A4 th

28
โครงการเพื่อออกแบบและกอสรางระบบการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืน และระบบแกไขปญหาอุทกภัยของประเทศไทย MODULE A4 การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกัน การกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา 1 4-10-2013

Transcript of A4 th

Page 1: A4 th

โครงการเพือ่ออกแบบและกอสรางระบบการบรหิารจัดการทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืน และระบบแกไขปญหาอทุกภัยของประเทศไทย

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้าํสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

14-10-2013

Page 2: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

ที่มาและความสําคัญ

WHY ?ทําไมต้องทําโครงการนี้

11..

สถานภาพโครงการ

HOW ?ทําอย่างไร

33..

ประเด็นการนําเสนอ

4-10-2013

วัตถุประสงค์พื้นที่ดําเนินการปัญหาและแนวคิดในการดําเนินการ

WHAT ?โครงการนี้ทําอะไร แล้วได้อะไร

22..

สถานภาพโครงการขั้นตอนการดําเนินโครงการ แผนงานโครงการ

2

Page 3: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

ก���ก������� ������������� ����������������������������ก ���� �� �ก��!"� �������# 2554

�����%� �&�������� ' ����������ก(��)����ก*+,� �)�-��,����ก����(.����-/������ ��-����(ก ���ก��

ที่มาและความสําคัญ

4-10-2013

-��,����ก����(.����-/������ ��-����(ก ���ก���0&�ก(�ก��ก(+�1�� �*���*����� �� (Module A4) ��%���������(ก ���23ก����������ก���ก������&��ก/(�-����(.����� ������������������� ��-��� 4�+3��� �������ก���ก������� ������ ���5 �������� ���� ���� ��������� ����(ก���-.���� ������������ก����5 ����&5��'

3

Page 4: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

วัตถุประสงค์

� สํารวจ ออกแบบ ปรับปรุงสภาพลําน้าํสายหลัก และป้องกันการกัดเซาะตลิ่งริมแม่น้ํา (River Bank Protection) ในพืน้ที่แม่น้ํายม น่าน และเจ้าพระยา

4-10-2013

แม่น้ํายม น่าน และเจ้าพระยา

� งบประมาณ 16,703 ล้านบาท

� ก่อสร้างแล้วเสร็จภายในระยะเวลา 5 ปี

4

Page 5: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

สํารวจ ออกแบบ และก่อสร้างปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลัก และป้องกันการกัดเซาะตลิ่งริมแม่น้ํา (River Bank Protection) ในพื้นที่แม่น้ํายม น่าน เจ้าพระยา ประกอบด้วย

- ปรับปรุงขยายแม่น้ําพิจิตร (แม่น้ําน่านสายเก่า) ช่วงจังหวัด พิจิตร โดยขุดขยายให้เต็มแนวเขตแม่น้ําเดิมตลอดสาย พร้อมสร้าง อาคารบังคับน้ําที่จําเป็น โดยคงวัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์เดิม

จ.พิษณุโลก

จ.สุโขทัย

จ.พิจิตรจ.กําแพงเพชร

จ.นครสวรรค์

อ.พิชัยอ.สวรรคโลก

อ.โพทะเล

อ.บางกระทุ่ม

โครงการขุดขยายคลองหกบาท คลองผันน้ํายม-น่าน จ.สุโขทัย

อ.บางระกํา

อ.โพธิ์ประทับช้าง

อ.ชุมแสง

อ.บางมูลนาก

อ.ตะพานหิน

โครงการปรับปรุงขยายแม่น้ําพิจิตร ช่วงจังหวัดพิจิตร

พื้นที่ดําเนินการ

4-10-2013

อาคารบังคับน้ําที่จําเป็น โดยคงวัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์เดิม

- ขุดขยายคลองหกบาท คลองผันน้ํายม-น่าน ในจังหวัดสุโขทัย ให้มีอัตราการไหล 100 ลบ.ม./วินาที

