออกจากน้ําในรูปแคลเซียมฟอสเฟต

การปองกันและแกไขปญหา 1. การแกปญหาน้ําที่มีความกระดางต่ํา สามารถทําไดโดยการเพิ่มความกระดางของน้าํ โดยการใส

วัสดุปูน อยางไรก็ตามในบางสภาวะที่วัสดปุูนอาจมีปญหาในการละลาย เชน ในสภาพน้ําที่มีพีเอชสูง ก็อาจใชสารเคมีชนิดอื่น เชน ยิบซ่ัม (CaSO4.2H2O) ซ่ึงมีความสามารถในการละลายน้ําไดดีกวา ในการเพิ่มความกระดางของน้าํ

Page 11: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

2. การแกไขปญหาเกี่ยวกับความกระดางที่สูงเกินไปในบอเล้ียงสัตวน้ํา อาจทําไดโดยการถายเปลี่ยนน้ํา และการควบคุมการใชวัสดุปูนใหเหมาะสมไมใชมากเกินไป การระวังไมใหมีการปนเปอนของน้ําเค็ม สําหรับน้ําที่มีความกระดางสูงตามธรรมชาตินั้นจะตองใชน้ําที่ความกระดางต่ํามาเจือจาง

5. การปรับปรงุคุณภาพน้ําโดยการใชสารเคมีและวิธีอ่ืนๆ

5.1 การใชดางทับทิม (potassium permanganate) ดางทับทิมเปนออกซิไดซิงเอเจนต (oxidizing agent) อยางแรง ซ่ึงสามารถทําปฏิกิริยากับสารอินทรีย

และสารรีดวิซอ่ืนๆ ที่อยูในน้าํ ในระหวางปฏิกิริยา MnO4- จะถูกรีดวิซใหกลายเปนแมงกานีสไดออกไซด (MnO2)

ปฏิกิริยาออกซิเดชันของดางทับทิมเกิดไดดีในน้าํธรรมชาติซ่ึงมีพีเอชเปนกลาง การเติมดางทบัทิมใหกับบอสัตวน้ํา มีประโยชนดังนี ้

- ฆาเชื้อโรคในน้ํา - ทําลายปรสิต (parasite) และรักษาโรคสัตวน้ํา - ควบคุมการเจริญติบโตของสาหรายเซลลเดียว - เพิ่มออกซิเจนใหน้ํา - ทําลายพิษของยาฆาแมลง - ทําลายสารรีดิวซอนินทรยีตางๆ

เนื่องจากดางทบัทิมมีอํานาจออกชไิดซซิงสูง จึงทาํปฏิกิริยากับสารรีดวิซตางๆ ในน้าํไดงาย คณุสมบัติขอนี้คลายกับความสามารถของคลอรีน การฆาเชื้อโรค (ซ่ึงมักเปนแบคทีเรีย) จะเกดิขึ้นก็ตอเมื่อดางทับทิมออกซิไดซสารรีดิวซตางๆ ในน้ําจนหมดแลว ดังนั้นการฆาเชื้อโรคในน้ําสะอาจจะสิ้นเปลืองดางทับทิมนอยกวาในน้ําสกปรกที่มีสารอินทรียและสารอื่น ๆ เชน เหล็กเฟรัส ( Fe2+) เปนตน

ดางทับทิมฆาเชื้อแบคทีเรียไดโดยทําปฏิกิริยาออกซิเดชันกับผิวนอกของเมมเบรนของเซลล ดางทับทิมเขมขน 4 มก./ล. สามารถทําลายแบคทีเรียแกรมลบได 100% และตองการใชความเขมขนสูงถึง 16 มก./ล. จึงจะทําลายแบคทีเรียแกรมบวกได 100% ถาน้ํามีสารอินทรียหรือรีดิวซ ตองใชดางทับทิมมากขึ้นจึงจะสามารถฆาแบคทีเรียไดทั้งหมด ดางทับทิมมีอํานาจในการฆาปรสิตและเชื้อโรคไดเปนอยางดี แตดางทับทิมมีปริมาณมากเกินไปก็เปนอันตรายตอสัตวน้ํา โดยเฉพาะเมื่อมกีารสัมผัสเปนระยะเวลานาน Tucker and Boyd (1977) พบวา การเติมดางทับทิมในปริมาณที่สูงกวา permanganate demand ไมเกิน 4 มก./ล. ไมเปนอันตรายตอสัตวน้ําชนิดตางๆ ดังนั้นในทางปฏิบัติ จะเติมดางทับทิมเขมขนไมเกิน 2 – 4 มก./ล. เพื่อรักษาสัตวน้ําที่เปนโรคในบอ ถาบอมีสาหรายเกดิหนาแนนหรอืน้ําสกปรก การเติมดางทับทิม 2 – 4 มก./ล. อาจไมไดผลในการฆาเชื้อโรค เนื่องจากดางทบัทิมจะทําปฏิกิริยากับสาหรายหรือสารอินทรียตางๆ และไมมีเหลือสําหรับฆาเชื้อโรค ในกรณีเชนนี้ ตองเตมิดางทับทิมจนมีดางทับทิมอิสระ 4 มก./ล. สําหรับใชัฆาเชื้อโรค (คลายๆ กับการใชัคลอรีนฆาเชื้อโรคในน้ํา)

