ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf ·...

26

Transcript of ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf ·...

Page 1: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป
Page 2: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

ความตกลงการค้าเสรี ไทย-สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

Thailand-EFTA Free Trade Agreement : TEFTA

FACT BOOK

Page 3: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

TEFTA

ข้อมูลทั่วไป

สมาคมการค้าเสรียุโรป หรือ EFTA (European Free Trade Association) จัดตั้งขึ้นในปี 2503 (ค.ศ.1960) โดย Stockholm Convention โดยมีจุดประสงค์หลัก คือ เปดิเสรทีางการคา้ (แตไ่มเ่ปน็ Customs Union) ประกอบดว้ย สมาชกิทีเ่ลก็แตม่ัง่คัง่ 4 ประเทศ ได้แก่ ไอซ์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ และลิกเตนสไตน์ มีประชากรรวมกันประมาณ 12.4 ล้านคน ปี 2550 (ค.ศ.2007) EFTA มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศประมาณ 817 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวประมาณ 63,836 ดอลลาร์สหรฐัฯ ตอ่ปนีบัวา่สงูทีส่ดุในโลก มอีตัราการขยายตวัทางเศรษฐกจิเฉลีย่รอ้ยละ 1.9 จดัเปน็ กลุ่มประเทศที่มีอำนาจซื้อสูง ซึ่ง World Economic Forum Global Competitiveness Report ปี 2551/2552 (ค.ศ.2008/2009) (WEF) ได้จัดให้ EFTA เป็นกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพทางการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงอันดับที่ 13 ของโลก นอกจากนี้ EFTA มีความชำนาญในการผลติอตุสาหกรรมหนกัและอตุสาหกรรมทีใ่ชเ้ทคโนโลยชีัน้สงู อาท ิอตุสาหกรรมเครื่องจักรกล เศรษฐกิจของ EFTA เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิด โดยมีภาคบริการเป็นส่วนสำคัญของเศรษฐกิจ อาทิ สาขาการเงิน สาขาประกันภัย และสาขาโทรคมนาคม เป็นต้น ทำให้ EFTA เป็นกลุ่มประเทศที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจต่อเวทีการค้าระหว่างประเทศและเศรษฐกิจโลก EFTA มุ่งดำเนินความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศอื่นๆ ทั้งการค้าสินค้าและการค้าบริการ ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ EFTA ถูกจัดเป็นกลุ่มประเทศผู้ค้าสินค้าสำคัญอันดับที่ 11 ของโลก มีมูลค่า 564.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และเป็นผู้นำดา้นการคา้บรกิารอนัดบัที ่5 ของโลก มมีลูคา่ 147 พนัลา้นดอลลารส์หรฐัฯ รองจากสหภาพยโุรป สหรัฐฯ ญี่ปุ่น และจีน ตามลำดับ

EFTA Convention

EFTA Convention เปน็ความตกลงทีใ่หม้กีารจดัตัง้สมาคมการคา้เสรแีหง่ยโุรปหรือเอฟต้า โดยพัฒนาจาก Vaduz Convention ปี 2544 (ค.ศ. 2001) ซึ่งแทน Stockholm Convention ปี 2403 (ค.ศ.1960) โดยครอบคลุมประเด็นการค้าสำคัญๆ ได้แก่ การเคลื่อนย้ายสินค้าและคนโดยเสรี การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การคมนาคมทางบกและทางอากาศ การบริการ และการลงทุน

1. บทนำ

Page 4: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

TEFTA

การเคลือ่นยา้ยสนิคา้โดยเสรี กำหนดใหเ้คลือ่นยา้ยสนิคา้โดยไมม่กีารจดัเกบ็ภาษีนำเข้า/ส่งออก และโควต้าระหว่างสมาชิก รวมทั้งไม่มีการกำหนดภาษีภายในสำหรับสนิคา้ของสมาชกิอืน่มากกวา่ทีก่ำหนดไวส้ำหรบัสนิคา้ในประเทศ สำหรบัสนิคา้เกษตรพืน้ฐานและสินค้าที่ผลิตจากวัตถุดิบที่เป็นสินค้าเกษตร อาทิ โยเกิร์ต ผักแช่แข็ง ผักสดหรือผักต้ม และขา้วโพดหวาน เปน็ตน้ มกีารคำนวนสว่นตา่งของราคาวตัถดุบิในผลติภณัฑด์งักลา่ว โดย สมาชิกสามารถกำหนด fixed duty สำหรับการนำเข้าได้แต่จะต้องไม่เกินส่วนต่างระหว่างราคาภายในกับราคาตลาดโลกของวัตถุดิบดังกล่าว

การค้าบริการ ไม่มีการจำกัดสิทธิในการให้บริการระหว่างสมาชิก EFTA โดยสมาชิกจะต้องกำจัดมาตรการกีดกันที่แต่ละประเทศยังคงใช้อยู่ให้หมดไปในที่สุด ซึ่งมาตรการดังกล่าวที่แต่ละประเทศใช้ อาทิ ไอซแ์ลนด ์มขีอ้จำกดัสำหรบัการลงทนุของตา่งชาต ิในสาขาการขนสง่ทางอากาศ นอร์เวย์ ยังขอสงวนสิทธิที่จะใช้มาตรการกีดกัน สำหรับการให้การอุดหนุน และ company law ในทุกสาขาบริการ สวติเซอรแ์ลนด์ ยงัไมข่อผกูพนัการเปดิตลาดในสาขาบรกิารวชิาชพีดา้นกฎหมาย ด้านบัญชีและตรวจสอบบัญชี ด้านอสังหาริมทรัพย์ ด้านการขนส่งทางทะเล ด้านไปรษณีย์และพัสดุภัณฑ์ ด้านโสตทัศน์ ด้านนายหน้าและตัวแทน สำหรับสินค้าที่ต้องมีใบอนุญาตนำเข้า เคมีภัณฑ์ อาวุธ เครื่องมือแพทย์ บริการด้านสุขภาพและสังคม บริการส่งอาหาร บันเทิง การผลิตและจัดจำหน่ายพลังงาน ลกิเตนสไตน์ สาขาทีย่งัไมผ่กูพนัการเปดิตลาด ไดแ้ก ่อสงัหารมิทรพัย ์การสบืสวนและการรักษาความปลอดภัย ไปรษณีย์และพัสดุภัณฑ์ โทรคมนาคม โสตทัศน์ ก่อสร้างและวิศวกรรมที่ เกี่ยวข้อง สำหรับสินค้าที่ต้องมีใบอนุญาตนำเข้า เคมีภัณฑ์ อาวุธ เครื่องมือแพทย์ บริการค้าปลีกโดยหน่วยขายเคลื่อนที่ การศึกษาภาคบังคับ และการบริการกำจัดขยะ

ความสัมพันธ์กับประเทศอื่น

EFTA มีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดกับสหภาพยุโรป โดยมีการทำความตกลงจัดตั้งเขตเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Area: EEA) โดยการขยายตลาดเดยีว (Single market) ของสหภาพยโุรป 27 ประเทศรวมเขา้กบั 3 ประเทศของ EFTA ยกเว้น สวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งดำเนินความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรปโดยทำความตกลงทวิภาคีกับสหภาพยุโรป

Page 5: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

TEFTA

เขตเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Area) ครอบคลุมการเคลื่อนย้ายเสรี 4 ด้าน คือ สินค้า เงินทุน บริการ และคน แต่ไม่รวมการกำหนดนโยบายร่วมทางด้านการเกษตรการประมง การเงิน และการค้า

การจัดทำความตกลง FTA

EFTA ดำเนินนโยบายการค้าเสรีซึ่งเป็นนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างและขยายเครือข่ายพันธมิตรทางเศรษฐกิจในทุกภูมิภาค ทั้งในแง่การหาตลาดและการแสวงหาแหล่งวัตถุดิบ จึงทำให้ EFTA มีเครือข่ายการค้าเสรีที่ใหญ่ที่สุด รวม 17 ฉบับ กับ 21 ประเทศคู่เจรจา ดังนี้ 1) ประเทศที่สรุป FTA แล้ว ได้แก่ แคนาดา ชิลี โคลัมเบีย โครเอเชีย อียิปต์ อิสราเอล จอร์แดน เลบานอน มาซิโดเนีย เม็กซิโก โมร็อกโก ปาเลสไตน์ SACU (SACU ประกอบดว้ย ประเทศบอตสวานา เลโซโท นามเิบยี แอฟรกิาใต ้และสวาซแิลนด)์ เกาหลใีต ้ ตูนิเซีย ตุรกี และสิงคโปร์ ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อเดือนมกราคม 2003 นับเป็นการขยายเครือข่ายความสัมพันธ์สู่เอเชียเป็นครั้งแรก 2) ประเทศที่อยู่ระหว่างเจรจา FTA ได้แก่ แอลจีเรีย อินเดีย เปรู คณะมนตรีความร่วมมือรัฐอ่าวอาหรับ หรือ GCC (GCC ประกอบด้วย ประเทศบาห์เรน คูเวต โอมาน กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) และไทย 3) ประเทศที่อยู่ระหว่างการหารือเพื่อจัดทำ FTA ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย รัสเซีย แอลบาเนีย เซอร์เบีย และยูเครน