- ขุดคลองสายใหมเ่พื่อแก้ปัญหาช่วงคอขวดในจังหวัดพระนคร – ศรีอยุธยา จากอําเภอบางบาล ถึง อําเภอบางไทร ระยะทาง ประมาณ 23 กิโลเมตร เพื่อให้มีอตัราการไหลไม่น้อยกว่า 1,200 ลบ.ม./วินาที พร้อมอาคารบังคับน้ํา โครงการขุดคลองสายใหม่

ช่วงคอขวด จ.พระนครศรีอยุธยาจาก อ.บางบาล ถึง อ.บางไทร

จ.อยุธยา

จ.นครสวรรค์

จ.อุทัยธานี

จ.ชัยนาท

จ.ลพบุรี

จ.อ่างทอง

อ.บางไทร

อ.บางบาล

อ่าวไทย

จ.กรุงเทพจ.ปทุมธานี

จ.สมุทรปราการ5

Page 6: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

สภาพปัญหา11. . โครงการปรับปรุงขยายแม่น้ําพิจิตรโครงการปรับปรุงขยายแม่น้ําพิจิตรช่วงจังหวัดพิจิตรช่วงจังหวัดพิจิตร

จังหวัดพิจิตร

อ.โพธิ์ประทับช้าง

อาคารบังคับน้ําดงเศรษฐี

- แม่น้ําน่านช่วงจังหวัดพิจิตรมีปัญหาน้ําท่วมเป็นประจําทุกปี

- แม่น้ําพิจิตรมีศักยภาพในการระบายน้ําหลากบางส่วนจากแม่น้ําน่านไปยังแม่น้ํายม ในช่วงเวลาที่แม่น้ํายมมีระดับต่ํา

4-10-2013อาคารบังคับน้ําบางคลาน

อ.โพทะเล

อ.ตะพานหิน

อ.บางมูลนาก

อาคารบังคับน้ําวัดขวาง

ไปยังแม่น้ํายม ในช่วงเวลาที่แม่น้ํายมมีระดับต่ํา- แม่น้ําพิจิตรบริเวณจุดแยกจากแม่น้ําน่านมีลักษณะเป็นท่อระบายน้ํา

ขนาดเล็ก คลองช่วงต้นมีความกว้างน้อย ในแม่น้ํามีสิ่งกีดขวางการไหลของน้ําเป็นจํานวนมาก จึงระบายน้ําได้น้อย ปัจจุบันจึงใช้แม่น้ําพิจิตรในการเก็บกักน้ําเป็นหลัก

- การใช้แม่น้ําพิจิตรในการระบายน้ําหลากจากแม่น้ําน่าน จําเป็นต้องทําการปรับปรุงขยายแม่น้ําพิจิตร และกําจัดสิ่งกีดขวางในลําน้ํา

6

Page 7: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

แม่น้ํายมช่วงท้ายน้ําของคลองหกบาท มีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ ทําให้เกิดปัญหาน้ําท่วมตัวเมืองสุโขทัย อ.สวรรคโลก และ อ.กงไกรลาศ

คลองหกบาทและคลองผันน้ํายม-น่าน ทําหน้าที่ระบายน้ําหลากบางส่วนจากแม่น้ํายมไปลงแม่น้ําน่าน แต่อาคารระบายน้ําหลายแห่งยังมีขนาดเล็ก และมีสิ่งก่อสร้างกีดขวางทางน้ํา จึงไม่สามารถระบายน้ําได้ที่อัตรา 100 ลบ.ม./

22. . โครงการขุดขยายคลองหกบาท คลองผันน้ํายมโครงการขุดขยายคลองหกบาท คลองผันน้ํายม--น่าน จังหวัดสุโขทัยน่าน จังหวัดสุโขทัยสภาพปัญหา