Page 12: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

ปริมาณดางทบัทิมที่ตองการใชในการออกซิไดซสารอินทรีย และสารรีดิวซตางๆ ในน้ํา (ไมรวมแบคทีเรีย) เรียกวา “permanganate demand” สมมติวา permanganate demand เทากับ 12 มก./ล. จะตองเติมดางทับทิม 12+4=16 มก./ล. จึงจะมีผลในการฆาเชื้อโรคหรือรักษาโรคของสัตวน้ํา วิธีหาคา permanganate demand อาจทําไดโดยการทดลองเติมดางทับทิมปริมาณตาง ๆ เชน 0, 1, 3, 4, 5, 6, 8, 10, และ 12 มก./ล ใหกับน้ําตัวอยาง 1,000 มล. ในถวยแกว กวนน้ําใหดางทับทิมกระจายตัวและตั้งทิ้งไว 10 นาที ตวัอยางน้ําจะมีสีชมพูเขมขนมากนอยตามปริมาณดางทับทิมที่เติมลงไป ถามีปฏิกิริยาออกซิเดชัน MnO-

4 จะเปลี่ยนเปน MnO2 ทําใหสีชมพูหายไป ปริมาณดางทบัทิมที่มากที่สุด ในตวัอยางน้ําที่ไมมีสีชมพูจะเปนคา permanganate demand

เนื่องจากดางทบัทิมสามารถทาํลายสารอนิทรียและฆาแบคทีเรีย จงึมีผูใชดางทับทมิในการกําจดั COD ในน้ําของบอ นักวิจยัพบวา ดางทับทมิลด COD ไดเล็กนอย เชน ในการกําจดั COD 0.75 มก./ล. ตองใชดางทับทิม 1 มก./ล. นอกจากนีย้ังพบวาดางทบัทิมอาจเพิ่มจาํนวนแบคทเีรียในน้ําดวย เนือ่งจากดางทบัทิมประมาณ 2-8 มก./ล. สามารถทําลายแพลงคตอนไดดี ทําใหแบคทีเรียไดอาหารเพิ่มขึ้น ออกซิเจนที่เคยไดจากการสังเคราะหแสงก็จะไมมี และความตองการออกซิเจนของแบคทีเรียจะเพิ่มขึ้น ปญหาการขาดแคลนออกซิเจนของบอสัตวน้าํก็จะมีมากขึ้น

ดางทับทิมอาจเพิ่มออกซเิจนใหกับน้ําไดดวยปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส ดังนี้

4KMnO4 + 2H2O 4KOH + 4MnO2 + 3O2 - (9.1)

ในการเติมออกซิเจน 1 มก./ล. จะตองใชดางทับทิม 6.6 มก./ล. จึงเห็นไดวาดางทบัทิมไมควรใชในการเตมิออกซิเจนใหกบัน้ําในบอ เนื่องจากอาจตองใชดางทับทมิในปริมาณสูงมากจนถึงระดับทีเ่ปนอันตรายตอสัตวน้ํา ดางทับทิมทําปฏิกิริยากับไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) และเหล็กเฟอรัสได ดังนี้

3Fe(HCO3)+KMnO4+7H2O MnO2 + 3Fe(OH)3+KHCO3+5H2CO3 - (9.2) 3H2S + 4KMnO4 2K2SO4 + S + 3MnO + MnO2 + 3H2O - (9.3)

จากสมการเคมีขางตน ตองใชดางทับทิม 0.94 และ 6.2 มก./ล. ในการทําลายเหล็กเฟอรัสและไฮโดรเจนซัลไฟด 1 มก./ล. ตามลําดับ เนื่องจาก ออรโธฟอสเฟตสามารถดูดเกาะอยูบนผลึกของเฟริคไฮดรอกไซด จึงถูกกําจดัออกจากน้ําในระหวางการกําจดัเหล็กเฟอรัสดวย จึงสรุปไดวา การเติมดางทับทิมใหกับบอสัตวน้ําสามารถฆาหรือทําลายแบคทเีรียไดดี ลด BOD และ COD ไดบาง กําจดัสารรีดวิซ เชน เหล็ก ซัลไฟด เปนตน และเติมออกซเิจนเล็กนอยใหกับน้ํา นับไดวาการเติมดางทับทิมเปนวิธีปรับปรุงคุณภาพของบอแบบหนึ่งอยางไรก็ตามดางทับทิมมีขอเสีย คือ ทําลายแพลงคตอนหรือแอลจซ่ึีงเปนอาหารเบื้องตนของสัตวน้ํา และมีผลเสียตอการผลิตออกซิเจนในบอสัตวน้ํา นอกจากนีด้างทับทิมยังมีผลทางออมในการกําจดัออรโธฟอสเฟตออกจากน้ําดวย