การจดัทำเขตการคา้เสรรีะหวา่งEFTAกบัประเทศทีส่าม ครอบคลมุการคา้สินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตรแปรรูป สินค้าประมง การค้าสินค้าบริการและการลงทุน กฎเกณฑ์ว่าด้วยการแข่งขันทางการค้า การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การจัดซื้อจัดจ้าง โดยรัฐ และการระงับข้อพิพาท โดยกฎระเบียบทางการค้ากับประเทศที ่3 คล้ายคลึงกับกฎระเบียบระหว่างประเทศสมาชิก EFTA ด้วยกัน แต่การค้าสินค้าเกษตรพื้นฐานจะขึ้นอยู่กับการตกลงทวิภาคีระหว่างแต่ละประเทศสมาชิก EFTA กับประเทศคู่ค้า

การจัดทำเขตการค้าเสรีระหว่างEFTAกับประเทศคู่สัญญาบางประเทศได้คำนึงถึงความแตกต่างของระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดย EFTA จะยกเลิกข้อกีดกันทางการค้าทันทีที่ความตกลงมีผลบังคับใช้หรือภายในระยะแรก ในขณะที่ประเทศคู่สัญญาสามารถค่อยๆ ลดข้อกีดกันไปตามลำดับ เพื่อให้สามารถปรับตัวและเตรียมความพร้อมสำหรับการค้าเสรีได้ โดยมีระยะเวลาประมาณ 10 ปี

Page 6: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก EFTA ปี 2551 (ค.ศ. 2008)1

TEFTA

การค้าระหว่างประเทศของ EFTA

ภาพรวมการค้า ในปี 2550 (ค.ศ.2007) การค้ารวมของ EFTA มีมูลค่า 561.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ คู่ค้าหลักของ EFTA คือ สหภาพยุโรป การค้าสองฝ่ายกับสหภาพยุโรปมีมูลค่า 407.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 72.6 ของการค้าระหว่างประเทศของ EFTA อยา่งไรกต็าม การคา้ของ EFTA กบัประเทศอืน่ ๆ ทีม่ใิชส่หภาพยโุรปมกีารขยายตวั ประเทศคู่ค้าสำคัญรองลงมาจากสหภาพยุโรป ได้แก่ สหรัฐฯ จีน ญี่ปุ่น รัสเซีย GCC อินเดีย และ สิงคโปร์ ตามลำดับ

ผลิตภัณฑ์มวลรวม (Gross Domestic Product : GDP) (พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ)

อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (%)

รายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากร (ดอลลาร์สหรัฐฯ)

อัตราเงินเฟ้อ (%)

อัตราการว่างงาน (%)

มูลค่าการส่งออก (พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ)2

มูลค่าการนำเข้า (พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ)

การค้ารวม (พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ)

Switzerland

492.6

1.7

42,841

1.2

2.6

171.9

161.1

333

Norway

481.1

2.5

55,199

1.4

2.5

137.8

79.6

217.4

Iceland

19

0.3

39,665

14.9

1.6

4.7

6.1

10.8

Liechtenstein3

4.1

3.1

118,000

1.1

1.5

2.4

0.9

3.3

ที่มา : 1. www.dfat.gov.au 2.www.efta.int และ 3. ข้อมูลปี 2551 (ค.ศ.2007)

Page 7: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

TEFTA

การส่งออกและการนำเข้า ประเทศสง่ออกสำคญั ไดแ้ก ่เยอรมนรีอ้ยละ 16.3 สหราชอาณาจกัรรอ้ยละ 14.7 สหรฐัอเมรกิารอ้ยละ 8 ฝรัง่เศสรอ้ยละ 8.3 และเนเธอรแ์ลนดร์อ้ยละ 6.5 โดยมสีนิคา้สง่ออกสำคญั ไดแ้ก ่ปลาและสตัวน์ำ้ อะลมูเินยีม เครือ่งจกัร เวชภณัฑ ์ นาฬกิา อญัมณ ีและเหลก็ ประเทศนำเข้าสำคัญ ได้แก่ เยอรมนีร้อยละ 25.6 อิตาลีร้อยละ 8.1 ฝรั่งเศสรอ้ยละ 8 สหรฐัอเมรกิารอ้ยละ 6.1 และสวเีดนรอ้ยละ 5.4 สนิคา้นำเขา้สำคญั ไดแ้ก ่เครือ่งจกัร นเิกลิ เฟอรน์เิจอรแ์ละเครือ่งนอน เคมภีณัฑอ์นิทรยี ์ยานยนต ์เหลก็ และผลติภณัฑพ์ลาสตกิ

สินค้าส่งออก-นำเข้า / สินค้า TRQ1 ของกลุ่ม EFTA

- สวิตเซอร์แลนด์ 1. สินค้าส่งออกสำคัญ 2. สินค้านำเข้าสำคัญ 3. สินค้า TRQ 1

- นอร์เวย์

1. สินค้าส่งออกสำคัญ 2. สินค้านำเข้าสำคัญ 3. สินค้า TRQ 1

- ไอซ์แลนด์ 1. สินค้าส่งออกสำคัญ 2. สินค้านำเข้าสำคัญ 3. สินค้า TRQ 1

- ได้แก่ เครื่องจักรและอุปกรณ์ ผลติภณัฑย์า เคมภีณัฑ ์ อนิทรยี ์ นาฬกิาและสว่นประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้น - ได้แก่ เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์ยา เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์ เคมีภัณฑ์อินทรีย์ พลาสติก และอัญมณี เป็นต้น - 20 กลุ่มสินค้า เช่น เนื้อสัตว์ นมและผลิตภัณฑ์ มนัฝรัง่ ผกัและผลไมส้ดแชแ่ขง็ และไมต้ดัดอก เปน็ตน้

- ไดแ้ก ่แรแ่ละเชือ้เพลงิ ปลา ผลติภณัฑ ์และอะลมูเินยีม เป็นต้น - ได้แก่ ยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เฟอร์นิเจอร์ ผลิตภัณฑ์ พลาสติก เป็นต้น - 15 กลุม่สนิคา้ เชน่ เนือ้สตัว ์ไข ่เนยแขง็ ผกัตา่งๆ เปน็ตน้

- ไดแ้ก ่แรแ่ละเชือ้เพลงิ ปลา อะลมูเินยีม และอาหาร ทะเลกระปอ๋ง เป็นต้น - ได้แก่ เครื่องจักร เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์ เป็นต้น - 21 กลุม่สนิคา้ เชน่ เนือ้สตัว ์ เนย ไขไ่ก ่ผกักะหลำ่ขาว และแดง แอปเปลิ แพร ์สตัวป์กี เปน็ตน้

TRQ1 (Tariff Rate Quota) คือ มาตรการจำกัดปริมาณนำเข้าในรูปของการกำหนดโควตาภาษี กล่าวคือ จะเกบ็ภาษ ี2 อตัรา ปรมิาณนำเขา้ภายใตโ้ควตาจะเสยีภาษอีตัราตำ่ สว่นทีเ่กนิโควตาจะเสยีภาษอีตัราสงูกวา่ ทัง้นี ้ ลกิเตนสไตนใ์ชต้ารางขอ้ผกูพนัการลดภาษภีายใต ้WTO รว่มกบัสวติเซอรแ์ลนด ์เนือ่งจากทัง้สองประเทศมขีอ้ตกลงจดัตัง้สหภาพศลุกากรและสหภาพการเงนิ (Custom and Monetary Union) ระหวา่งกนัในป ี1924

Page 8: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

TEFTA

การค้าระหว่างไทยกับ EFTA

ไทยเป็นคู่ค้าอันดับที่ 13 ของ EFTA การค้าไทย-EFTA มีมูลค่า 2.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 0.4 ของการค้าระหว่างประเทศของ EFTA ในขณะที่ EFTA เปน็คูค่า้อนัดบัที ่11 ของไทย การคา้สองฝา่ยไทย-EFTA มมีลูคา่ 6,521.68 ลา้นดอลลารส์หรฐัฯ โดยมีสวิตเซอร์แลนด์เป็นประเทศคู่ค้าหลัก และรองลงมาได้แก่ นอร์เวย์ ลิกเตนสไตน์ และ ไอซ์แลนด์ตามลำดับ มูลค่า: ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