4-10-2013

ขวางทางน้ํา จึงไม่สามารถระบายน้ําได้ที่อัตรา 100 ลบ.ม./วินาที ตามที่ออกแบบ

ฝายทดน้ํา

ทรบ.คลองน้ําไหล

สะพานรถทางรถไฟ

ท่อส่งน้ําชลประทาน

สะพานรถยนต์7

Page 8: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

แม่น้ําเจ้าพระยาช่วงจากเขื่อนเจ้าพระยา-บางบาลมีขนาดใหญ่ระบายน้ําได้ 2,700-3,500 ลบ.ม./วินาที เมื่อไหลผ่านตัวเมืองพระนครศรีอยุธยามีลักษณะเป็น คอขวดระบายน้ําได้เพียง 1,300 ลบ.ม./วินาที และยังมี

33. . โครงการขุดคลองสายใหม่ ช่วงคอขวดโครงการขุดคลองสายใหม่ ช่วงคอขวด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จาก อจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จาก อ..บางบาล บางบาล ถึง ถึง ออ..บางบางไทร ไทร

เขื่อนเจ้าพระยาจ.ชัยนาท

จ.สิงห์บุรีแม่น้ําลพบุรี

คลองบางแก้ว

จ.อ่างทอง

แม่น้ํา

น้อย

ปตร.บรมธาตุ

สภาพปัญหา

4-10-2013

เมื่อไหลผ่านตัวเมืองพระนครศรีอยุธยามีลักษณะเป็น คอขวดระบายน้ําได้เพียง 1,300 ลบ.ม./วินาที และยังมี แม่น้ําป่าสักและแม่น้ําลพบุรีไหลมาบรรจบ

แม่น้ําเจ้าพระยาบริเวณตัวเมืองพระนครศรีอยุธยาจึงประสบปัญหาน้ําท่วมบ่อยครั้งและมีความเสียหายเนื่องจากน้ําท่วมสูง

จ.อ่างทอง

จ.พระนครศรีอยุธยา

คลองโผงเผง

คลองบางบาล

แม่น้ํา

เจ้าพ

ระยา อ.บางไทร

กรุงเทพมหานคร

แม่น้ําลพบุรี

8

Page 9: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

11. . โครงการปรับปรุงขยายแม่น้ําพิจิตรโครงการปรับปรุงขยายแม่น้ําพิจิตร

จังหวัดพิจิตร

อ.โพธิ์ประทับช้าง

แนวคิดหลักคือการใช้แม่น้ําพิจิตรในการช่วยระบายน้ําจากแม่น้ําน่านก่อนไหลผ่านตัวเมืองพิจิตรให้ได้มากที่สุด

การปรับปรุงจะดําเนินการในเขตคลองเดิม

แม่น้ําพิจิตรช่วงต้นมเีขตคลองน้อยกว่าบริเวณอื่นๆ และลดอัตราการไหลของแม่น้ําพิจิตร

คลองช่วงที่มีความกว้างน้อยและผ่านพื้นที่ชุมชนจะพิจารณาปรับปรุงเป็นคลองคอนกรีต เนื่องจากน้ําไหลได้ดี

แนวคิดในการปรับปรุงแม่น้ําพิจติรแนวคิดในการปรับปรุงแม่น้ําพิจติร

4-10-2013

อ.โพทะเล

อ.โพธิ์ประทับช้าง

อ.ตะพานหิน

อ.บางมูลนาก

พิจารณาปรับปรุงเป็นคลองคอนกรีต เนื่องจากน้ําไหลได้ดี ส่วนคลองช่วงที่มีความกว้างมากจะพิจารณาเป็นคลองดินรูปสี่เหลี่ยมคางหมเูนื่องจากมีค่าก่อสร้างต่ํา และหลีกเลี่ยงการปรับปรุงคลองเกินเขตคลองเดมิ

พิจารณาผลกระทบด้านอื่นๆ ที่จะตามมา เช่น การระบายน้ําของพื้นที่ลุ่มริมแม่น้ําพิจิตร และการกัดเซาะตลิ่งแม่น้ํา