ดางทับทิมยังมีประโยชนในการทําลายสารพิษที่ใชในการเบื่อปลาบางอยาง เชน โลติ๋น (rotenone) แอนตีไมซิน (antimycin) เปนตน ดางทับทิมประมาณ 2-2.5 มก./ล. สามารถทําลายพิษของโลติน๋ 0.05 มก./ล.

Page 13: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

ในบอหรือคลองได หรือดางทับทิมประมาณ 1 มก./ล. ใชทาํลายพษิของแอนตีไมซินที่เหลือจากการใชเบื่อปลา สวนการทําลายสารพิษของดางทับทิมในน้ํา อาจใชกรดแทนนิค หรือโซเดียมไธโอซัลเฟต โดยกรดแทนนิค 1 มก./ล. สามารถทําลายดางทับทิมได 1.5 มก./ล. สวนโซเดียมไธโอซัลเฟตปริมาณ 1 มก./ล. สามารถทําลายดางทับทิมได 1 มก./ล. เทากนั

5.2 การใชไฮโดรเจนเปอรออกไซด ไดมีความสนใจในการใชไฮโดรเจนเปอรออกไซดเพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ําในบอสัตวน้ํา เนื่องจาก

สามารถออกซิไดซสารอินทรีย และใหออกซิเจน (คลายกับดางทับทิม) ไฮโดรเจนเปอรออกไซดมีพิษ และเปนอันตราย แตเปนอันตรายตอสัตวน้ํานอยกวาดางทับทมิ เคยมีผูทดลองวาไฮโดรเจนเปอรออกไซด 48 มก./ล. ไมเปนอันตรายตอลูกปลาเทราท (trout) ภายใน 48 ชม. ไฮโดรเจนเปอรออกไซดใหออกซิเจนไดดงันี้

2H202 2H20 + 02 - (9.4)

ตองใชไฮโดรเจนเปอรออกไซด 2.1 มก./ล. จึงจะไดออกซิเจน 1 มก./ล. อยางไรก็ตามเนื่องจากไฮโดรเจนเปอรออกไซดมีราคาแพง จึงไมเปนที่นิยมใชกบับอสัตวน้ํา

5.3 การใชปนูขาว (calcium hydroxide) ปูนขาวเปนสารเคมีที่นิยมใชเติมในบอสัตวน้ําเปนอยางมาก เกษตรกรบางคนเชื่อวาปูนขาวสามารถ

ออกซิไดซสารอินทรียและกําจัด BOD และ COD ได จึงเติมปูนขาวใหกับบอสัตวน้ําที่มีปญหาเรื่องขาดแคลนออกซิเจน แทที่จริงแลว ปนูขาวไมมีประสิทธิภาพในการกําจัดสารอินทรียโดยตรงเลย แตถาเติมปนูขาวในปริมาณที่สูงมากพอจนทําใหพีเอชของน้ําสูงกวา 10.5 จะเกิดปฏิกริิยาโคแอกกูเลชัน (coagulation) ทําใหแพลงคตอนตกตะกอน ทําใหคา BOD และ COD ของบอสัตวน้ําลดลง นอกจากนีพ้เีอชสูงยังทําลายแบคทีเรียซ่ึงมีผลทําใหวดั BOD ไดต่ํา

ประโยชนทีแ่ทจริงของปูนขาว ไดแก ความสามารถในการทําลายคารบอนไดออกไซด บอสัตวน้ําที่มีออกซิเจนละลายน้ําต่ํามกัมีคารบอนไดออกไซดอยูมาก ควรกําจัดคารบอนไดออกไซดในบอสัตวน้ําที่มีคารบอนไดออกไซดสูงกวา 10-15 มก./ล. ทิ้ง เนื่องจากทําใหสัตวน้ําไมสามารถดูดซึมออกซิเจนเขาไปใชไดปูนขาวทําปฏิกิริยากับคารบอนไดออกไซดดังนี ้

Ca(OH)2 + 2CO2 Ca(H CO3)2 - (9.5)

สมการนี้แสดงวา ตองใชปนูขาว (100 %) 0.48 กรัม ในการทําลาย CO2 1 กรัม ถาเติมปูนขาวมากขึ้น จะเกิดการตกผลึกของหนิปูนดังนี ้