การค้ารวม ไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ EFTA

ดุลการค้า สัดส่วนของ การค้ารวม ของไทย (World)

การส่งออก ไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ EFTA สัดส่วนต่อการ ส่งออกรวม ของไทย

2548

(2005)

16.65

5.10

198.99

2,000.38

2,221.12

-656.58

0.97

9.69

1.06

91.27

680.25

782.27

0.71

2549

(2006)

14.30

10.22

371.23

2,224.76

2,620.51

-369.79

1.01

9.20

1.21

196.23

918.72

1,125.36

0.87

2550

(2007)

14.80

5.45

428.36

2,913.55

3,362.17

-158.95

1.14

9.09

0.67

167.98

1,423.86

1,601.61

1.04

2551

(2008)

16.36

18.00

551.12

5,936.20

6,521.68

-2,133.38

1.83

9.80

13.98

191.36

1,979.01

2,194.15

1.23

%2548

(2005)

36.07

-81.39

2.68

29.63

25.02

48.16

-95.99

15.39

-2.92

-3.76

%2549

(2006)

-14.10

100.28

86.56

11.22

17.98

-5.02

13.91

115.00

35.06

43.86

%2550

(2007)

3.52

-46.66

15.39

30.96

28.30

-1.17

-44.32

-14.40

54.98

42.32

%2551

(2008)

10.56

230.15

28.66

103.74

93.97

7.76

1,979.18

13.92

38.99

37.00

Page 9: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

TEFTA

มูลค่า: ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

การนำเข้า ไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ EFTA สัดส่วนต่อการ นำเขา้รวมของไทย

2548

(2005)

6.96

4.04

107.72

1,320.13

1,438.85

1.22

2549

(2006)

5.10

9.01

175.00

1,306.04

1,495.15

1.16

2550

(2007)

5.71

4.78

260.38

1,489.69

1,760.56

1.26

2551

(2008)

6.57

4.02

359.76

3,957.18

4,327.53

2.42

%2548

(2005)

22.69

325.56

-6.09

56.71

49.30

%2549

(2006)

-26.74

122.93

62.45

-1.07

3.91

%2550

(2007)

11.99

-46.97

48.79

14.06

17.75

%2551

(2008)

15.02

-15.95

38.17

165.64

145.80

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

การส่งออก มูลค่า: ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

รายการ 1. อัญมณีและเครื่องประดับ 2. นาฬิกาและส่วนประกอบ 3. สว่นประกอบอากาศยานและอปุกรณก์ารบนิ 4. รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 5. อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป 6. เครื่องใช้สำหรับเดินทาง 7. เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบอื่น ๆ 8. ข้าว 9. เครือ่งคอมพวิเตอร ์อปุกรณแ์ละสว่นประกอบ 10. เครือ่งโทรสาร โทรศพัท ์อปุกรณแ์ละสว่นประกอบ

รวม 10 รายการ อื่นๆ มูลค่ารวม

2548

(2005)

127.6

162.2

46.1

21.9

27.3

28.6

16.7

9.7

8.8

11.3

460.1

322.2

782.3

2549

(2006)

216.9

175.0

94.7

49.1

24.0

27.1

28.0

9.7

10.2

19.4

654.1

471.3

1,125.4

2550

(2007)

590.2

223.9

187.1

63.0

26.3

30.1

30.1

14.0

24.3

22.0

1,210.8

390.8

1,601.6

2551

(2008)

1,281.0

256.0

76.4

59.7

35.4

32.7

31.4

30.2

29.3

29.3

1,861.4

332.8

2,194.2

%2551

(2008)

117.4

14.3

-59.2

-5.3

34.6

8.7

4.6

116.5

20.8

33.1

53.7

-14.8

37.0

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

Page 10: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

TEFTA

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

การนำเข้า มูลค่า: ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

รายการ 1. เครือ่งเพชรพลอย อญัมณ ีเงนิแทง่และทองคำ 2. นาฬิกาและส่วนประกอบ 3. ปุ๋ย และยากำจัดศัตรูพืชและสัตว์ 4. เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ 5. ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม 6. เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ 7. สตัวน์ำ้สด แชเ่ยน็ แชแ่ขง็ แปรรปูและกึง่แปรรปู 8. เคมีภัณฑ์ 9. เครือ่งมอื เครือ่งใชท้างวทิยาศาสตร ์การแพทย ์ 10. เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด

รวม 10 รายการ อื่นๆ มูลค่ารวม

2548

(2005)

433.9

201.4

62.3

205.9

58.7

49.4

14.3

48.1

28.6

17.9

1,120.4

318.4

1,438.9

2549

(2006)

582.3

193.1

91.3

128.7

74.5

52.1

20.5

55.7

29.0

18.6

1,245.8

249.4

1,495.2

2550

(2007)

653.9

241.7

96.1

177.6

93.4

79.9

46.7

58.5

33.2

24.8

1,505.8

254.7

1,760.6

2551

(2008)

2,881.7

321.8

224.3

189.6

120.6

83.8

81.8

56.5

39.4

25.4

4,024.9

302.6

4,327.5

%2551

(2008)

340.7

33.13

133.4

6.8

29.1

4.8

74.8

-3.4

18.7

2.4

167.29

18.8

145.8

สัดส่วนการส่งออกของไทยกับ EFTA มูลค่า: ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

ประเทศ

EFTA - สวิตเซอร์แลนด์ - นอร์เวย์ - ลิกเตนสไตน์ - ไอซ์แลนด์

สัดส่วนต่อการส่งออกทั้งหมดของไทย

2551 (2008)

2,194.15 1,979.01 191.36 13.98 9.8

177,775.20

Share (%)

100.0 90.20 8.72 0.64 0.45

1.23

Page 11: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

10

TEFTA

สัดส่วนการนำเข้าของไทยกับ EFTA มูลค่า: ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

ประเทศ

EFTA - สวิตเซอร์แลนด์ - นอร์เวย์ - ลิกเตนสไตน์ - ไอซ์แลนด์

สัดส่วนต่อการนำเข้าทั้งหมดของไทย

2551 (2008)

4,327.53 3,957.18 359.76 4.02 6.57

179,223.26

Share (%)

100.0 91.44 8.31 0.09 0.15

2.41

โครงสร้างอัตราภาษีเฉลี่ยของไทยและ EFTA

ประเทศ

ไทย

EFTA - สวิตเซอร์แลนด์ และลิกเตนสไตน์

- นอร์เวย์

- ไอซ์แลนด์

ทกุสนิคา้

28.1

9.3

20.7

23.5

เกษตร

40.2

54.3

135.8

109.3

อตุสาหกรรม

25.5

2.5

3.1

9.6

ทกุสนิคา้

10

7.5

8.1

7.3

เกษตร

22.0

43.5

57.8

40.8

อตุสาหกรรม

8.2

2.1

0.6

2.3

อตัราผกูพนัเฉลีย่ใน WTO (%) อตัราภาษเีกบ็จรงิเฉลีย่ (%) ป ี2550 (2007)

ที่มา: Trade Profiles 2008; WTO

หมายเหต:ุ ลกิเตนสไตนใ์ชต้ารางขอ้ผกูพนัการลดภาษภีายใต้ WTO รว่มกบัสวติเซอรแ์ลนด์ เนือ่งจากทัง้สอง

ประเทศมีข้อตกลงจัดตั้งสหภาพศุลกากรและสหภาพการเงิน (Custom and Monetary Union) ระหว่างกัน

ในปี 1924

Page 12: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

2. การจัดทำความตกลงการค้าเสรีของ EFTA กับไทย

11

TEFTA

ความเป็นมา

ประธานาธิบดีแห่งสมาพันธรัฐสวิส (Mr. Joseph Deiss) เดินทางมาเยือนไทยอยา่งเปน็ทางการ ระหวา่งวนัที ่17-19 มนีาคม 2547(ค.ศ. 2004) และไดเ้สนอใหม้กีารจดัทำเขตการค้าเสรีระหว่างไทยกับสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป (EFTA - European Free Trade Association) ในระหว่างการหารือกับนายกรัฐมนตรีของไทย (พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร) ซึ่งนายกรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบในหลักการ ทัง้นี ้คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกจิระหวา่งประเทศ ไดม้มีตเิมือ่วนัที ่8 มถินุายน 2547 (ค.ศ.2004) เห็นชอบให้กระทรวงพาณิชย์เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะเจรจาจัดทำเขตการค้าเสรีไทย – EFTA โดยมีผู้ช่วยรัฐมนตรีกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาในขณะนั้น (นายเกรกิไกร จรีะแพทย)์ เปน็หวัหนา้คณะเจรจา โดยในชัน้แรกใหท้ำการศกึษาผลด ี- ผลเสยีของการจดัทำเขตการคา้เสรไีทย – EFTA และรายงานผลการศกึษาตอ่ กนศ. ในโอกาสตอ่ไป