แม่น้ําพิจิตรมีศักยภาพในการปรับปรุงให้สามารถระบายน้ําได้ประมาณ 100 ลบ.ม./วินาที

สามารถเก็บกักน้ําในลําน้ํา เพื่ออุปโภค-บริโภคและการเพาะปลูกในช่วงฤดูแลง้ 9

Page 10: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

การปรับปรุงบริเวณปากแม่น้ําพิจิตร (แม่น้ําน่านถึงคลองชลประทาน)

� ขุดคลองเชื่อมต่อไปยังแม่น้ําน่าน เขตคลองประมาณ 50 ม. � ก่อสร้างอาคารบังคับน้ําปากคลองและ

4-10-2013

� ก่อสร้างอาคารบังคับน้ําปากคลองและ ไซฟอน ลอดคลองชลประทาน� เชื่อมต่อระบบสูบน้ําเดิมเข้ากับคลองขุดใหม่

10

Page 11: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

การกําจัดอาคารสิ่งกีดขวางทางน้ําในแม่น้ําพิจิตร

สิ่งกีดขวางทางน้ํา แนวคิดในการปรับปรุงอาคารบังคับน้ํา ขนาดไม่เพียงพอต่อการระบายน้ํา 100 ลบ.ม. เสนอให้รื้อแล้วก่อสร้างประตูระบาย

น้ําใหม่

สะพานรถยนต์ / สะพานคนข้าม

สะพานที่มีขนาดเล็กกว่าคลองที่ปรับปรุงหรือมีระดับฐานตอม่อสะพานต่ํากว่าท้องคลอง เสนอให้รื้อแล้วก่อสร้างสะพานใหม่

4-10-2013

ทํานบดิน / ท่อลอดถนน รื้อเพื่อก่อสร้างสะพานทดแทน

ฝายทดน้ํา เมื่อมีการปรับปรุงแม่น้ําพิจิตรและก่อสร้างประตูระบายน้ํา จะสามารถควบคุมน้ําในแม่น้ําพิจิตรตลอดสายได้ จึงไม่จําเป็นต้องมีฝายเพื่อทดน้ํา เสนอให้รื้อถอน

องคป์ระกอบโครงการเพื่อการแก้ปัญหาการระบายน้ําในอัตรา 100 ลบ.ม/วินาที� เพิ่มคันป้องกันน้ําท่วม ระบบระบายน้ํา และสูบน้ําในบางช่วงที่แม่น้ําพิจิตรมีตลิ่งอยู่ต่ํา� ให้มีการป้องกันการกัดเซาะตลิ่งแม่น้ําพิจิตร บริเวณที่มีความคดเคี้ยวมาก� สถานีโทรมาตร ติดตั้งอุปกรณ์วัดระดับน้ํา

11

Page 12: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

1) งานปรับปรุงแม่น้ําพิจิตร รวมระยะทาง 127.30 กม.

2) ประตูระบายน้ํา ความกว้าง 6 ม. จํานวน 3 ช่อง รวม 3 แห่ง

3) ท่อลอดคลองส่งน้ําชลประทาน (Siphon) 1 แห่ง

4) สะพาน 59 แห่ง

จ.พิจิตร

อ.โพธิ์ประทับช้าง

ปตร.ดงเศรษฐีSiphon

คลอง ค.ส.ล.คลองดาดคอนกรีตที่ลาดตลิ่ง

คลองดินช่วงเหนือ อ.โพธิ์ประทับช้าง

คลองดาดคอนกรีตที่ลาดตลิ่ง

อาคารบังคับน้ําคลองระบาย

อาคารบังคับน้ําคลองระบายองค์ประกอบโครงการ

4-10-2013

4) สะพาน 59 แห่ง

5) อาคารบังคับน้ําคลองระบาย 9 แห่ง

6) งานป้องกนัการกดัเซาะตลิ่ง 25 แห่ง

7) งานรื้อฝายทดน้ําเดมิ 25 แห่ง

8) สถานีสบูน้ํา 4 แห่ง

9) คันกั้นน้ําริมคลอง รวมความยาว 16 กม

10)สถานีโทรมาตร ตดิตั้งอุปกรณ์วัดระดับน้ํา(WL) 6 จุด

ปตร.วัดขวาง

ปตร.บางคลาน

อาคารบังคับน้ําคลองระบาย

อาคารบังคับน้ําคลองระบาย

คลองดินช่วงใต้ อ.โพธิ์ประทับช้าง

12

Page 13: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

22. . โครงการขุดขยายคลองหกบาท คลองผันน้ํายมโครงการขุดขยายคลองหกบาท คลองผันน้ํายม--น่าน จังหวัดสุโขทัยน่าน จังหวัดสุโขทัย

ปตร.คลองหกบาท

ที่ตั้งโครงการ

4-10-2013

อ.พิชัย

อ.สวรรคโลก

อ.ศรีนคร

ปตร.คอรุม

ปตร.หาดสะพานจันทร์

13

Page 14: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

- ลดความลาดชันของคลองในช่วง กม.5 - 23 โดยการขุดลอกคลองในลักษณะขั้นบันได

ลาดท้องคลอง 1 ต่อ 25,000

- ขยายความกว้างคลองในส่วนทีเ่ป็นชานคลองฝัง่ละ 1 เมตร

การปรับปรุงคลองหกบาท คลองผันน้ํายม-น่าน เพื่อระบายน้ําที่อัตรา 100 ลบ.ม./วินาที

4-10-2013

- ขยายความกว้างคลองในส่วนทีเ่ป็นชานคลองฝัง่ละ 1 เมตร

- สร้างอาคารน้ําตกความสูงประมาณ 1 เมตร จํานวน 7 แห่ง

14

Page 15: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

การลดสิ่งกีดขวางในคลองหกบาท คลองผันน้ํายม-น่าน เพื่อระบายน้ําที่อัตรา 100 ลบ.ม./วินาที

1) ��*�� ��..��&�� ����� 1 ����2) ��(.������&-��� ���������������%� Siphon 1 ����3) -����-�����2�8 1 ����4) -����-�����2�� " 2 ����5) �5 &:���+� �� 5 ����

4-10-2013

ก่อสร้างสะพานรถยนต์1ท่อส่งน้ําชลประทาน

ทรบ.คลองน้ําไหล

ก่อสร้างสะพานรถยนต์2

ก่อสร้างสะพานรถไฟ

ฝายทดน้ํา

ปรับปรุงคลองยม-น่าน

คลองหกบาท

5) �5 &:���+� �� 5 ����

15

Page 16: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

อ.ศรีนคร

คลองหกบาท

ปตร.คลองหกบาท

ปตร.ปากคลองตะคร้อ

ปตร.กม.5+668 ปตร.กม.5+850 ปตร.กม.4+485

ปตร.กม.24+836

ทรบ.คลองน้ําไหล 4-3.0x5.0 ม.(ปรับปรุงเพิ่มช่องระบาย ทรบ.เดิมกว้าง 3.0 ม. 4 ช่อง)

ก่อสร้างสะพานรถยนต์ ขนาด 50 ม.(สะพานเดมิรื้อถอน)

ก่อสร้างสะพานรถยนต์ ขนาด 50 ม.ทางหลวง 1318 (สะพานเดิมรื้อถอน)

ปรับปรุงท่อส่งน้ําชลประทานเป็น SIPHON ขนาด Dia.1.0 ม.ปตร.หาดสะพานจันทร์

4-10-2013

สัญลักษณ์

คลองดินเดิม (ไม่ปรับปรุง) ประตูระบายน้ําเดิม

อ.พิชัย

อ.สวรรคโลก ปตร.คลองน้ําไหล ปตร.คลองกล้วย

ปตร.คอรุม

ก่อสร้างสะพานทางรถไฟ ยาว 50 ม.(สะพานเดมิรื้อถอน)

ก่อสร้างสะพานรถยนต์ ขนาด 50 ม.(สะพานเดมิรื้อถอน)

- ขุดลอกเพื่อขยายและปรับลาดท้องคลอง 18 กม.- อาคารน้ําตก 7 แห่ง- ปรับปรุงท่อระบายน้ําคลองน้ําไหล 1 แห่ง (โดยเพิ่มช่องระบายน้ํา ขนาด 3.0 x 3.0 ม. จํานวน 4 ช่อง)- ปรับปรุงท่อส่งน้ํา โดยเปลี่ยนเป็นท่อลอด 1 แห่ง- ก่อสร้างสะพานรถไฟ ยาว 50 ม. 1 แห่ง- ก่อสร้างสะพานรถยนต์ ยาว 50 ม. 2 แห่ง- รื้อฝายทดน้ําเดมิที่ทรุดโทรมและเสื่อมสภาพ 5 แห่ง สถานีโทรมาตรวัดระดับน้ํา 4 แห่ง 16

Page 17: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

33. . โครงการขุดคลองสายใหม่ โครงการขุดคลองสายใหม่ ช่วงคอขวด จช่วงคอขวด จ..พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา จาก อจาก อ..บางบาล ถึง อบางบาล ถึง อ..บางไทรบางไทร อ.พระนครศรีอยุธยา

อ.บางบาล

4-10-2013

ที่ตั้งโครงการ

อ.บางไทร

อ.บางปะอิน

17

Page 18: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

1) คลองสายใหม่ ความยาวคลอง 21.8 กม.

2) ประตูระบายน้ําแม่น้ําเจ้าพระยา (ปตร.1) 1 แห่ง

3) ประตูระบายน้ําปากคลองสายใหม่ (ปตร.2) 1 แห่ง

4) สะพานรถยนต์ข้ามคลองสายใหม่ 21 แห่ง

อ.พระนครศรีอยุธยา

ทํานบดินปิดกัน้ลําน้ําเดิม

ประตูน้ําแมน่้ําเจ้าพระยา

ประตูน้ําปากคลองสายใหม่

อ.บางบาล

องค์ประกอบโครงการ

4-10-2013

4) สะพานรถยนต์ข้ามคลองสายใหม่ 21 แห่ง

5) ไชฟอนของคลองชลประทานลอดคลองสายใหม่ 16 แห่ง

6) งานป้องกันการกัดเซาะตลิ่ง 4 กม.

7) ท่อรับน้ําลงคลองสายใหม่ 40 แห่ง

8) บันไดลงคลองสายใหม่ 40 แห่ง

9) ก่อสร้างสถานีโทรมาตร 2 สถานี

อ.บางปะอิน

งานป้องกันการกัดเซาะ

สัญลักษณ์ ประตูน้ํา ทํานบดิน คลองสายใหม่ สะพาน ไซฟอน เขื่อนป้องกนัตลิ่ง

อ.บางไทร

18

Page 19: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

องค์ประกอบโครงการ

4-10-2013 19

รูปตัดทั่วไปคลองขุดสายใหม่

Page 20: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

โครงการขุดคลอง สายใหม่ ช่วงคอขวด

จังหวัดพระนครศรอียุธยา

อ.บางบาล อ.พระนครศรีอยุธยา อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา

โครงการปรับปรงุ ขยายแม่น้ําพิจิตรฯ

อ.เมืองพิจิตร อ.โพธิ์ประทับช้าง อ.ตะพานหิน อ.โพทะเล

โครงการขุดขยาย คลองหกบาทฯ

อ.สวรรคโลก อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์

สถานภาพโครงการ

4-10-2013

อ.บางบาล อ.พระนครศรีอยุธยา อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา

• ศึกษา EIA เนื่องจากอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ําระดับชาติคือ

ที่ราบลุม่ภาคกลางตอนลา่ง

อ.เมืองพิจิตร อ.โพธิ์ประทับช้าง อ.ตะพานหิน อ.โพทะเล

จ.พิจิตร

• ไม่เข้าข่ายศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมแต่เสนอให้จัดทํารายงาน IEE

อ.สวรรคโลก อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์

• ไม่เข้าข่ายศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม

แต่เสนอให้จัดทํารายงาน IEE

20

Page 21: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

โครงการที่จะต้องดําเนินการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ได้แก่ 1) โครงการขุดคลองสายใหม่ช่วงคอขวด จ.พระนครศรีอยุธยา จากอําเภอบางบาล ถึงอําเภอบางไทร

โครงการที่เสนอให้ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (IEE) ได้แก่ 2) โครงการปรับปรุงขยายแม่น้ําพิจิตรช่วง จ.พิจิตร และ 3) โครงการขุดขยายคลองหกบาท คลองผันน้ํายม-น่าน จ.สุโขทัย

การศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม

4-10-2013

พิจิตรช่วง จ.พิจิตร และ 3) โครงการขุดขยายคลองหกบาท คลองผันน้ํายม-น่าน จ.สุโขทัย

21

Page 22: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

IEE

รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิสํารวจและเก็บตัวอย่างภาคสนามเฉพาะปัจจัยวิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบัน

การศึกษารายละเอียดโครงการ

การประชุมรับฟังความคิดเห็นครั้งที่ การประชุมรับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 11

การศึกษา IEEการศึกษา IEEขั้นตอนการศกึษา IEE

4-10-2013

รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ภาคสนามเฉพาะปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่สําคัญ

วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบัน

จัดทํามาตรการป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม

������ก���� ��������ก����� ������ก���� ���������� ��� ������ก������������� �����!�� ������"���������� "

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น

การประชุมรับฟังความคิดเห็นการประชุมรับฟังความคิดเห็นครั้งที่ ครั้งที่ 22

22

Page 23: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

EIA

รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ สํารวจและเก็บตัวอย่างภาคสนาม

วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบัน

การศึกษารายละเอียดโครงการ

การศึกษา EIAการศึกษา EIAการประชุมรับฟังความคิดเห็นครั้งที่ การประชุมรับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 11

ขั้นตอนการศกึษา EIA

4-10-2013

รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิภาคสนาม

วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบัน

จัดทํามาตรการป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผน EIMP

������ก���� ��������ก����� ������ก���� ���������� ��� ������ก������������� �����!�� ������"���������� "

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประชุมกลุ่มย่อยการประชุมกลุ่มย่อย

การประชุมรับฟังความคิดเห็นการประชุมรับฟังความคิดเห็นครั้งที่ ครั้งที่ 22

23

Page 24: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

ผลประโยชน์โครงการ

� ������<+3:�-����2������� ���*�* ���ก��,(�� �����ก��ก���� ������ ก�&����,��� (���5&��*�* �.��-������(����� ����4+���ก������,�ก����.��� ����������-�ก(.��*��!� �����ก������ ����������� ������ ����ก(.ก��.�*����(+ก��� ���&���5�&����=�������5�&���������� ��ก���+,�ก���.������ ������5�&���ก��*��!� �����,(�

11. . การปรับปรุงแม่น้ําพิจิตร จการปรับปรุงแม่น้ําพิจิตร จ..พิจิตรพิจิตร

4-10-2013

������� ������ ����ก(.ก��.�*����(+ก��� ���&���5�&����=�������5�&���������� ��ก���+,�ก���.������ ������5�&���ก��*��!� �����,(�

� ก��+����*�ก��,(�� �� 4+���ก������,����ก��.�*����(+ก�����+� ��-����2�+��+(.� ������.�*��! (���5&��(���(+�*�* ����&���/&-�����*��+������! 0.36 ��� 0.04 �. �����+(. (�� �ก��!"�# 2554) &������กD �� ก��,(�� ����ก���� ������������ ���*�* ������� ���������ก�&����ก*+,�ก���.����*��.ก(.� �����ก������ ����

� ��<+3���� -����2������� ���*�* ���ก���กD.ก(ก� ����5�&���ก���กE �ก��� ���ก��&��4/�-.�*4/�24

Page 25: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

� ��<+3:� ��&��ก.�������&�,(�� ����-����-����2������.��� �����ก��ก���� ����.��-���ก�&����,��� (���5&�-�4��(����(����� ������

ก��+����*�ก��,(�� �� 4+���ก������,����ก��.�*����(+ก�����+���-����2�+��+(.� ������.�*��!

22. . การขยายคลองหกบาท และ คลองผันน้ํายมการขยายคลองหกบาท และ คลองผันน้ํายม--น่าน จน่าน จ..สุโขทัยสุโขทัย

ผลประโยชน์โครงการ

4-10-2013

� ก��+����*�ก��,(�� �� 4+���ก������,����ก��.�*����(+ก�����+���-����2�+��+(.� ������.�*��!&���/&-����4�ก (���5&�-�4��(� ���&���/&ก��ก���= �+������! 0.46 �. 0.39 �. ��� 0.04 �. �����+(. (�� �ก��!"�# 2554) 4+���,�ก���. �&ก���ก*+� ������������ ��������&�

� ��<+3���� -����2�����&��ก.�� �����&�,(�� ����-������ก���กD.ก(ก� ����5�&���ก���กE � ���ก��&��4/�-.�*4/�

25

Page 26: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

� ก��,(�� ���� ����&���+-�������� ����������+(.� ������������ ����������� .�*��! (���5&�������=��&��H�� ��+.���.���� ���I�-(ก���&���/&.����&*��+�������! 1.10 �. 0.70 �. ���

33. . การขุดคลองสายใหม่เพื่อแก้ปัญหาคอขวดใน จการขุดคลองสายใหม่เพื่อแก้ปัญหาคอขวดใน จ..พระนครศรีอยุธยา ช่วง อพระนครศรีอยุธยา ช่วง อ..บางบาล บางบาล ถึง อถึง อ..บางไทรบางไทร

ผลประโยชน์โครงการ

4-10-2013 26

������=��&��H�� ��+.���.���� ���I�-(ก���&���/&.����&*��+�������! 1.10 �. 0.70 �. ��� 0.12 �. �����+(. (�� �ก��!"�# 2554) &������กD �� ����,������+(.� ���� &..����� ��*���) ���Dก��&�

Page 27: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

1. ก่อนก่อสร้าง1.1 งานศึกษาความเหมาะสม1.2 งานศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม1.3 การจัดหาที่ดิน1.4 การมีส่วนร่วมของประชาชนและการ

2. ระหว่างก่อสร้าง2.1 การเตรียมงานก่อสร้าง 2.2 งานก่อสร้าง2.3 งานแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม2.4 การมีส่วนร่วมของประชาชนและการ

ขั้นตอนการดําเนินโครงการ

4-10-2013

1.4 การมีส่วนร่วมของประชาชนและการประชาสัมพันธ์

1.5 งานออกแบบรายละเอียด

2.4 การมีส่วนร่วมของประชาชนและการประชาสัมพันธ์

2.5 การฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี

3.1 แผนการจัดการน้ํา3.2 แผนการบํารุงรักษา3.3 แผนการบรหิารควบคุมระบบด้วยระบบไอที3.4 การฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี

3. หลังก่อสร้าง การบํารุงรักษาโครงการ

27

Page 28: A4 th

MODULE

A4การปรับปรุงสภาพลําน้ําสายหลักและการปองกันการกัดเซาะตลิ่งริมแมน้ําในพื้นที่แมน้ํายม นาน เจาพระยา

1. การศึกษาความเหมาะสม ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และออกแบบ ภายในระยะเวลา 1.5 ปี

2. การจัดหาที่ดินและการขออนุญาตใช้พื้นที่ ภายในระยะเวลา 3.5 ปี

แผนงานโครงการ

4-10-2013

2. การจัดหาที่ดินและการขออนุญาตใช้พื้นที่ ภายในระยะเวลา 3.5 ปี

3. การก่อสร้างและควบคุมงาน ภายในระยะเวลา 3.5 ปี

4. การมีส่วนร่วมของประชาชนและการประชาสัมพันธ์ ตลอดระยะเวลาการดําเนนิงาน

28