Ca(OH)2 + Ca(H CO3)2 Ca CO3 + 2 H20 - (9.6)

โดยปกต ิ จะตองใชปูนขาวมากกวาปริมาณที่คํานวณไดจากสมการเคมีเสมอ เนื่องจากการผสมปนูขาวในบอสัตวน้ําไมไดเกิดขึ้นอยางสมบูรณ บางสวนของปูนขาวตองสูญเปลาเนื่องจากตกตะกอนลงกนบอ

Page 14: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

โดยไมไดทําปฏิกิริยากับคารบอนไดออกไซด Hansel and Boyd (1980) แนะนําวาควรใชปูนขาว 1.68 เทาของปริมาณ CO2 ที่ตองการกําจดั ยกตวัอยางเชน ตองการกาํจัด CO2 10 มก./ล. ในบอสัตวน้ําควรเตมิปูนขาว 10 x 1.68 = 16.8 มก./ล. ปริมาณปูนขาวที่ใชในการกําจัด CO2 มักไมสูงมากพอที่จะเปนอันตรายตอสัตวน้ําหรือจุลินทรียในน้าํอ่ืน ๆ เนื่องจากพีเอชไมสูงกวา 8.4

ปูนขาวอาจถูกใชในการฆาปลาที่ไมตองการในบอที่มีการระบายน้ําสวนใหญทิ้งไปกอนแลว ปูนขาวประมาณ 200 – 500 มก./ล. ทําใหพีเอชของน้ําสูงกวา 11 ซ่ึงทําใหปลาตาย เกษตรกรบางคนเติมปูนขาวประมาณ 25 – 27 กก./เฮกตาร เพื่อแกปญหาเนื้อปลาที่มีกลิ่น วิธีนีถื้อวาเปนวิธีทีใ่ชไดผลมากทีสุ่ด แตก็ยังไมมีคําอธิบายวาทําไมจึงใชไดผล

5.4 การลดพีเอชในน้าํดวยสารเคมี ในระหวางการดํารงชีวิตพืชดึงคารบอนไดออกไซดไปจากน้ําเพื่อใชในการสังเคราะหแสง มีผลทํา

ใหพีเอชของน้าํมีคาสูงขึ้น อิออนไบคารบอเนตจึงถูกเปลี่ยนเปนคารบอเนต CO 32- และไฮดรอกไซด (OH- )

ตามลําดับ ถาในน้ํามแีคลเซียมพอเพยีง คารบอเนตที่เพิม่ขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง (ทําใหเกินคา Ksp ของ CaCO3) การตกผลึกของ CaCO3 จะเกดิขึ้น ทําให CO 3

2- ลดลง ดวยเหตุนี้พีเอชของน้ําในบอสัตวน้ําจึงไมสูงกวา 9.5 – 10 ในชวงกลางวนั (เมื่อการสังเคราะหแสงเกดิขึ้นในอัตราสูงสุด) แตในกรณีที่น้ํามแีคลเซียมต่ํา (calcium hardness นอยกวา total alkalinity มาก) อิออนสวนใหญจะเปน โซเดียม โปแตสเซียม หรือแมกนเีซียม คารบอเนต จะไมตกผลกึไดงายเนือ่งจากขาดแคลเซียม การแตกตวัของ CO 3

2- กลายเปน OH- จึงเกดิขึ้นไดดี กรณีเชนนี้พเีอชของบอสัตวน้าํอาจขึ้นสูงไดถึง 11 – 12 แหลงน้ําที่มีสภาพดาง (alkalinity) สูงมาก และมีแคลเซียมต่ํา จึงอาจมีปญหาเรื่องพีเอชสูงเกินไปในบอ ยกตัวอยางเชน ความเปนดาง 150 มก./ล. และแคลเซียม 12 มก./ล. (หนวย CaCO3 เหมือนกัน) สามารถทําใหบอสัตวน้ํามีพีเอชสูงถึง 12 หรือมากกวา ระดับพีเอชเชนนี้ทําใหสัตวน้ําตายได ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวาการขาดแคลนแคลเซียมอาจมีผลทําใหน้ําในบอมีพีเอชสูงผิดปกต ิ