ผลการศึกษาผลกระทบจากการจัดทำ FTA ไทย – EFTA2

การวิเคราะห์ผลกระทบเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis)

การค้าสินค้า ในกลุ่ม EFTA สวิตเซอร์แลนด์เป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของไทย ตามด้วยนอร์เวย์และ ไอซแ์ลนด ์โดยการสง่ออกของไทยไปสวติเซอรแ์ลนด ์คดิเปน็สดัสว่นรอ้ยละ 93 ของการสง่ออกของไทยไป EFTA และการนำเขา้ของไทยจากสวติเซอรแ์ลนด ์คดิเปน็สดัสว่นรอ้ยละ 87 ของการนำเขา้ของไทยจาก EFTA โดยไทยเปน็ฝา่ยขาดดลุการคา้กบัประเทศสมาชกิ EFTA มาตลอด สินค้าส่งออกและนำเข้าสำคัญของไทยเป็นสินค้าอุตสาหกรรม และแม้ EFTA จะมีอัตราภาษีสูงในสินค้าพื้นฐาน ไทยยังได้เปรียบดุลการค้าในผลิตภัณฑ์อาหารและสัตว์มีชีวิต นอกจากนี้ไทยยังได้ดุลในสินค้าเครื่องดื่มและยาสูบ น้ำมันพืชและน้ำมันสัตว์

การค้าบริการ EFTA เปน็ผูส้ง่ออกการคา้บรกิารหลกัของโลก ในป ี2545 (ค.ศ. 2002) การสง่ออกบรกิารของ EFTA มมีลูคา่ 48 พนัลา้นดอลลารส์หรฐัฯ โดยสวติเซอรแ์ลนดแ์ละลกิเตนสไตน์เปน็จุดศูนย์กลางสำคัญทางการเงิน โดยธุรกิจการเงินมีสัดส่วนถึงร้อยละ 16 ของการจ้างงานในสวิตเซอรแ์ลนด ์ ในขณะที่นอร์เวย์เป็นผู้ให้การบริการสำคัญด้านการเดินเรือ

2ศึกษาโดยบริษัท Hunton & Williams ประเทศไทยเมื่อ ปี 2548 (ค.ศ.2005)

Page 13: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

1�

TEFTA

ตลาด EFTA เมือ่เปรยีบเทยีบตามขนาดเศรษฐกจิ EFTA มขีนาดใหญก่วา่ไทยมาก ในป ี2546 (ค.ศ.2003) GDP ของไทยคิดเป็นร้อยละ 26 ของ GDP ของ EFTA เมื่อเปรียบเทียบจากปริมาณประชากร EFTA มีประชากรเพียง 12.2 ล้านคน (สวิตเซอร์แลนด์ร้อยละ 60 และนอร์เวย์ร้อยละ 37.4) คิดเป็น 1/5 ของตลาดไทย ซึ่งมีประชากร 62 ล้านคน แต่ประชากร EFTA มีฐานะและมีกำลังซื้อสูง เมื่อเปรียบเทียบจากโครงสร้างเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยเน้นภาคอุตสาหกรรม ในขณะที่ EFTA เน้นภาคบริการ ส่วนภาคเกษตรของไทยใหญ่กว่าสวิตเซอร์แลนด์ และนอร์เวย์ แต่เศรษฐกิจไอซ์แลนด์มีสัดส่วนของภาคเกษตรน้อยกว่าไทย สำหรับการส่งออกสินค้าและบริการ ไทยพึ่งพาการค้าระหว่างประเทศมากกว่า EFTA เมื่อพิจารณาตามสัดส่วนของ GDP สัดส่วนการค้าสินค้าของไทยสูงกว่า EFTA ในขณะที่สัดส่วนการค้าบริการของ EFTA สูงกว่าไทย ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะไทยเป็นฐานการผลิตของบริษัทนานาชาติหลายแห่ง เมื่อวิเคราะห์โครงสร้างการค้าระหว่างไทยและ EFTA โดยวัดค่าสหสัมพันธ์ของความไดเ้ปรยีบ พบวา่การคา้ระหวา่งกนัเปน็ complementary โดยเมือ่แยกรายสาขาพบวา่

- สนิคา้ 4 สาขาทีไ่ทยมคีวามไดเ้ปรยีบโดยเปรยีบเทยีบ (comparative advantage) เหนอื EFTA ไดแ้ก ่ IT และ consumer electronics เสือ้ผา้ เครือ่งหนงั และชิน้สว่นอเิลก็ทรอนกิส ์ดังนั้น FTA ที่ EFTA ลดภาษีสินค้าเหล่านี้จะเป็นประโยชน์แก่ไทย - สินค้าที่ EFTA มีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (comparative advantage) ไดแ้ก ่แร ่อตุสาหกรรมขัน้พืน้ฐาน เคมภีณัฑ ์และเครือ่งจกัร ดงันัน้ การลดภาษใีนสาขาดงักลา่วทำให้มีการส่งออกมาไทยมากขึ้น

จากการใช ้GTAP3 เพือ่ดผูลกระทบของการจดัทำ FTA ไทย – EFTA พบวา่

1. GDP และการค้าที่จะเพิ่มขึ้นจากการทำ FTA ไทย – EFTA น้อยกว่าการทำ FTA กับตลาดใหญ่ เช่น สหรัฐฯ และสาขาเกษตรของไทยจะได้รับผลประโยชน์สูงสุด ทั้งนี้ คาดว่ามูลค่าการส่งออกของไทยจะเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 0.7-0.8 ในขณะที่การนำเข้าจะเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 0.6-0.7 โดยไทยจะได้รับประโยชน์สูงจากสาขาที่ EFTA มีอัตราภาษีสูง 2. Inflation อาจสงูขึน้ปานกลางจากการพจิารณาจดัทำเขตการคา้เสรไีทย – EFTA 3. ไทยจะไดป้ระโยชนน์อ้ยกวา่หาก FTA เปน็แบบทยอยลดภาษ ีโดยทัง้สองฝา่ยจะได้ประโยชน์ในปีแรก

GTAP3 เป็นโมเดลสำหรับใช้คำนวณทางเศรษฐศาสตร์

Page 14: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

3. โอกาสทางการค้าและการลงทุน

1�

TEFTA

การวิเคราะห์ผลกระทบเชิงคุณภาพ (Quanlitative Analysis)

เกษตรเป็นสาขาที่อ่อนไหวของ EFTA โดยที่ผ่านมา EFTA ไม่ยอมเปิดเสรีสินค้าเกษตรที่อ่อนไหวมาก ทั้งนี้ ประเทศสมาชิก EFTA ยังปกป้องภาคเกษตรและอาหารแปรรูปอยู่มาก สนิคา้ทีม่กีารปกปอ้งสงู ไดแ้ก ่นำ้ตาลจากออ้ย นำ้ตาลจากหวับที ธญัพชื สินค้าประเภทอาหาร ขา้วเปลอืก นำ้มนัพชื ผกั ผลไม ้ ถัว่ ขา้วแปรรปู ผลติภณัฑจ์ากสตัว ์นำ้มนัพชื พืชผล น้ำตาล เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์ยาสูบ แม้อัตราภาษีของไทยจะค่อนข้างสูงในสินค้าที่ EFTA มีภาษีสูง แต่อัตราภาษีของไทยยังต่ำกว่ามาก การทำ FTA ทีม่คีวามครอบคลมุอยา่งกวา้งขวาง ระหวา่งกนัจะชว่ยลดอปุสรรคทางภาษีแก่ผู้ส่งออกไทย ทั้งนี้ มูลค่าการส่งออกจะเพิ่มขึ้นเท่าไรนั้นขึ้นอยู่กับความสามารถในการแข่งขันของไทยเมื่อเทียบกับประเทศที่ได้จัดทำเขตการค้าเสรีกับ EFTA

