2011_08 What is Management in Supply Chain Management(1)

3
Global Knowledge 50 Logistics Digest August 2011 เมื่อผมมีโอกาสไปบรรยายให้ความ เห็น หรือแม้แต่เป็นผู้ดำเนินรายการเกี่ยวกับ เรื่องโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ไม่ว่าจะเป็น ระดับห้องเรียนมหาวิทยาลัย ในอุตสาหกรรม หรือในระดับประเทศ สิ่งที่ผมคำนึงอย่างมาก ก็คือ “คำนิยาม”... พวกเราเข้าใจโลจิสติกส์ และโซ่อุปทานที่เรากำลังกล่าวถึงเหมือนกัน หรือไม่ ถ้าเข้าใจกันคนละแบบ มองกันไป คนละทิศละทาง พวกเราจะประสบความ สำเร็จหรือได้ความรู้จากการบรรยายหรือ สนทนานั้นได้อย่างไร หลายๆ ครั้ง มีคำกล่าว ว่า ไม่ต้องพูดถึง “What is...” อีกแล้ว ให้พูด ถึง “How to...” กันเลยดีกว่า เพราะเราพูดกัน มานานแล้ว เข้าใจกันมานานแล้วว่า What is Supply Chain Management? แต่ผมก็ยังไม่ เห็นด้วยนัก ผมมีโอกาสได้อ่านบทความวิชาการ What is Management in Supply Chain Management? - A Critical Review of Definitions, Frameworks and Terminology ซึ่งเขียนโดย Dag Naslund และ Steven Williamson ตีพิมพ์ใน Journal of Manage- ment Policy and Practice vol. 11(4) เมื่อ ปี 2010 น้เอง ที่กล่าววิพากษ์ว่า แม้กระทั่งใน ระดับสากล ซึ่งการจัดการโซ่อุปทานได้มีการ พัฒนามานานและมีระดับวุฒิภาวะมากกว่า ในบ้านเรา ยังคงพบความเข้าใจที่แตกต่าง ของคำนิยาม กรอบโครงสร้าง และคำศัพท์ ที่ใช้ และหลายๆ เรื่องในบทความนี้ ตรงกับ ความเห็นของผมมาก ทั้งยังมีที่มาสำหรับ What is Management in Supply Chain Management? (I) ดร. วิทยา สุหฤทดำรง “What is... “How to” 50 Logistics Digest August 2011

Transcript of 2011_08 What is Management in Supply Chain Management(1)

Page 1: 2011_08 What is Management in Supply Chain Management(1)

Global Knowledge

50Logistics Digest August 2011

เมื่อผมมีโอกาสไปบรรยายให้ความเหน็หรอืแมแ้ต่เปน็ผู้ดำเนนิรายการเกีย่วกบัเรื่องโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ไม่ว่าจะเป็นระดบัหอ้งเรยีนมหาวทิยาลยัในอตุสาหกรรมหรอืในระดบัประเทศสิง่ที่ผมคำนงึอยา่งมากก็คือ “คำนิยาม”...พวกเราเข้าใจโลจิสติกส์และโซ่อุปทานที่เรากำลังกล่าวถึงเหมือนกันหรือไม่ ถ้าเข้าใจกันคนละแบบมองกันไปคนละทิศละทาง พวกเราจะประสบความสำเร็จหรือได้ความรู้จากการบรรยายหรือ

สนทนานัน้ได้อยา่งไรหลายๆครัง้มีคำกลา่วว่าไม่ต้องพูดถึง“Whatis...”อีกแล้วให้พูดถงึ“Howto...”กนัเลยดีกวา่เพราะเราพดูกนัมานานแลว้เขา้ใจกนัมานานแลว้วา่WhatisSupplyChainManagement?แต่ผมก็ยังไม่เห็นด้วยนัก ผมมีโอกาสได้อ่านบทความวิชาการWhat isManagement inSupplyChainManagement? - A Critical Review ofDefinitions,FrameworksandTerminology

ซึ่งเขียนโดยDagNaslund และ StevenWilliamsonตีพิมพ์ในJournalofManage-mentPolicyandPracticevol.11(4)เมื่อปี2010นี้เองที่กลา่ววพิากษ์วา่แม้กระทัง่ในระดบัสากลซึง่การจดัการโซ่อปุทานได้มีการพฒันามานานและมีระดบัวฒุิภาวะมากกวา่ในบ้านเรา ยังคงพบความเข้าใจที่แตกต่างของคำนิยามกรอบโครงสร้างและคำศัพท์ที่ใช้และหลายๆเรื่องในบทความนี้ตรงกับความเห็นของผมมาก ทั้งยังมีที่มาสำหรับ

What is Management in Supply Chain Management? (I) ดร. วิทยา สุหฤท ดำรง

“What is...