วิธีลดพีเอชในบอ อาจทําไดโดยการเติมสารเคมีชนิดตางๆ เชน กรดกํามะถัน(H2SO4) สารสม(Al2(SO4)3-14H2O) แอมโมเนียมซัลเฟต ยิปซัม (gypsum หรือ CaSO4-2H2O) กรดกํามะถันหรือกรดเขมขนอ่ืนๆ สามารถลดพีเอชของน้ําโดยตรง แตเนื่องจากเปนกรดอนัตราย จึงไมนํามาใชกับบอสัตวน้ํา สารสมทําปฏิกิริยากับน้ํา (ไฮโดรไลซิล) แลวให H+ เกิดขึ้น สวนยิปซัมสามารถลดพีเอชไดโดยใหแคลเซียมกับน้ําพื่อใหเกิดผลึกของ CaCO3 ซ่ึงสามารถลดพีเอชเพราะมี OH- เกิดขึ้นนอยลง จากการทดลองในบอสัตวน้ําพบวายปิซัมใหผลดีที่สุดในการลดพีเอชของบอสัตวน้ําและแนะนําใหเตมิยปิซัมในปริมาณที่ทําใหปริมาณแคลเซียมมคีาเปน 2 เทา ของสภาพดางทั้งหมด และไดใหสูตรคํานวณไวดังนี ้

ปริมาณยิปซมัที่ใชในงานเกษตร, มก./ล. = (TA – CaH) x 4.3 - (9.7)

เมื่อ TA = Total Alkalinity, mg/l Ca CO3 CaH = Ca Hardness, mg/l Ca CO3 ยิปซัมที่ใชในการเกษตรควรมีความบริสุทธิ์ไมต่ํากวา 80%

Page 15: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

การใชแอมโมเนียมซัลเฟตลดพีเอชของบอสัตวน้ําเปนวิธีที่นิยมใชกันมาก แตเมื่อเติมปุยเคมีตวันี้ใหกับน้ํา จะมีแอมโมเนียอิสระ (NH3) เกิดขึ้นมากในระยะแรก ซ่ึงอาจเปนอันตรายตอสัตวน้ํา แอมโมเนียซัลเฟต จะให H+ กับน้ําก็ตอเมื่อเกดิปฏิกิริยาไนตริฟเคชัน ดังนั้นจะเหน็ไดวา การเติมปุยเคมีตัวนี้ไมไดแกตนเหตุที่ทาํใหพีเอชสูง (การขาดแคลนแคลเซียมเปนตนเหตุทีแ่ทจริง)

การใชยิปซัมเปนวิธีที่ปลอดภัยกวา และแกปญหาตรงจุดดวย ความเขมขนยิปซัมสูงถึงระดับอิ่มตวั คอื 2,000 มก./ล. ไมพบวามีผลเสียตอปลาหรือสัตวน้ําอ่ืนๆ

5.5 การควบคมุความขุนในน้ําโดยใชสารเคมี ความขุนของน้าํในบอที่เกดิจากอนุภาคดินเหนียว เปนความขุนเดียวกับทีเ่กิดในแมน้ําลําคลองทั่ว ๆ ไป

ความขุนเกิดขึ้นจากน้ําฝนที่ไหลมาตามพื้นดินและมาลงบอปลา เกษตรกรในสหรัฐอเมริกานิยมเติมสารอินทรียตางๆ เชน มูลสัตว วัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร เปนตน ลงไปในบอปลาเพื่อลดความขุนของน้ํา เชน เติมมลูสัตวเล้ียงในอตัรา 2,240 กก./เฮกตาร ทกุ 3 สัปดาห เปนเวลา 2-3 คร้ัง จึงจะสามารถลดความขุนของน้ําในบอ บางครั้งก็ไดผลบางครั้งก็ไมไดผล แตเกษตรกรก็ยังมีความเชื่อในวิธีพืน้บานดังกลาว

สารสมเปนสารเคมีที่สามารถใชไดดีที่สุดในการกําจัดความขุนของน้ําในบอ ในโรงกรองน้ําทั่วไปควรทดสอบหาปริมาณสารสมที่เหมาะสมกอนใช แตถาไมสะดวกที่จะทําการทดสอบกอน อาจทดลองเติมสารสมประมาณ 25 – 30 มก./ล. และหาทางกวนน้ําในบอ เชน ใชเครือ่งเติมอากาศหรือใชเรือยนตวิ่งวนเวยีนในบอ โดยใชเวลากวนไมต่ํากวา 10 นาที ถาปริมาณสารสมมากพอ ก็ควรจะเหน็ตะกอนเม็ดใหญและมีการตกตะกอนเกดิขึ้นภายใน 1 ชม.