การที่ไทยได้รับสิทธิ GSP4 จากนอร์เวย์และสวิตเซอร์แลนด์ตั้งแต่ปี 2514 (ค.ศ.1971) และ 2515 (ค.ศ.1972) ตามลำดับ ประกอบกับการขยายตัวของภาคการผลิตของไทยทำใหส้ว่นแบง่ตลาดของไทยใน EFTA เพิม่ขึน้ในชว่งป ี2513-2523 (ค.ศ.1970 – 1980) นอกจากนี ้ยงัทำใหไ้ทยไดเ้ปรยีบประเทศคูส่ญัญา FTA ของ EFTA บางประเทศ อยา่งไรกต็าม เมื่อความตกลง FTA ของตุรกีและบัลแกเรียมีผลบังคับใช้ส่วนแบ่งตลาดนำเข้าของ EFTA จากตรุกแีละบลัแกเรยีขยายตวัสงูขึน้มาก ดงันัน้ การทำ FTA กบั EFTA จะทำใหไ้ทยสามารถรักษาความได้เปรียบทางภาษีหากถูกตัดสิทธิ GSP ในอนาคต และไม่เสียเปรียบจากการทำเขตการค้าเสรีของ EFTA กับประเทศอื่นในอนาคต นอกจากนี้ การจัดทำ FTA ในสินค้าเกษตรพื้นฐานระหว่าง EFTA กับประเทศอื่น ๆ ยังช่วยป้องกันไม่ให้ประเทศคู่ค้าเสียเปรียบสหภาพยุโรป โดยในความตกลงระหว่างนอร์เวย์กับเม็กซิโก นอร์เวย์ให้สิทธิเม็กซิโกเทียบเท่ากับสหภาพยุโรปเมื่อความตกลงมีผลบังคับใช้

GSP4 (Generalized System of Preferences) หมายถึง ระบบการให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไปที่ประเทศที่พัฒนาแล้วให้แก่สินค้าที่มีแหล่งกำเนิดในประเทศกำลังพฒันา โดยลดหยอ่นหรอืยกเวน้อากรขาเขา้แกส่นิคา้ทีม่อียูใ่นขา่ยไดร้บัสทิธพิเิศษทางการคา้ ทั้งนี้ประเทศผู้ให้สิทธิพิเศษฯ จะเป็นการให้แต่เพียงฝ่ายเดียว

Page 15: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

1�

TEFTA

จากการศึกษาพบว่า โอกาสสำหรับผู้ส่งออกไทยจะอยู่ในสินค้าเกษตรพื้นฐานและอาหารแปรรูป จาก GTAP analysis ไทยจะได้ประโยชน์จากการลดภาษีผลไม้ ผัก เนื้อสัตว์ ถัว่ อาหารและอาหารแปรรปู แมไ้ทยไดส้ทิธ ิGSP ในหลายรายการจากนอรเ์วยแ์ละสวติเซอรแ์ลนดอ์ยูแ่ลว้ ไทยยงัมโีอกาสทีจ่ะเจรจาลดอตัราภาษใีหเ้ทา่กบัประเทศคูภ่าคอีืน่ ๆ ของ EFTA ที่ได้เปรียบไทยอยู่ และไทยสามารถเจรจาลดภาษีมากขึ้นสำหรับสินค้าที่ไทยได้เปรียบอยู่แล้ว ในส่วนของการลงทุน EFTA เป็นประเทศผู้ลงทุนสำคัญ โดยเป็นอันดับที่ 4 ของโลกสำหรับ FDI Outflow รองจากญี่ปุ่น แคนาดา และออสเตรเลีย และเป็นอันดับที่ 3 สำหรับ FDI Inflow รองจากสหรัฐอเมริกาและอิตาลี โดยทั่วไปประเทศสมาชิก EFTA ได้เปิดเสรีด้านบริการและการลงทุนระหว่างกัน ซึ่งสัมพันธ์กับแนวนโยบาย “The 4 basic freedoms” ของสหภาพยุโรป ได้แก่ สินค้า บริการ บุคคล และทุน ทั้งนี้ สมาชิกจะให้การปฏิบัติแบบ National Treatment5 และ MFN6 ระหว่างกัน อย่างไรก็ตามแต่ละประเทศยังมีข้อสงวนระหว่างกันในสาขาต่างๆ แต่จะมีการทบทวนอย่างต่อเนื่องเพื่อนำไปสู่การยกเลิก นโยบายการเข้าเมืองเพื่อทำงานสำหรับต่างชาติจะเน้นเปิดให้แรงงานที่มีความเชี่ยวชาญระดับสูงและขาดแคลน ทั้งนี้ การจัดทำเขตการค้าเสรีจะมีส่วนช่วยสร้างความเชื่อมั่น เสถียรภาพ และความสัมพันธ์ด้านการลงทุนระหว่าง EFTA กับไทยได้ในระยะยาว สถานะการเจรจา

ไทยและ EFTA ได้หารือเพื่อหาแนวทางร่วมกันในการเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรี 2 รอบ โดยครั้งแรกเป็นการหารืออย่างไม่เป็นทางการเมื่อเดือนมกราคม 2548 (ค.ศ.2005) ณ กรุงเทพฯ และครั้งที่ 2 เป็นการหารือเพื่อกำหนดแนวทางและแลกเปลี่ยนข้อมูลสำหรับการเจรจา (Exploratory meeting) ระหว่างวันที่ 10-12 พฤษภาคม 2548 (ค.ศ.2005) ณ กรุงเรคาวิก ประเทศไอซ์แลนด์ ไทยและ EFTA ได้เริ่มการเจรจาอย่างเป็นทางการในเดือนตุลาคม 2548 (ค.ศ.2005) การเจรจารอบแรกจัดขึ้นที่จังหวัดภูเก็ต และการเจรจารอบที่ 2 ในเดือนมกราคม 2549 (ค.ศ.2006)ที่จังหวัดเชียงใหม่ แต่การเจรจาได้หยุดชะงักไปเมื่อเดือนกันยายน 2549 (ค.ศ.2006) เนื่องจากเกิดการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ทางการเมืองของไทย ซึง่ตอ่มาฝา่ย EFTA ไดเ้สนอใหไ้ทยกลบัไปเริม่เจรจาใหมอ่กีครัง้ แตภ่ายหลงัมกีารใช้

National treatment5 คือ การให้ปฏิบัติต่อบริการและการลงทุนของสมาชิกอื่นๆ เท่ากับการปฏิบัติต่อบริการและการลงทุนของคนชาติตน MFN6 (Most - Favoured - Nation Treatment) คอื การใหก้ารปฏบิตัติอ่สมาชกิทกุประเทศอย่างเท่าเทียมกัน

Page 16: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

1�

TEFTA

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 (ค.ศ.2007) ไทยจะต้องดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องตามบทบัญญัติซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้เวลา ขอบเขตของการเจรจาครอบคลุมการเปิดตลาดสินค้าเกษตรพื้นฐาน สินค้าเกษตรแปรรูป สินค้าประมง สินค้าอุตสาหกรรม การค้าบริการ การลงทุน มาตรการสขุอนามยัและสขุอนามยัพชื อปุสรรคทางเทคนคิทางการคา้ กฎวา่ดว้ยแหลง่กำเนดิสนิคา้ มาตรการเยยีวยาทางการคา้ การคุม้ครองทรพัยส์นิทางปญัญา กฎเกณฑว์า่ดว้ยการแขง่ขนัทางการค้า การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ กลไกยุติข้อพิพาท และประเด็นกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งยังมีหลายประเด็นที่ทั้งสองฝ่ายจะต้องหารือกันต่อไป

4. ภาคผนวก

สาธารณรัฐไอซ์แลนด์

Republic of Iceland

ข้อมูลทั่วไป

ที่ตั้ง สาธารณรัฐไอซ์แลนด์เป็นเกาะอยู่ใต้เส้นอาร์กติก เซอร์เคิล (Arctic Circle) ทางตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะกรีนแลนด์ ทางทิศตะวันตกของนอร์เวย์และทางทิศเหนือของสกอตแลนด์ พื้นที ่103,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 39,769 ตารางไมล์ ภูมิอากาศ ไอซ์แลนด์ตั้งอยู่ในเขตโอเชียนิก (Oceanic Zone) มีฤดูร้อนที่สั้นและเย็น มีฤดูหนาวที่ยาวนานแต่ไม่หนาวจัด อุณหภูมิเฉลี่ยในเดือนกรกฎาคมเดือนที่ร้อนที่สุดประมาณ 11 องศาเซลเซียส และในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นเดือนที่หนาวที่สุดประมาณ -1 องศา เซลเซียล ไอซ์แลนด์มีน้ำพุร้อนและมีกระแสน้ำอุ่นไหลผ่านจึงทำให้ไม่หนาวจนเกินไปและโดยที่ไอซ์แลนด์มีพื้นที่ไม่กว้างใหญ่นัก อุณหภูมิภายในประเทศจึงไม่แตกต่างกันมาก ประชากร ประมาณ 306,694 คน (กรกฎาคม 2552 (ค.ศ.2009)) เมืองหลวง กรุงเรคยาวิก (Reykjavik) ภาษา ไอซ์แลนดิก (Icelandic) เป็นภาษาราชการ ศาสนา ประชาชนสว่นใหญ ่รอ้ยละ 93 นบัถอืศาสนาครสิต ์นกิาย Evangelical Lutheran Church เงินตรา ใช้สกุลเงินโครนไอซ์แลนด์ (Icelandic Kronur - ISK) โดยอัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ ประมาณ 130.8 โครนไอซ์แลนด์ (กันยายน 2552 (ค.ศ.2009))