“How to”

50Logistics Digest August 2011

Page 2: 2011_08 What is Management in Supply Chain Management(1)

Global Knowledge

August 2011 Logistics Digest

51

อ้างอิงได้ต่อ ผมจึงขอถือโอกาสนำมาเผยแพร่ในที่นี้เป็นตอนๆนะครับ การจัดการโซ่อุปทาน(SupplyChainManagement: SCM) เป็นแนวคิดที่กำลังเป็นที่รู้จักและมีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆอยา่งไรกต็ามSCMไมใ่ช่แนวคดิที่ปราศจากปัญหาปัญหาเหล่านี้รวมถึงการไม่มีนิยามของ SCMที่ยอมรับเป็นสากล และกรอบโครงสร้างหลายแบบจากหลายๆ บริษัทที่แข่งขันกัน และปัญหาด้านศัพท์เฉพาะทางและการไม่มีหลักฐานสำคัญยืนยันว่าประโยชน์ที่ได้รับมาจากSCMวัตถุประสงค์ของรายงานฉบับนี้จึงเป็นการสร้างความกระจ่างเกี่ยวกับแนวคิดของSCM โดยการสำรวจนยิามกรอบโครงสรา้งและศพัท์เฉพาะ ที่โดดเด่น การจัดการโซ่อุปทาน(SupplyChainManagement: SCM) เป็นแนวคิดที่กำลังเป็นที่สนใจและมีความสำคัญมากขึ้น จากมมุมองของผู้ใช้งานรายงานของAccenture(รว่มกับStanfordและInsead)ระบุวา่SCMเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ หรือมีความสำคัญมากสำหรับผู้บริหาร89%ที่ทำแบบสำรวจมากยิ่งไปว่านั้น SCMกำลังมีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะผู้บริหาร 51% ระบุว่าการลงทุนของพวกเขากับSCM เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญในช่วง3ปีที่ผ่านมา (Accenture2010)นอกจากนั้นSCMยังถูกนำมากล่าวถึงและนำมาศึกษาโดยผู้ใช้และนักวิชาการตลอด2ทศวรรษที่ผา่นมาStockและBoyer(2009) อธิบายว่าจำนวนบทความเกี่ยวกับSCMเตบิโตเพิม่ขึน้อยา่งไรหลงัจาก“กระแสฉับพลัน”ที่เริ่มในช่วงกลางทศวรรษ 1990นอกจากนั้นจำนวนปริญญานิพนธ์เกี่ยวกับหวัขอ้ที่เกีย่วขอ้งกบัSCMก็เพิม่ขึน้โดยตลอดนับตั้งแต่ต้นทศวรรษ1990(แหล่งเดิม) สาเหตุข้อหนึ่งที่ความสนใจเกี่ยวกับSCM เพิ่มขึ้นเป็นเพราะว่าองค์กรต่างๆ เริ่มพบว่าตัวเองพึ่งพาโซ่อุปทานหรือเครือข่ายที่มีประสิทธิผลมากขึ้นเพื่อความสำเร็จในการแขง่ขนัในเศรษฐกจิตลาดโลก(Lambert2008) ในสภาพแวดล้อมของการแข่งขันระดับโลกสมรรถนะไม่ได้ขึ้นอยู่กับการตัด

สินใจและกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในองค์กรเดียวอีกต่อไป เพราะการดำเนินการของสมาชิกทุกคนที่มีส่วนร่วมล้วนแล้วแต่ส่วนต่อผลลัพธ์โดยรวมของโซ่อุปทานในทำนองเดียวกันWenและคณะ (2007)สื่อความหมายวา่การแขง่ขนัได้เปลีย่นจากการแขง่ขนั ระหว่างวิสาหกิจมาเป็นการแข่งขันระหว่างโซ่อปุทานเมือ่องคก์รตา่งๆสรา้งพนัธมติรในระดับโลกพวกเขาจำเป็นต้องเข้าใจว่าจะนำSCMมาใช้งานอย่างไรให้ประสบความสำเรจ็(Halldorssonและคณะ2008) โดยเฉพาะ

เมื่อองค์กรต้องเผชิญความท้าทายหลายอยา่งที่รวมถงึการบรรเทาความเสีย่งและการหยุกชะงกัในโซ่อปุทาน(Neureuther,2009)ด้วยสาเหตุเหล่านี้เองบริษัทต่างๆจึงจำเป็นต้องจัดการความสัมพันธ์กับบริษัทอื่นๆ ในโซ่อุปทานเดียวกันด้วย นอกเหนือจากการจดัการองคก์รของตวัเอง(Croxtonและคณะ2001;Stockและคณะ2010) เป็นธรรมชาติที่อีกเหตุผลหนึ่งที่ทำให้มีความสนใจเพิ่มขึ้นคือประโยชน์ที่อาจได้รับจากSCMประโยชน์ดังกล่าวมีตั้งแต่ผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI)ที่ปรับปรุงดีขึ้น เช่นเดียวกับผลตอบแทนจากสินทรัพย์(ROA) “ที่สุดแล้ว เป้าหมายของSCMคือการเพิ่มความสามารถในการทำกำไรโดยการเพิ่มคุณค่าและสร้างประสิทธิภาพ ซึ่งจะเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า” (StockและBoyer 2009, หน้า 703) ในอุดมคติการปรบัปรงุโซ่อปุทานนัน้หมายถงึประโยชน์สำหรับสมาชิกโซ่อุปทานทุกราย ต้นทุนจะลดลงโดยเป็นผลจากความซ้ำซ้อนที่ลดลงระดับสินค้าคงคลังที่ต่ำลง เวลานำที่สั้นลงและความไม่แน่นอนของอุปสงค์ที่ลดลงสมรรถนะของกระบวนการที่ปรับปรุงดีขึ้นมีผลทำให้คณุภาพผลติภัณฑ์การบรกิารลกูคา้ความสามารถในการตอบสนองตลาดและ

การเข้าถึงตลาดกลุ่มเป้าหมายปรับปรุงดีขึ้นหมด(Fisher1997;Lambertและคณะ2005;Leeและคณะ1997;McCarthyและGolicic 2002; Sabath และ Fontanella2002;Stankและคณะ2001;Tanและคณะ2002;Tummalaและคณะ2006)สมรรถนะจึงปรับปรุงดีขึ้นจากการใช้ความสามารถทั้งภายในและภายนอกองค์กรอย่างดีมากขึ้นและสร้างโซ่อุปทานที่ประสานงานกันแบบไร้รอยตอ่ยกระดบัการแขง่ขนัระหวา่งบรษิทัเป็นการแข่งขันระหว่างโซ่อุปทาน(Burgess

และคณะ2006; LummusและVokurka1998;Mentzer2004;Lambert2008) อย่างไรก็ตามแนวคิดเรื่องการจัดการโซ่อปุทานไม่ได้ปราศจากปญัหาปญัหาใหญ่ข้อหนึ่งคือการขาดหลักฐานเชิงประจักษ์ที่สนบัสนนุประโยชน์ของการจดัการโซ่อุปทาน(Lambertและคณะ2005;Stockและคณะ2010)ในทำนองเดยีวกนัการศกึษาสว่นใหญ่ นั้นเกี่ยวกับเครือข่ายการอุปทานในเชิงปฏิบัติการ และอิงอยู่บนกรณีตัวอย่างของบริษัทที่อยู่ในความสนใจ เช่น Benetton,ToyotaและNissan(JarilloและStevenson 1991)Lammingและคณะ(2000)ชี้ให้เห็นว่าปัญหาคือการศึกษาเหล่านี้กระจุกตัวอยู่ในอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่ง โดยเฉพาะอตุสาหกรรมยานยนต์ดงันัน้ผู้จดัการในอตุสาหกรรมอืน่จงึขาดพืน้ฐานทางทฤษฎีในการจัดการธุรกิจของตัวเองเนื่องจาก เครือข่ายนั้นมีความแตกต่างกัน ไม่เฉพาะระหวา่งอตุสาหกรรมเทา่นัน้และในอกีหลายแง่มมุในทำนองเดยีวกันการศกึษาสว่นใหญ่เกี่ยวกับความสัมพันธ์เชิงยุทธศาสตร์นั้น โดยธรรมชาติแล้วเป็นแบบทวิภาคีโดยหลักแล้วจะอธิบายว่า2บริษัทสามารถปรับปรุงความสัมพันธ์ของตัวเองอย่างไร แต่มีน้อยมากที่จะกล่าวถึงโซ่อุปทานจริงๆ (Stock

สาเหตุข้อหนึ่งที่ความสนใจเกี่ยวกับSCMเพิ่มขึ้นเป็นเพราะว่าองค์กรต่างๆเริ่มพบว่าตัวเองพึ่งพาโซ่อุปทานหรือเครือข่ายที่มีประสิทธิผลมากขึ้นเพื่อความสำเร็จ

ในการแข่งขันในเศรษฐกิจตลาดโลก

Page 3: 2011_08 What is Management in Supply Chain Management(1)

Global Knowledge

52Logistics Digest August 2011

และคณะ2010) ปัญหาหลักอีกข้อของSCMคือการขาดนิยามของSCMที่ยอมรับกัน เปน็สากลการขาดงานวิจยัเชงิประจกัษ์ เกี่ยวกับประโยชน์ของSCMเป็นเรื่อง ปกติเมื่อไม่มีนิยามที่ยอมรับกันทั่วไปBurgessและคณะ(2006)ได้วิเคราะห์บทความที่เกี่ยวกับSCMโดยสุ่ม100บทความและพบว่า 12 บทความมี นิยามเฉพาะตัวของมันเอง มี 21บทความที่อ้างอิงนิยามที่มีอยู่แล้ว 9บทความใช้นิยามที่ดัดแปลงมาจากนิยามที่มีอยู่แล้วและมี 58บทความที่ไม่ได้ให้นิยามของSCM ปัญหาจากการขาดนิยามที่ยอมรับกันเป็นสากลถูกยกขึ้นมาในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาโดยนักวิชาการชั้นนำบางคนในแวดวงนี้ Mentzer และคณะ (2001)กล่าวถึงปัญหาเรื่องนี้แล้วในปี 2001 ใน ปี 2005 Lambert และคณะระบุว่า SCMมกัถูกนำมาใช้พอ้งความหมายกบัโลจิสติกส์ การจัดการการดำเนินงาน หรือการจัดซื้อหรือการผสมผสานทั้ง3เรื่องแม้แต่ในกรณีที่ SCMถูกมองว่าเป็นการไหลที่เพิ่มคุณค่าจากวัตถุดิบจนถึงผลิตภัณฑ์ แต่ก็ถูกมองว่าเป็นการไหลภายในองค์กร หรือการไหลจากวัตถุดิบจนถึงผู้บริโภคปลายทางได้ด้วยLambertและคณะ(แหลง่เดิมหน้า25)ระบุในท้ายที่สุดว่าบางคนมองSCM ในรูปของ“การจัดการความสัมพันธ์ ทั้งระหว่างหน้าที่งานในองค์กรและระหว่างองค์กร” ในบทความจากเมื่อไม่นานมานี้ของพวกเขา Stock และ Boyer (2009) ได้พิจารณานิยามของSCMกว่า 173นิยามจากวารสารและหนงัสอืจำนวนมากพวกเขาไม่เพยีงแต่แย้งวา่มีนยิามจำนวนมากเกนิไปแต่ยังขาดนิยามเดียวที่มีผลกระทบในทางลบต่อทั้งผู้ปฏิบัติและนักวิจัยพวกเขาเขียนว่า (แหล่งเดิมหน้า 691) “หากไม่มีนิยามที่ครบถ้วนและครอบคลุม จะเป็นการยากสำหรับนักวิจัยที่จะพัฒนาทฤษฎีโซ่อุปทานนยิามและทดสอบความสัมพนัธ์ระหว่างองค์ประกอบแต่ละส่วนของSCMและสร้างงาน

วิจัยต่อเนื่องอย่างคงเส้นคงวาที่ “ต่อยอด”จากสิง่ที่ทำขึน้มาแลว้...หากไมม่ีนยิามเดยีวที่เป็นที่ยอมรับของนักวิจัยความวุ่นวายจะบั่นทอนการวิจัยและการพัฒนาSCMต่อไปและงานวจิยัจะขยายตอ่ไปในหลายๆทศิทางแทนที่จะต่อยอดกันต่อไป(คือการประสานกำลังกันหรือSynergyในการวิจัย) สำหรับนักปฏิบัติ การขาดนิยามSCMที่ครอบคลุมครบถ้วนทำให้ผู้บริหารโซ่อุปทานใช้อำนาจและความรับผิดชอบได้ยากขึ้น ในหน้าที่งานและกระบวนการที่“ถูกต้อง”นอกจากนั้น ยังทำให้เทียบวัดกับบริษัทอื่นๆและอุตสาหกรรมอื่นๆได้ยากขึ้นในมาตรวัดของโซ่อุปทานความรับผิดชอบในงาน และปัญหาอื่นๆ ในด้านทรัพยากรบุคคล เนื่องจากความแตกต่างที่มีอยู่ในแต่ละบริษัท” ในทำนองเดียวกันมีกรอบโครงสร้างของSCMอยู่หลายแบบด้วยกันและแต่ละแบบก็ดูเหมือนว่าจะแข่งขันกันด้วยอย่างไรก็ตามแม้ว่าจะมีกรอบโครงสร้างเหล่านี้แต่วงการนี้กลับขาดกรอบโครงสร้างที่ยอมรับกันทั่วไปและมีความเห็นที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันเพียงเล็กน้อบว่าควรจะนำการจดัการโซ่อปุทานมาใช้งานและวัดผลอย่างไร(เช่นLambertและคณะ1998;Bowersoxและคณะ1999;Mentzer 2004)ตัวอย่างเช่น LockamyและMcCormack (2004)แยง้วา่การจดัการโซ่อปุทานนำมาปฏบิตัิจรงิ

ได้ยากกว่าที่นักวิชาการหรือที่ปรึกษาบางคนอ้าง นอกจากนั้น มีศัพท์ที่เป็นรู้จักอยู่เป็นจำนวนมากที่ถูกเชื่อมโยงกับSCMอย่างไรก็ตามเราอาจแย้งได้ว่าศัพท์ทางด้านSCMที่เป็นที่รู้จักเหล่านี้-เชน่การทำงานรว่มกนั(Collabora-tion)และการบรูณาการ(Integration)ถูกนิยามไว้ไม่ชัดเจนนักในบริบทของSCMถึงแม้ว่าจะเป็นเช่นนั้นเหล่านักวิชาการยังคงอ้าแขนต้อนรับแนวคิดใหม่ๆ เช่นการจัดการโซ่อุปทานแบบยั่งยืน (Sustainable SupplyChainManagement: SSCM)แต่หากไม่มี

นิยามที่เหมาะสมของศัพท์เหล่านี้ในบริบทของ SCM เรื่องนี้จะเป็นเรื่องที่น่าสับสนสำหรับทั้งนักวิจัยและผู้ปฏิบัติ StockและBoyer(2009หน้า691)เขียนไว้ว่า:จากมุมมองทางด้านทฤษฎีเป็นไปไม่ได้ที่จะพัฒนาทฤษฎี SCMที่ใช้งานได้ จนกว่าจะมีการพฒันาโครงสรา้งที่ใช้การได้และนยิามที่เปน็ที่ยอมรับกันทั่วไปก่อน สิ่งที่ผู้เขียนต้องการนำเสนอคือ การสร้างความกระจ่างให้กับแนวคิดเรื่องSCMโดยการสำรวจนิยามกรอบโครงสร้างและนิยามศัพท์ของ SCMที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ในหัวข้อต่อๆ จากนี้ เราจะพิจารณานิยามของ SCM ตามด้วยการประเมินกรอบโครงสร้างของSCMหลายๆแบบ ถัดจากนั้นเราจะพิจารณาคำว่าการรว่มมอืการบรูณาการและความยัง่ยนือยา่งละเอียดตามที่นำมาใช้กับSCMจากนั้นเราจะโต้เถยีงเกีย่วกบัจดุที่เหมอืนกนัและปญัหาที่พบในการพิจารณา ก่อนที่จะกล่าวสรุป(ติดตามตอนที่2ในฉบับหน้า)

ที่มา: Naslund, D. and Williamson, S.(2010). What is Management in Supply Chain Management? - A Critical Review of Definitions, Frameworks and Terminology. Journal of Management Policy and Practice, vol. 11(4)

ดร.วิทยา สุหฤท ดำรง ผู้ อำนวย การ สถาบัน วิทยาการ โซ่ อุปทานมหาวิทยาลัย ศรีปทุม [email protected]