เนื่องจากสารสมมีความเปนกรดอยูในตัว และสามารถทําลายสภาพดางได 0.5 มก./ล. ตอทุก 1 มก./ล. ของสารสม น้ําจึงตองมีสภาพดางพอเพยีงที่จะเอาชนะสภาพกรดของสารสมเพื่อมิใหพีเอชของน้ําลดต่ําเกินไป สารสมจะกําจดัความขุนไดดีที่สุดเมื่อน้ํามพีีเอช (ภายหลังเติมสารสมแลว) อยูในชวง 6 – 7 ในกรณีที่น้ําในบอมีสภาพดางต่ํา เชน ประมาณ 10 มก./ล. หรือนอยกวา จึงจําเปนตองเติมปูนขาว (ความบริสุทธิ์ประมาณ 80%) ประมาณ 0.5 มก./ล. ตอ มก./ล. ของสารสมที่ใชปูนขาว อาจเติมกอนหรือพรอมกับการเติมสารสม แตไมแนะนําใหผสมกันกอน สารสมไมจัดเปนสารอันตรายตอปลาและสัตวน้ํา โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อน้ํามีสภาพดางพอเพียง ปลาตางๆ สามารถทนตอสารสมในปริมาณที่ใชกําจดัความขุนของน้ํา โดยไมมีผลกระทบตอการเจริญเติบโต อันตรายที่อาจเกิดขึน้จากการเติมสารสมจะปรากฏเมื่อน้ํามีพีเอชต่ําถึง 4 ซ่ึงเปนระดับที่สารสมแตกตวัเปนอิออน Al+3 ปลาจึงเปนอันตราย เนื่องจากพีเอชต่ําและปริมาณโลหะหนักในน้ํา

การเติมปุยในบอ น้ําในบอควรมีสภาพดางไมนอยกวา 20 มก./ล. จึงจะไดผลดีที่สุด ดังนั้นการกําจัดความขุนในน้ําที่มีสภาพดางต่ํา (ความกระดางมักต่ําดวย) ควรมีการเติมปูนขาวเพื่อเพิม่สภาพดางใหกับบอกอน บอยครั้งที่ปูนขาวชวยลดความขุนของน้ําได ถาความขุนยังมีมากอยูจงึคอยเติมสารสมเพื่อชวยตกตะกอน

Page 16: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

5.6 การเพิ่มปริมาณเกลือแรใหกับน้ํา สัตวน้ําบางชนิดเจริญเติบโตไดดใีนน้ําทีม่ีสารละลายเกลือแรสูงกวาน้าํธรรมชาติทั่วไป จึงจําเปน

ตองมีการเติมสารเคมีบางอยาง เชน ยิปซัม (CaSO4 -2H2O), เกลือแกง (NaCl),CaCl2 เปนตน ยิปซัมทําใหน้ํามีปริมาณสารละลาย (TDS) ไดไมเกิน 1,500 – 2,000 มก./ล. เนื่องจากเกินความสามารถในการละลายน้ําของมัน แตเกลือแกงสามารถเพิ่มสารละลายใหกับน้ําไดสูงกวามาก สารประกอบทั้ง 2 ตัวนี้ไมทําปฏิกิริยากับดินกนบอ หรือสวนประกอบอื่น ๆ ของน้ํา จึงสามารถคํานวณหาปริมาณที่ตองการใชไดงาย ยกตวัอยางเชน ถาตองการเพิ่มสารละลายของน้ํา 500 ลบ.ม. ใหได 250 มก./ล. ตองเติมเกลือแกง 0.25 x 500 = 125 กก. การเพิ่มความกระดางใหกบัน้ําสามารถทําไดโดยเตมิยปิซัมที่ใชในการเกษตรซึ่งมีความบริสุทธิ์ประมาณ 80% และมแีคลเซยีม 18.6% แตละ 1 กก. ของยิปซัมจะเพิม่แคลเซียม 0.186 กก. หรือเพิ่มความกระดาง 0.47 กก. (ในเทอมของหินปนู) นั่นคือ ถาตองการเพิ่มความกระดางใหกับน้ํา 1 กก. จะตองใชยิปซัม 1/0.47 = 2.1 กก. ยิปซัมไมทําใหสภาพดางเพิ่มขึ้นเนือ่งจากมีแตซัลเฟต

คลอไรด (Cl- ) สามารถลดพิษของไนไตรตที่มีตอปลาได (Boyd, 1982) นักวิจยัพบวา ถาเติมคลอไรดในอัตราสวน Cl:NO-

2 = 16:1 จะสามารถทําลายพิษของไนไตรตที่มีตอปลาดุกไดทั้งหมดจงึแนะนําใหเตมิ NaCl 25 มก./ล. ตอทุก ๆ มก./ล. ของไนไตรตที่พบในน้ําของบอปลาดุก CaCl2 ก็อาจใชแทน NaCl ไดเชนกนั นักวจิัยบางคนพบวา CaCl2 ไดผลดีกวา NaCl ในการทําลายพิษของไนไตรต เนื่องจาก Ca ก็มีผลตอไนไตรตเชนเดยีวกับ Cl-

5.7 การถายเทน้ํา วิธีการปรับปรุงคุณภาพน้ําของบอที่ใชไดผลเสมอ คือการระบายน้ําเกาทิ้ง และเติมน้ําใหมที่สะอาด

แทนที่ การถายเทน้ําจึงเปนการแกปญหาน้ําสกปรก น้ํามีพิษ (พีเอชสูงหรือต่ํา, ไนไตรต, แอมโมเนีย) และอื่นๆ

5.8 การกําจัดคลอรีนในน้ํา บางครั้งเกษตรกรใชคลอรีนเพื่อทําใหสัตวน้ําปลอดโรคกอนปลอยลงบอ คลอรีนที่ตกคางในน้ํา

สามารถกําจัดไดโดยใชโซเดียมไธโอซัลเฟต

Cl2 + 2Na2 S2O3- 5H20 Na2 S4O6+ 2NaCl + 1H20 - (9.8)

ในการทําลายแตละ 1 มก./ล. ของคลอรีน ตองใชโซเดียมไธโอซัลเฟต 7 มก./ล. โซเดียมไธโอซัลเฟต สูงถึง 180 มก./ล. ที่อุณหภมูิ 22 C ไมเปนอันตรายตอปลาหลายชนดิที่นํามาทดสอบ เนื่องจากคลอรีนตกคางในบอปลามักไมสูงเกิน 2 มก./ล. จึงตองการโซเดียมไธโอซัลเฟตไมเกนิ 14 มก./ล. อันตรายของสารเคมีตัวนี้จึงไมนาเกิดขึน้ในบอปลา

Page 17: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

5.9 การใชโลติน๋ (rotenone) โลติ๋นมักใชเปนยาเบื่อปลากนัอยางกวางขวางทั้งในแหลงน้ําธรรมชาติและในบอเล้ียง เกษตรกรใช

โลติ๋นในการฆาปลาที่หลงอยูในบอเล้ียงกอนการปลอยลูกปลารุนใหม โลติ๋น หรือ Rotenone เปนสารอินทรียที่ซับซอน (C23H22O6) ที่พบอยูในรากของพืชตระกูล Derris Elliptica และ Lonchocarpus รวมทั้งพืชตระกลู Leguminous รากของพืชดังกลาวอาจนํามาตากใหแหงและบดใหเปนผง หรืออาจนํามาสกัดและเตรียมใหเปนของเหลวเขมขนประมาณ 2.5% และ 5% หรือแบบผงเขมขน 5%

โลติ๋นทําใหปลาหายใจไมออกและลอยคอขึ้นผิวน้ํา ปริมาณเพียงเล็กนอยก็เปนอันตรายตอปลา เชน เมื่อใชประมาณ 0.01 – 0.1 มก./ล. สามารถฆาปลาไดทั้งบอ อุณหภูมิสูงจะทําใหโลติน๋มีพิษรุนแรงกวาอุณหภูมิต่ํา คุณภาพทางเคมีของน้ําก็มีผลกระทบตออํานาจพิษโลติน๋ เชน โลติ๋นมีพิษตอปลาในน้ําที่เปนกรด และเปนกลางมากกวาน้ําที่เปนดาง นอกจากนี้น้ํากระดางทําใหเปลืองโลติ๋นมากกวาน้ําออน เปนตน การเติมโลติ๋นมีหลายวิธีคลายการกับเตมิสารเคมีอ่ืนๆ ใหกับบอปลา จําเปนตองมีการกวนน้ําเพื่อใหสารเคมกีระจายและผสมกับน้าํอยางทั่วถึงสลายตวัตามธรรมชาตกิลายเปนสารปลอดพิษไดคอนขางงาย โดยเฉพาะอยางยิ่งเมือ่มีอุณหภมูิหรือแดดจดั การปรับพีเอชใหสูงขึ้นก็ชวยทําใหโลติ๋นสลายตัวไดเร็วข้ึน ในฤดูรอนโลติ๋นจะหมดพิษไดภาย 1 – 2 สัปดาห แตในฤดหูนาวการสลายตัวของพิษตองใชเวลานานขึ้น โลติ๋นเปนพิษอยางมากตอสัตวน้ําขนาดเล็กที่เปนอาหารของปลา แตถาหมดพษิของโลติ๋น สัตวน้ําเหลานั้นก็ฟนตวั และกลับมาใหมไดอยางรวดเรว็

5.10 การใชฟอรมาลิน ฟอรมาลินเปนสารเคมีที่ไมเปนพิษตอปลาแตสามารถฆาฟงไจ (Fungi) และปรสิตของปลา จึงนิยมใช

ในการปองกันไขปลาจากฟงไจและปรสิต ความเขมขนของฟอรมาลินที่ใชขึ้นอยูกับเวลาสัมผัสระหวางสารเคมี และปลาหรือไขปลา ยกตัวอยางเชน ความเขมขน 1 – 2 มล./ลิตร (1.1 – 2.2 กรัม/ลิตร) ตองการเวลาสัมผัส 15 นาที สวนความเขมขน 0.17 – 0.25 มล./ลิตร (180 – 280 มก./ลิตร) ตองการเวลาสัมผัส 60 นาที

ถาตองการเติมฟอรมาลนิใหกับบอปลา สามารถใชฟอรมาลินเขมขนไดประมาณ 15 – 25ไมโครลิตร/ลิตร (16 – 28 มก./ล.) นอกจากนี้ ส่ิงที่ตองระวัง คือ ฟอรมาลินเปนพิษรุนแรงตอแพลงคตอน ความเขมขนประมาณ 15 มก./ล. สามารถทําลายแพลงคตอนที่ขึ้นหนาแนนในบอได

5.11 วิธีการเติมสารเคมี สารเคมีที่ใชกับบอปลามีหลายสถานะ เชน ผลึก สารละลาย ผง เกร็ด ของเหลวขึ้น เปนตน วิธีการ

เติมก็มีหลายวธีิขึ้นอยูกับสถานะของสารเคมี ขนาดของบอ และความสามารถของผูใช อาจเทสารเคมีโดยตรงลงไปในบอ หรือถังน้ํา หรืออาจเตรยีมใหเปนสารละลายกอนโดยนาํมาเจือจาง หรือละลายกับน้าํสะอาด จากนัน้จึงสาดหรือโปรยหรือฉีดดวยอุปกรณชนิดตางๆ ทั้งแบบงายและแบบยาก การใชเรือจะชวยทําใหสามารถเติมสารเคมีไดอยางทั่วถึง ถาเปนเรือยนตก็ยิง่ดีเพราะจะชวยกวนน้ําไปดวยในตวัเกษตรกรสามารถคิดคนวิธีเติมสารเคมีใหเหมาะสมกับความสะดวกของตนเอง โดยยดึหลัก 2 ขอคือ เติมใหทัว่ และกวนน้ําใหดีที่สุด

Page 18: ภาคผนวก - Fisheries · ภาคผนวก การเปรียบเทียบค าความเค็ัมก าความถ บค ําเพาะวงจ

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด

6. การหาปริมาณความตองการปูนของบอเล้ียงสัตวน้ํา

6.1 การเตรียมตัวอยางดิน นําตัวอยางดินเลนกนบอเล้ียงปลามาวางแผกระจายบนแผนพลาสติก และทิ้งใหแหงในอุณหภูมิหอง

นําตัวอยางดินที่แหงแลวมาบดดวยครกเบาๆ ใหดินแตกตัว และรอนผานตะแกรงเบอร 20 (ชองหาง 0.85 มม.) และเก็บตัวอยางดินที่ผานตะแกรงมาทดสอบ จดบันทึกน้ําหนักของดินที่ผานตะแกรงและคิดเปนน้ําหนักรอยละไวดวย ปริมาณปูนไลมที่ใชจะคิดจาก % ของดินที่รอนผานตะแกรงดวย แตโดยปกติแลวมกัไมจําเปนตองคิดถึงเรื่องนี้ นอกจากจะมีกรวดหนิจํานวนมากอยูในตัวอยางดิน

6.2 วิธีเตรียมสารละลายบัฟเฟอร ละลายพาราไนโตรฟนอล 20 กรัม กรดบอรคิ 15 กรัม โปแตสเซยีมคลอไรด 74 กรัม และโปแตสเซยีม

ไฮดรอกไซด 10.5 กรัม ในน้ํากลั่น และทําใหเจือจางเปน 1,000 มล. ในขวดตวง สารละลายบัฟเฟอรตองมีพีเอชเทากับ 8.0 เมือ่ผสมกับน้ํากลั่นดวยปริมาตรเทากัน

6.3 วิธีวัดพีเอชและพีเอชบฟัเฟอรของน้ําโคลน (mud pH) นําดนิตวัอยางที่แหงสนิทและรอนผานตะแกรงเบอร 20 แลวปริมาณ 20.0 กรัม และเติมน้ํากล่ัน 20 มล.

คนใหเขากันนาน 1 ช่ัวโมง (คนเปนครั้งคราวก็พอ) วดัพีเอชของน้ําโคลน คาที่ไดคือ mud pH ในน้าํกลั่น จากตัวอยางดนิที่ผานการวดั mud pH แลวนํามาเติมสารละลายบัฟเฟอร 20 มล. คนใหเขากันนาน

20 นาที จากนั้นจึงใชวัดพีเอชของน้ําโคลนที่เติมบัฟเฟอรแลว คาพีเอชที่ไดคือพีเอชบัฟเฟอรของน้ําโคลน ถาวัดพีเอชไดต่ํากวา 7 ใหทําใหม โดยลดขนาดดินตัวอยางใหเหลือ 10 กรัม ทั้งนี้เพื่อใหคาพีเอชสูงกวา 7