Page 17: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

1�

TEFTA

การปกครอง ระบบประชาธิปไตย (สาธารณรัฐ) โดยแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 เขต โดยมปีระธานาธบิดเีปน็ประมขุของประเทศ (อยูใ่นตำแหนง่วาระละ 4 ปมีาจากการเลอืกตัง้โดยตรง) และประธานาธิบดี จะแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีขึ้นบริหารประเทศโดยรับผิดชอบอำนาจบริหารร่วมกัน ส่วนอำนาจนิติบัญญัตินั้นมี Althingi (รัฐสภา) เป็น สภาเดียว ประกอบด้วยสมาชิกสภา 63 คน ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งวาระ 4 ปี ประธานาธิบดี นาย Johanna SIGURDARDOTTIR (ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2552 (ค.ศ.2009)) นายกรัฐมนตร ีนาย Geir H. Haarde (2 มิถุนายน 2549 (ค.ศ.2006))

การเมืองการปกครอง ไอซ์แลนด์ได้รับเอกราชเมื่อปี 2452 (ค.ศ.1919) แต่อยู่ภายใต้ราชวงศ์เดนมาร์ก (under the Danish crown) และต่อมาประชาชนไอซ์แลนด์ได้ลงคะแนนเสียงให้ไอซ์แลนด์ เป็นสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2487 (ค.ศ.1944)

การเมืองระหว่างประเทศ ไอซ์แลนด์เป็นสมาชิกในองค์กรสำคัญๆ เช่น กลุ่มนอร์ดิก (Nordic) ซึง่ประกอบดว้ย เดนมารก์ ฟนิแลนด ์ไอซแ์ลนด ์นอรเ์วย ์และสวเีดน ความตกลงวา่ดว้ยการจดัตัง้เขตเศรษฐกจิยุโรป (European Economic Area-EEA) คณะมนตรีแห่งยุโรป (Council of Europe) องค์การเพื่อความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป (Organization for Security and Cooperation in Europe - OSCE) องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization - NATO)

เศรษฐกจิการคา้ ไอซแ์ลนดม์รีะดบัมาตรฐานการครองชพีทีน่บัวา่สงูทีส่ดุประเทศหนึง่ในโลก แหล่งรายได้ที่สำคัญของไอซ์แลนด์ คือ การประมงซึ่งทำรายได้เข้าประเทศถึง 2 ใน 3 จากรายได้ที่ได้รับจากการส่งออกทั้งหมด โดยประเทศที่เป็นเป้าหมายส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ สหราชอาณาจักร เยอรมนี สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และเดนมาร์ก และประเทศที่นำเข้าสินค้าจากไอซ์แลนด์ที่สำคัญ อาทิ เยอรมนี นอร์เวย์ สหราชอาณาจักร เดนมาร์ก เป็นต้น ระบบเศรษฐกิจของไอซ์แลนด์จึงขึ้นอยู่กับการค้าระหว่างประเทศเป็นสำคัญ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงราคาของการซื้อขายปลาระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ไอซ์แลนด์มีนโยบายสนับสนุนการส่งออกกระแสไฟฟ้าพลังน้ำและที่ได้รับความร้อนจากใต้ดิน (Geothermal and hydro power) ซึ่งคาดว่าในอนาคตจะเป็นแหล่งที่มาของรายได้เข้าประเทศที่สำคัญอีกสาขาหนึ่ง

Page 18: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

1�

TEFTA

ราชรัฐลิกเตนสไตน์

Principality of Liechtenstein

ข้อมูลทั่วไป

ที่ตั้ง ใจกลางของทวีปยุโรป ระหว่างออสเตรียและสวิตเซอร์แลนด์

พื้นที่ 160 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดน รวม 78 กิโลเมตร ติดออสเตรีย 37 กิโลเมตร ติดสวิตเซอร์แลนด์ 41 กิโลเมตร (ไม่มีทางออกทะเล)

ภูมิอากาศ ภาคพื้นยุโรปอากาศเย็น ฤดูหนาวมีเมฆหมอกทึบ ฝน และหิมะ ฤดูร้อนเย็นหรืออบอุ่น ชื้น มีเมฆหมอกปกคลุม

สภาพภูมิศาสตร์ พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเทือกเขาแอลป์

ประชากร 34,761 คน (กรกฎาคม 2552 (ค.ศ.2009))

เมืองหลวง วาดุซ (Vaduz)

เชื้อชาติ อลิมานนิค-ลาติน (Alemannic-Latin) ร้อยละ 87.5 และอีกร้อยละ 12.5 เป็นชาว อิตาเลียน เติร์ก และอื่นๆ

ศาสนา ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 80 นับถือนิกายโรมันคาธอลิก ร้อยละ 7 นับถือนิกายโปรเตสแตนท์

เงินตรา สวิสฟรังก์ อัตราแลกเปลี่ยนโดยประมาณ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ = 1.03 สวิสฟรังก์ (กันยายน (ค.ศ.2009))

ภาษา เยอรมัน (ภาษาราชการ)

วันประกาศเอกราช 23 มกราคม 2262 (ค.ศ. 1719)

ประมุขประเทศ H.S.H. Prince Hans-Adam II (11 พฤศจิกายน 2532 (ค.ศ.1989))

หัวหน้ารัฐบาล นายกรัฐมนตรี Otmar Hasler (มีนาคม 2548 (ค.ศ.2005)) รัฐบาลประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอีก 4 คน

ระบบการปกครอง ประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยแบ่งเขตปกครอง แบ่งเป็น 11 เขต (Commune) คือ Balzers, Eschen, Gamprin, Mauren, Planken, Ruggell, Schaan, Schellenberg, Triesen, Triesenberg, Vaduz

รัฐสภา มีสภาเดียว คือ Diet (Landtag) เลือกตั้งครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2541 (ค.ศ.1998)สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมี 25 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนทุก 4 ปี

Page 19: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

1�

TEFTA

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ลิคเตนสไตน์เป็นสมาชิกในองค์กรสำคัญๆ เช่น คณะมนตรีแห่งยุโรป (Council of Europe-CE) องค์การเพื่อความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป (Organization for Security and Cooperation in Europe - OSCE) ความตกลงวา่ดว้ยการจดัตัง้เขตเศรษฐกจิยโุรป (European Economic Area-EEA) องคก์ารสหประชาชาต ิ(United Nations-UN) องค์การการค้าโลก (World Trade Organization-WTO)

นโยบายต่างประเทศ ดำเนินนโยบายเป็นกลาง โดยมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสวิตเซอร์แลนด์ มีความตกลงทางศุลกากรกับสวิตเซอร์แลนด์ (ปี 2467/1924) ให้ศุลกากรสวิตเป็นผู้จัดเก็บภาษีศุลกากรให้ลิคเตนสไตน์ และทำความตกลงให้สวิตเซอร์แลนด์เป็นตัวแทนรักษาผลประโยชน์ในต่างประเทศ (ปี2462/1919) นอกจากนั้น ยังมีสนธิสัญญากับสวิตเซอร์แลนด์ด้านบริการ ไปรษณีย์ โทรเลข และโทรศัพท์ ประเทศที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดรองจากสวิตเซอร์แลนด์ คือ ออสเตรีย ซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดทั้งด้านประวัติศาสตร์และเชื้อชาติ ลิกเตนสไตน์แต่งตั้งเอกอัครราชทูตไปประจำเพียงประเทศเดียวคือ สวติเซอรแ์ลนด ์ สว่นออสเตรยีกบันครวาตกินัมเีพยีงเอกอคัรราชทตูทีไ่มม่ถีิน่ทีอ่ยูเ่ปน็ผูแ้ทนทางการทูตลิคเตนสไตน์เข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติเมื่อปี 2533 (ค.ศ.1990)

เศรษฐกิจการค้า

การผลิตภาคอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ การผลิตโลหะ สิ่งทอ เซรามิค เวชภณัฑ ์อาหาร precision instruments การท่องเที่ยว การผลิตภาคเกษตรกรรม ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโพด มันฝรั่ง ปศุสัตว ์ผลผลตินม เนย แรงงาน 22,187 คน ในจำนวนนี้ 13,576 คนเป็นชาวต่างชาติ 7,781 คน เดินทางไป-กลับออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ทุกวัน ประเภทแรงงานทำงานในภาคอุตสาหกรรม การค้า และการก่อสร้างร้อยละ 45 ภาษี มีการเก็บภาษีในอัตราที่ตำ่ สำหรับบริษัทที่ตั้งขึ้นใหม่จะมีช่วงปลอดภาษ ีขึ้นกับประเภทธุรกิจ ภาษีสำหรับ estate tax เก็บในอัตราร้อยละ 0.2 - 0.9 ภาษีเงินได้อัตราร้อยละ 4-18 สำหรับบรษิทัถอืหุน้ (holding company) ทีม่ถีิน่ทีอ่ยูใ่นลกิเตนสไตนไ์ด้รบัสทิธพิเิศษไมต่อ้งเสยีภาษ ี นโยบายด้านเศรษฐกิจ มีความร่วมมือใกล้ชิดกับสวิตเซอร์แลนด์ และเข้าร่วมกลุ่ม EFTA ตั้งแต่ปี 2503 (ค.ศ.1960) มีส่วนร่วมในความตกลงเขตการค้าเสรีระหว่างสวิตเซอร์แลนด์กับยุโรป และเป็นภาคีความตกลงเขตเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Area) ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ปี 2538 (ค.ศ.1995) หลังปี 2488 (ค.ศ.1945) ได้เปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจจากเกษตรกรรมเป็นการท่องเที่ยว ภาคบริการทางการเงิน และอุตสาหกรรม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก คือ อุตสาหกรรมผลติเครือ่งจกัรกล สิง่ทอ เซรามคิ ผลติภณัฑ ์เคมแีละยา อเิลก็ทรอนกิส ์และอาหารกระปอ๋ง

Page 20: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

1�

TEFTA

ราชอาณาจักรนอร์เวย์

Kingdom of Norway

ข้อมูลทั่วไป

ที่ตั้ง ฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทิศใต้ติดกับทะเลเหนือ ทิศตะวันออกติดกับฟินแลนด์ สวีเดน และรัสเซีย ทิศตะวันตกติดกับทะเลนอร์วีเจียน พื้นที ่324,219 ตารางกิโลเมตร ประชากร 4.6 ล้านคน (ปี 2552 (ค.ศ.2009)) ภาษา Norwegian ภาษาเขียนมี 2 แบบคือ Bokmal และ Nynorsk ศาสนา ร้อยละ 88 นับถือศาสนาคริสต์ นิกาย Evangelical Lutheran (ซึ่งเป็น Official State-religion) เมืองหลวง กรุงออสโล (Oslo) เงินตรา Norwegian Krone (NOK) อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ = 5.95 NOK (กันยายน ปี 2552 (ค.ศ.2009)) วันชาต ิ 17 พฤษภาคม (วันรัฐธรรมนูญ) ระบบการเมือง ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีเฮรัลด์ที่ 5 (King Harald V) นายกรัฐมนตร ี นาย Jens STOLTENBERG (ตั้งแต่วันที่ 17 ตุลาคม 2550 (ค.ศ.2007)) สถาบันการเมือง นอร์เวย์มีสภาเดียว คือ สภาผู้แทนราษฎร (Storting) มีจำนวนสมาชิก 165 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน (ประชาชนที่มีสิทธิลงคะแนนเสียงต้องมีอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์) และมีวาระสมาชิกภาพ 4 ปี และไม่อาจถูกยุบสภาได้ คณะรัฐมนตรีได้รับแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์มีหน้าที่ดำเนินนโยบายบริหารประเทศด้วยความเห็นชอบจากรัฐสภา สำหรับฝ่ายตุลาการ ผู้พิพากษาได้รับแต่งตั้งจากคณะรัฐมนตร ีแตม่อีำนาจในการพจิารณาคดีอย่างอิสระ

การเมอืงการปกครอง สภาวะทางการเมอืง เมือ่วนัที ่28 พฤศจกิายน 2537 (ค.ศ. 2004) มีการลงประชามติเพื่อเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป โดยร้อยละ 52.5 ลงคะแนนเสียงคัดค้าน และร้อยละ 47.5 ลงคะแนนเสียงสนับสนุน จึงเป็นผลให้นอร์เวย์ไม่ได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป บทบาททีโ่ดดเดน่ของนอรเ์วยใ์นกจิการระหวา่งประเทศ คอื การสง่เสรมิการรักษาสันติภาพ ดังจะเห็นได้จากบทบาทที่แข็งขันในกิจการภายใต้กรอบองค์การสหประชาชาตแิละองคก์าร NATO ตลอดจนการเขา้ไปมสีว่นรว่มในกระบวนการเจรจาสนัตภิาพ

Page 21: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

�0

TEFTA

ในตะวนัออกกลางและในศรีลังกา แนวนโยบายต่างประเทศที่สำคัญของนอร์เวย ์คือ การให้ความสำคัญแก่การส่งเสริมประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน ความมั่นคงของมนุษย์ การค้าเสรี ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ นอร์เวย์และสวีเดนยังเป็นสถานที่มอบรางวัลโนเบล (Nobel prizes) โดยกำหนดจัดขึ้นที่กรุงออสโลและกรุงสตอกโฮล์ม ทุกๆ วันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี โดยจะมีการมอบรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพที่กรุงออสโล

เศรษฐกิจการค้า นอร์เวย์เป็นประเทศที่ต้องพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอย่างมาก และ การประมงเป็นอาชีพหลักของประเทศมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นับตั้งแต่ปี 2513 (ค.ศ.1970) นอรเ์วยไ์ดค้น้พบนำ้มนัและกา๊ซธรรมชาตนิอกชายฝัง่ทะเลเปน็จำนวนมหาศาล ทำให้นอร์เวย์มีสภาวะทางเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งมากขึ้น พื้นที่การค้นพบแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติในนอร์เวย์จะอยู่ทางตอนใต้ของทะเลเหนือ อย่างไรก็ตาม นอร์เวย์ตระหนักดีว่าไม่สามารถพึ่งพาการผลิตน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาตินอกชายฝั่งได้ตลอดไป รัฐบาลจึงมีนโยบายที่จะปรับมาตรการเพื่อให้อุตสาหกรรมภายในประเทศ ( t radi t ional commodities) ด้านต่างๆ สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ เช่น สินค้าประมงและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณท์ป่าไม้ การผลิตพลังไฟฟ้าด้วยกำลังน้ำ แร่ธาตุจำพวกอะลูมิเนียม สังกะสี ตะกั่ว ทองแดง การต่อเรือและอุปกรณ์ด้านการเดินเรือทะเล รฐับาลนอรเ์วยไ์ดส้นบัสนนุการพฒันาความเจรญิของประเทศในดา้นการสือ่สาร โทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ การวิจัยและการพัฒนา ตลอดจนเทคโนโลยีในการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมต่างๆ เป็นต้น เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ นอร์เวย์ให้ความสำคัญกับนโยบายการเงินเพื่อรักษาเสถียรภาพของค่าเงินโครน (Kroner) ของนอร์เวย์ โดยควบคุมการขยายตัวของเงินเฟ้อให้อยู่ในระดับต่ำ (ไม่เกินร้อยละ 2.5) บริษัทจัดอันดับความน่าเชื่อถือ Standard & Poor ได้จัดอันดับความน่าเชื่อถือของนอร์เวย์ให้อยู่ในระดับ AAA โดยเห็นว่า นอร์เวย์มีวินัยทางการเงินการคลังในระยะยาวและภาครัฐมีทรัพย์สินส่วนเกินมาก

การลงทุน พื้นที่สำคัญที่นอร์เวย์ลงทุนในต่างประเทศ ได้แก่ สหภาพยุโรป (ร้อยละ 52.3) เดนมาร์ก (ร้อยละ 14.9) ประเทศในเอเชีย (ที่สำคัญ คือ ญี่ปุ่น อินเดีย สิงคโปร์ และไทย) (ร้อยละ 14.9) และสหรัฐอเมริกา (ร้อยละ 13.8) อุตสาหกรรมที่นอร์เวย์นิยมมาลงทุนในไทย ได้แก่ กิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์หนังและเหล็ก กิจการผลิตกระป๋องอะลูมิเนียม อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง อุตสาหกรรมพลาสติก ซอฟแวร์ รวมทั้งสาขาปิโตรเลียม ซึ่งบริษัท Statoil เข้ามาร่วมลงทุนกับการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยใน

Page 22: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

�1

TEFTA

โครงการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยตั้งแต่ปี 2533 (ค.ศ.1990) จนกระทั่งในปี 2540 (ค.ศ.1997) บริษัท Statoil ได้ถอนตัวออกจากธุรกิจในไทยทั้งหมดเนื่องมาจากนโยบายของบริษัทแม่ในการรักษาผลกำไรโดยรวมของบริษัท

ความร่วมมือกับไทยเพื่อการพัฒนา นอรเ์วยใ์หค้วามชว่ยเหลอืดา้นการพฒันาแกไ่ทยทัง้ในระดบัทวภิาคแีละพหภุาคใีนด้านต่างๆ อาทิ การพัฒนาแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติในทะเล สื่อสารโทรคมนาคม การพัฒนาพลังงานน้ำ เทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมการประมง โดยนอร์เวย์มีหน่วยงาน NORAD (Norwegian Agency for International Development) ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการแก่ต่างประเทศ ความช่วยเหลือและความร่วมมือที่นอรเ์วยใ์หแ้กไ่ทย อาท ิโครงการพฒันาบคุลากรดา้นการบรหิารกจิการปโิตรเลยีม โดยสถาบนั Norwegian Petroleum Directorate (NPD) คัดเลือกเจ้าหน้าที่จากกระทรวงอุตสาหกรรมเข้ารับการอบรมด้าน Petroleum Policy and Management โครงการจัดตั้งระบบสำรวจและพยากรณ์ทางสมุทรศาสตร์และสภาพแวดล้อมทางทะเล (Thai Seawatch Project) ภายใต้โครงการเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำจากรัฐบาลนอร์เวย์ โดยมีบริษัท OCEANOR ของนอร์เวย์ เป็นผู้ดำเนินการร่วมกันกับสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

Page 23: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

��

TEFTA

สมาพันธรัฐสวิส

Swiss Confederation

ข้อมูลทั่วไป

ที่ตั้ง สมาพนัธรฐัสวสิหรอืสวติเซอรแ์ลนดต์ัง้อยูก่ลางทวปียโุรป ลอ้มรอบดว้ยเทอืกเขาแอลป ์เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล ทิศเหนือจรดสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ทิศตะวันออกจรดออสเตรียและลิกเตนสไตน์ ทิศใต้จรดอิตาลี ทิศตะวันตกจรดฝรั่งเศส เมืองหลวง กรุงเบิร์น (Bern) พื้นที ่41,284 ตารางกิโลเมตร ประชากร 7.4 ล้านคน ภาษา เยอรมัน ฝรั่งเศส และอิตาเลียน ศาสนา โรมันคาทอลิกร้อยละ 42 โปรแตสแตนร้อยละ 33 อิสลามร้อยละ 4.3 และอื่นๆ ร้อยละ 5.4 ไม่มีศาสนาร้อยละ 11 สกุลเงิน สวิสฟรังก์ (Swiss franc) 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 1.03 สวิสฟรังก์ (กันยายน 2552 (ค.ศ. 2009)) วันชาติ 1 สิงหาคม ระบบการเมือง ระบอบประชาธิปไตยในรูปของสมาพันธรัฐฯ ประธานาธิบดี Hans-Rudolf MERZ (ตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 (ค.ศ. 2009))

เศรษฐกิจการค้า สวติเซอรแ์ลนดม์ทีรพัยากรธรรมชาตจิำกดั แตเ่ปน็ประเทศทีม่เีศรษฐกจิเจรญิมากประเทศหนึง่ โดยเฉพาะดา้นอตุสาหกรรมสิง่ทอ นาฬกิา เคมภีณัฑ์ ยา เครือ่งจกัร และการธนาคาร ประชาชนมีรายได้ประชาชาติต่อหัวและค่าแรงสูงที่สุดประเทศหนึ่งของโลก การคา้ระหวา่งประเทศเปน็ปจัจยัสำคญัตอ่การเตบิโตของเศรษฐกจิประเทศ โดยการสง่ออกสินค้าและบริการเป็นแหล่งรายได้สำคัญของสวิตเซอร์แลนด ์ (Net Exporter) สินค้าส่งออกหลักของประเทศ คือ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเหล็กและเครื่องจักร เคมีภัณฑ์และยาในอุตสาหกรรมอาหารนั้นช็อกโกแล็ตและชีสเป็นที่รู้จักเป็นอย่างมากพอๆ กับอุตสาหกรรมนาฬิกา บริษัทประกันภัยของสวิตเซอร์แลนด์เริ่มเป็นที่นิยมทั่วโลก อุตสาหกรรมท่องเที่ยวสร้างรายได้ให้กับประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากสวิตเซอร์แลนด์ตั้งอยู่ใจกลางยุโรป นโยบายเศรษฐกจิของประเทศยงัคงเนน้ไปทีก่ารคา้เสร ีโดยคดิภาษนีำเขา้สนิคา้ในอตัราทีต่ำ่ การลงทุน สวิตเซอร์แลนด์เป็นประเทศในกลุ่ม EFTA ที่เข้ามาลงทุนในไทยมากที่สุด เป็น นักลงทุนอันดับที่ 11 ของไทย ในช่วงปี 2550 (ค.ศ. 2007) การลงทุนของสวิตเซอร์แลนด์มีมูลค่า 172.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่มีมูลค่า 153.90 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

Page 24: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

��

TEFTA

(เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.9) สวติเซอรแ์ลนดม์โีครงการลงทนุขนาดใหญเ่ปน็อตุสาหกรรมเบาและอตุสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ โครงการผลิตชิ้นส่วน/อุปกรณ์ที่ใช้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ โครงการขยายกิจการผลิตสิ่งปรุงแต่งสำหรับประทินร่างกาย (Hair care & Skin care Products) โครงการขยายกิจการผลิตเครื่องดื่มจากพืช ผัก ผลไม้ โครงการขยายกิจการผลิตภัณฑ์โลหะ รวมทั้งชิ้นส่วนโลหะ (Steel Tire Cord) และเครื่องจักร โครงการขยายกิจการผลิต Non-dairy creamer และโครงการขยายกิจการผลิตชิ้นส่วน ยานพาหนะ บริษัทสวิตเซอร์แลนด์ที่เข้ามาลงทุนในไทย เช่น บริษัท Star Soleil Group (ผลติภณัฑเ์ครือ่งนอน เชน่ หมอนขา้ง มุง้ ผา้นวม), กลุม่บรษิทั Bischoff Gamma (ลกูไม)้, บริษัท Novatis (เภสัชกรรม คอนแทกเลนส์), บริษัท Nestle Manufacturing (Thailand) (อาหาร), บรษิทั Nahm Sanitary (สขุภณัฑ)์, B P Air (การขนสง่ทางอากาศ), บรษิทั Proctor & Gamble Manufacturing (ผลิตภัณฑ์บำรุงผม), บริษัท Quality Coffee Products (กาแฟชงสำเร็จรูป), บริษัท Ronda (Thailand) (ส่วนประกอบนาฬิกา), กลุ่มบริษัท ETA (Thailand) (ผลิตชิ้นส่วนนาฬิกาให้แก่ Swatch Group), บริษัท Michelin Siam (ยางรถบรรทุกและผลิตภัณฑ์ยาง) และบริษัท ABB (อุปกรณ์ด้านกระแสไฟฟ้า) เป็นต้น

Page 25: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

��

TEFTA

กระทรวงพาณิชย์

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ สำนักยุโรป ตะวันออกกลาง และแอฟริกา 44/100 ถนนนนทบุรี 1 ตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์ : 0 2507 7444 โทรสาร : 0 2547 5630-1 Call Center : 0 2507 7555 Website : www.dtn.go.th , www.thaifta.com

สถานเอกอัครราชทูต EFTA ในประเทศไทย

สถานเอกอัครราชทูตนอร์เวย์ ประจำประเทศไทย Royal Norwegian Embassy : อาคารยูบีซี 2 ชั้น 18 เลขที่ 591 ถนนสุขุมวิท ซอย 33 กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0 2261 0230 โทรสาร : 0 2262 0218 E-mail : [email protected] Website : http://www.emb-norway.or.th

สถานเอกอัครราชทูตสวิตเซอร์แลนด์ ประจำประเทศไทย Embassy of Switzerland in Bangkok : 35 ถนนวิทยุ กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : 02 253 01 56 โทรสาร : 02 255 44 81 E-mail : [email protected] Website : http://www.swissembassy.or.th

แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับ EFTA

www.efta.int www.thaifta.com

5. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ EFTA

Page 26: ความตกลงการค้าเสรีthaifranchisedownload.com/dl/group12120120615153010.pdf · 2020. 5. 28. · EFTA Convention EFTA Convention เป็นความตกลงที่ให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป