01)*23&(* Web Standard 'D W3Cmyweb.cmu.ac.th/wijit.a/954242/webstandard.pdf · 10/24/2013 4)*+7

11
10/24/2013 1 Web Standard & Web Design 954242 Web Programming Krittawaya Thongkoo [email protected] Web Standard พัฒนาเว็บต้องคํานึงถึงเรืองใดบ้าง เกณฑ์หรือหลักการสําคัญประกอบการออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ง่ายต่อการเข้าถึง มีช่องทางสือสารทีหลากหลาย จัดระบบได้ดี เป็ นกระบวนจัดระบบของเว็บไซต์เพือสนับสนุน Search Engine รองรับการเข้าถึงในทุกกลุ ่ม โดยเฉพาะผู ้พิการ (Web Accessibility) ผ่าน มาตรฐาน HTML หรือ XHTML และ CSS Web Standard ตาม W3C รองรับภาษาแบบ markup language ได้แก่ HTML, XHTML, SVG และ XForms รองรับการจัดรูปแบบ stylesheet ได้แก่ CSS, XSL รองรับการใช้งาน ECMAScript ได้แก่ JavaScript รองรับการใช้งาน DOM (Document Object Models) รองรับการอ้างอิงตําแหน่งเอกสารแบบ URIs (Uniform Resource Identifier) รองรับข้อกําหนดการส่งข้อมูลแบบ HTTP (HyperText Transfer Protocol) และ MIME (Multipurpose Internet Mail Extensions) รหัสมาตรฐาน IETF RFC 2616

Transcript of 01)*23&(* Web Standard 'D W3Cmyweb.cmu.ac.th/wijit.a/954242/webstandard.pdf · 10/24/2013 4)*+7

  • 10/24/2013

    1

    Web Standard & Web Design954242 Web Programming

    Krittawaya [email protected]

    Web Standard

    พฒันาเว็บต้องคํานงึถึงเรื1องใดบ้าง� เกณฑ์หรือหลกัการสําคญัประกอบการออกแบบ พฒันาเว็บไซต์

    � ง่ายต่อการเข้าถึง

    � มีช่องทางสื1อสารที1หลากหลาย

    � จดัระบบได้ดี เป็นกระบวนจดัระบบของเว็บไซต์เพื1อสนบัสนนุ Search Engine

    � รองรับการเข้าถึงในทกุกลุ่ม โดยเฉพาะผู้พิการ (Web Accessibility) ผ่านมาตรฐาน HTML หรือ XHTML และ CSS

    Web Standard ตาม W3C� รองรับภาษาแบบ markup language ได้แก่ HTML, XHTML, SVG และ XForms

    � รองรับการจดัรูปแบบ stylesheet ได้แก่ CSS, XSL

    � รองรับการใช้งาน ECMAScript ได้แก่ JavaScript

    � รองรับการใช้งาน DOM (Document Object Models)

    � รองรับการอ้างอิงตําแหนง่เอกสารแบบ URIs (Uniform Resource Identifier)

    � รองรับข้อกําหนดการส่งข้อมูลแบบ HTTP (HyperText Transfer Protocol) และ MIME (Multipurpose Internet Mail Extensions) รหสัมาตรฐาน IETF RFC 2616

  • 10/24/2013

    2

    ความเป็นมาของ Web Standard� เพื1อให้นกัพฒันาและออกแบบเว็บรวมถึงบริษัทผู้ผลิตเว็บบราวเซอร์ใช้เป็นแนวทางในการพฒันาเว็บร่วมกนั

    � นกัพฒันาและออกแบบเว็บต้องประสบปัญหามากมายจากการสร้างเว็บให้เหมาะสมและดีที1สดุสําหรับผู้ เรียกใช้เว็บเพจที1ใช้เว็บบราวเซอร์แตกต่างกนั

    กฤตวยาน์ ทองคู่

    ความหมายของ Web Standard� เทคโนโลยีที1องค์กร W3C กําหนดขึ pนเพื1อให้เว็บบราวเซอร์ทกุรุ่นทกุบริษัทผู้ผลิตรองรับเทคโนโลยีนี pเป็นมาตรฐานหลัก

    � ทําให้ผู้สร้างเว็บด้วยการเขียนโค้ดหรือใช้โปรแกรมสําเร็จรูปใช้ Web Standard เป็นแนวทางพฒันาเว็บไซต์ที1แสดงผลได้กบัทกุเว็บบราวเซอร์และทกุระบบปฏิบตัิการ

    กฤตวยาน์ ทองคู่

    กําเนิดของ Web Standard� จากการรวมตัวกันของกลุ่มโปรแกรมเมอร์เพื1อเรียกร้องให้ web browser พัฒนา web browser ให้เป็นไปตามมาตรฐานของ W3C เริ1มเห็นผลในช่วงหลังปี 2004 เป็นต้นมา

    � แต่มูลค่าการพัฒนา web browser ที1ผ่านมาสูงจนเกินกว่าที1 web browser จะกลบัสู่มาตรฐาน W3C ได้ทั pงหมด

    � ประกอบกับ web browser ยงัต้องรองรับเอกสาร HTML เดิมของตน ที1มีอยู่มากมายบน Internet

    � จึงทําให้การกลบัเข้าสู่มาตรฐาน W3C เป็นไปอยา่งค่อยเป็นค่อยไป

    กําเนิดของ Web Standard (cont.)� แต่ตวัมาตรฐานของ W3C เอง ก็ซบัซ้อนและยงัไม่รัดกมุพอที1จะสามารถตีความได้ในบางข้อกําหนด

    � ทําให้จนถึงปัจจบุนัไม่มี web browser ใดที1สามารถทํางานได้ตามมาตรฐานของ W3C ร้อยเปอร์เซน็ต์

    � มี web site ที1สรุปข้อกําหนดของ W3C ว่า ข้อกําหนดใดสามารใช้ได้กับ web browser ใดได้บ้าง อาทเิช่น

    � http://www.quirksmode.org

    � http://www.webdevout.net

  • 10/24/2013

    3

    ปัญหาที1เกิดจากการพฒันาเว็บไซต์โดยไมใ่ช้ Web Standard

    � การเขียนคําสั� งเพื�อให้แสดงผลข้อมูลบนเวบ็บราวเซอร์◦ อินเทอร์เนต็เอกซ์พลอเรอร์ (Internet Explorer) โดยบริษัทไมโครซอฟท์ ◦ Netscape โดยบริษัท AOL (American Online) ◦ ไฟร์ฟอกซ์ (Firefox) โดยมลูนธิิมอซลิลา ◦ ซาฟารี (Safari) โดยบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ ◦ โอเปร่า (Opera) โดยบริษัทโอเปร่า ประเทศนอร์เวย์ ◦ ฯลฯ

    กฤตวยาน์ ทองคู่

    � ต้นทุนที�เพิ�มจากการสร้างเวบ็◦ บริษัทต้องเสียค่าใช้จ่ายให้กบันกัพฒันาและออกแบบเว็บ เพื1อเขียนโค้ดแล้วนํามาทดสอบกบัเว็บบราวเซอร์ทกุรุ่นที1มีอยูใ่นตลาดบนระบบปฏิบตัิการต่างๆ ซึ1งเป็นเรื1องที1ทําได้ยาก จึงทําให้ค่าใช้จ่ายในส่วนนี pค่อนข้างสงู

    กฤตวยาน์ ทองคู่

    ปัญหาที1เกิดจากการพฒันาเว็บไซต์โดยไมใ่ช้ Web Standard

    � ความผิดพลาดที�เกดิจากการเขียนโค้ด◦ การเขียนคําสั1งด้วย HTML กรณีที1ไม่มีการใช้เทคโนโลยี CSS อาจมีโอกาสผิดพลาดสงู เพราะต้องกําหนดคําสั1งทกุตําแหนง่ที1มีการจดัรูปแบบการแสดงผล

    กฤตวยาน์ ทองคู่

    ปัญหาที1เกิดจากการพฒันาเว็บไซต์โดยไมใ่ช้ Web Standard

    � การรองรับเทคโนโลยีใหม่ในอนาคต◦ ด้วยโครงสร้างที1เป็นข้อจํากดับางประการของ HTML ทําให้ไม่สามารถนําข้อมลูที1เขียนด้วย HTML ไปใช้กบัเว็บบราวเซอร์บนอปุกรณ์ตวัอื1นได้ เช่น โทรศพัท์มือถือ เป็นต้น

    ◦ ปัญหาดงักล่าวทําให้นกัพฒันาและออกแบบเว็บพยายามร่วมมือกนัแก้ปัญหา โดยมีองค์กร W3C (World Wide Web Consortium) เป็นแกนหลกัประชมุและหาข้อสรุปร่วมกนั กําหนดออกมาเป็นมาตรฐาน

    กฤตวยาน์ ทองคู่

    ปัญหาที1เกิดจากการพฒันาเว็บไซต์โดยไมใ่ช้ Web Standard

  • 10/24/2013

    4

    องค์ประกอบของ Web Standard

    Presentation

    CSS

    Web Standard

    Structure

    HTML

    XHTML

    XML Behavior

    ECMAScript

    DOM

    กฤตวยาน์ ทองคู่

    องค์ประกอบของ Web Standard� 1. Structure◦ โครงสร้างหน้าเอกสารของเว็บเป็นส่วนที1ถกูกําหนดด้วยภาษามาร์คอพั (Markup Language) เพื1อใส่เนื pอหาและรูปแบบที1แสดงบนเว็บเพจ ได้แก่ ภาษา HTML, XML และ XHTML

    ◦ HTML - เป็นภาษามาร์คอพัตวัแรกที1ได้รับความนยิมสงูในอดีต เนื1องจากเป็นภาษาที1ง่ายต่อการใช้งานและมีรูปแบบโครงสร้างคําสั1งที1ชดัเจน

    ◦ XML - ภาษาที1ถกูพฒันาขึ pนมาเพื1อแก้ปัญหาที1เกิดกบัภาษา HTML โดยแยกโครงสร้างของข้อมลูออกจากรูปแบบเอกสารและเพิ1มความยืดหยุน่ให้กบัโครงสร้างมากขึ pน

    ◦ XHTML - เป็นภาษาที1องค์กร W3C แนะนําให้ผู้สร้างเว็บใช้เป็นมาตรฐานเพราะมีรูปแบบการเขียนโค้ดที1กระชบัมากกว่า HTML และ XML

    กฤตวยาน์ ทองคู่

    Markup Language - HTML

    � markup เป็นภาษาที1ใช้กําหนดคุณสมบัติในแต่ละช่วงของเอกสาร โดยใช้เครื1องหมายที1เรียกว่า tag ในการกําหนดคณุสมบตัิของช่วงข้อความนั pนๆ เช่น� My Header

    � เรียกว่า tag h1 เปิด และ เรียกว่า tag h1 ปิด� ข้อความที1อยู่ในช่วงระหว่าง และ จะถกูตีความหมายว่าเป็น Header ระดบัที1 1

    � ซึ1งมีคณุสมบตัิเฉพาะตวัอยู ่เช่น� เป็นตวัหนงัสือขนาดใหญ่� เป็นตวัหนา� มีการเว้นช่องว่างระหว่างบรรทดัที1กว้างกว่าปกติ

    Markup Language – HTML (cont.)

    � มาตรฐานเริ1มแรกของ markup ไม่ได้กําหนดไว้ว่าทกุการเปิด tag ต้องมีการปิด tag ดงันั pนจึงสามารถเขียน tag เดี1ยวได้ทั pงหมด เช่น

    � My Header Level 1My Header Level 2

    � ข้อความ “My Head Level 1” จะถกูตีความเป็น Header ระดับ 1 และ “My Header Level 2” จะถกูตีความเป็น Header ระดบั 2

    � ซึ1งลกัษณะการเขียน tag ที1ไม่มีการปิด tag นี pทําให้เกิดปัญหาในการตีความใน tag ที1มีความซบัซ้อน เช่น

    � List Item 1List Item 2

    � สังเกตว่าเป็นการยากที1จะตีความว่า tag จะครอบคลุมทั pงข้อความ “Item 1” หรือไม?่

    � ซึ1งมาตรฐาน HTML ในยคุนั pนไม่ได้กําหนดว่าจะให้ตีความอยา่งไรถ้าไม่มี tag ปิด เป็นหน้าที1ของ web browser ที1ต้องจดัการเอง

  • 10/24/2013

    5

    Markup Language – HTML (cont.)� ภายหลงัมีภาษา markup ใหม่เกิดขึ pนคือ XML (eXtensible Markup Language) ซึ1งมีข้อกําหนดหนึ1งอยูว่่าทกุ tag เปิดต้องมี tag ปิด

    � เพื1อแก้ปัญหาการตีความ tag ของ HTML W3C จึงสร้างมาตรฐานใหม่ขึ pนคือ XHTML ซึ1งระบวุ่า ทกุ tag ของ HTML ต้องมี tag ปิด ตามแบบของ XML� แต่จากมาตรฐานนี pทําให้เกิดปัญหากับโปรแกรมเมอร์ที1คุ้นเคยกับการเขียน tag เดี1ยวในช่วงนั pนจึงได้แตกมาตรฐานออกเป็นหลายสาย เช่น�HTML strict (ตดั tag ในการจดัรูปแบบออกไป)�HTML transitional (คง tag ในการจดัรูปแบบบางตวัไว้)� XHTML strict (ใช้ข้อกําหนดตาม XML / ตดั tag ในการจดัรูปแบบออกไป)� XHTML transitional (ใช้ข้อกําหนดตาม XML ในบาง tag ที1จําเป็น / คง tag ในการจดัรูปแบบบางตวัไว้)

    Markup Language – HTML (cont.)� จากความหลากหลายของรุ่น (version) และการแตกมาตรฐานของ HTML ซึ1งแต่ละมาตรฐานมีข้อกําหนดแต่ละ tag แตกต่างกนั

    � ทําให้ในบางกรณีการเขียน tag HTML ที1เหมือนกันแต่ใช้คนละมาตรฐานตีความ จะทําให้ได้การแสดงผลที1ไม่เหมือนกนั

    � ตามมาตรฐานของ SGML ได้ระบวุิธีกําหนดรุ่นของมาตรฐานเอกสารไว้ที1ด้านบนสุดของเอกสารเรียกว่า doctype ดังนั pน HTML จึงใช้วิธีการนี pในการบอกมาตรฐานที1ใช้ในการเขียนเอกสาร

    องค์ประกอบของ Web Standard

    � 2. Presentation◦ รูปแบบเว็บเพจที1นกัพฒันาเว็บกําหนดขึ pนเพื1อใช้เป็นส่วนติดต่อกบัผู้ ใช้ (User Interface) เช่น ชนดิของตวัอกัษร สีที1ใช้ การเน้นข้อความสําคญัต่างๆ เป็นต้น

    ◦ CSS (Cascading Style Sheets) - เทคโนโลยีที1พฒันาขึ pนมาเพื1อใช้จดัรูปแบบการแสดงผลให้มีประสิทธิภาพ โดยการทํางานของ CSS นั pน จะแยกส่วนของข้อมลูออกจากส่วนรูปแบบการแสดงผล เมื1อเราต้องการเปลี1ยนรูปแบบการแสดงผล เช่น สีตวัอกัษรที1เป็นข้อความสําคญั ทําได้โดยเปลี1ยนคําสั1งแทก็ที1กําหนดไว้ตอนแรก เพียงจดุเดียวก็จะมีผลกบัเว็บเพจทั pงหมดที1ใช้ CSS นั pน

    กฤตวยาน์ ทองคู่

    การจดัรูปแบบโดย CSSหรือ XSL� Web Standard ตาม W3C ได้แยกการจัดรูปแบบออกมาเพื1อให้ตัวเอกสารเหลือแต่เพียงข้อมลู การจดัรูปแบบจะให้เป็นหน้าที1ของ stylesheet

    � CSS (Cascading Style Sheets) เป็น stylesheet ที1นิยมใช้ในเอกสาร HTML มากที1สดุ (จะได้ศึกษาต่อไปในบท CSS)

    � XSL เป็น stylesheet แบบหนึ1งนยิมใช้ใน XML

  • 10/24/2013

    6

    องค์ประกอบของ Web Standard� 3. Behavior◦ การเขียนสคริปต์ (Script) เพื1อควบคมุให้เว็บเพจทํางานตามคําสั1งที1ต้องการได้มากขึ pน และสามารถใช้งานในลกัษณะโต้ตอบ (Interactive) กบัผู้ ใช้ได้

    ◦ ECMAScript - มาตรฐานภาษาสคริปต์ที1ใช้งานกนัอยูใ่นปัจจบุนั เช่น JavaScript, ASP และ PHP เป็นต้น เพื1อให้รูปแบบการเขียนสคริปต์และการเรียกใช้ Method ต่างๆ เป็นมาตรฐานกลาง

    ◦ DOM (Document Object Model) - Platform และภาษาสื1อกลางระหว่างโปรแกรมกบัสคริปต์ต่างๆ สามารถเข้าถึงและปรับปรุง Content โครงสร้างและสไตล์ของเอกสารได้ DOM จะมององค์ประกอบของเว็บเพจทั pงหมดเป็นอ็อบเจ็กต์ที1มีการทํางานตามหลกั Object Oriented

    กฤตวยาน์ ทองคู่

    ECMAScript - JavaScript� เป็นส่วนที1ใช้จัดการปฏิสัมพันธ์ (behavior) ระหว่างผู้ ใช้กับตัวเอกสาร HTML มาตรฐานของ W3C กําหนดให้ใช้รูปแบบของ ECMAScript

    � ECMAScript ถกูกําหนดมาตรฐานโดย Ecma International

    � ECMAScript เป็นเพียงมาตรฐานกําหนดโครงสร้างของภาษาเท่านั pน ไม่ได้กําหนด keyword ในการนําไปใช้งานจริง (implement) โดยโครงสร้างนั pนอ้างอิงมาจากภาษา C

    � ECMAScript ที1นยิมใช้ใน HTML คือ JavaScript

    � Javascript ใช้โครงสร้างภาษาตามมาตรฐาน ECMAScript โดยใช้ keyword จากภาษา Java

    � ปฏิสมัพนัธ์ระหว่างผู้ ใช้กบัตวัเอกสาร เช่น

    � เมื1อผู้ ใช้นําเมาส์มาว่าบนส่วนของเอกสารที1กําหนด ให้เปลี1ยนสีพื pนหลังของส่วนเอกสารนั pน

    � เมื1อผู้ ใช้กดบนส่วนของเอกสาร ให้ทําการยอ่ส่วนของเอกสารนั pนลง

    DOM - Document Object Models� DOM เป็นข้อกําหนดในการอ้างอิง tag ของเอกสาร HTML โดยมกัจะใช้เพื1อดึงข้อมูลที1บรรจอุยูใ่น tag ที1ต้องการออกมา� มาตรฐาน DOM ถกูกําหนดโดย W3C� ตวัอยา่งของการใช้ DOM

    � getElementById('customer_name') ใช้สําหรับดึง tag ที1 มี id ว่าcustomer_name ออกมา

    � มักใช้ DOM ควบคู่กับ JavaScript โดย DOM เป็นฟังก์ชั1นสําหรับการดึงข้อมูล ส่วน JavaScript ใช้ประมวลผลข้อมลูที1ได้

    � สังเกตว่าการใช้งาน DOM จะมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื1อเอกสารอยู่ในรูปแบบ semantic HTML ดงัจะแสดงในตวัอยา่งต่อไป

    DOM - Document Object Models (cont.)� สงัเกตจาก code HTML ต่อไปนี p

    � Messi� Messi

    � หากต้องการได้ข้อมลู customer_name ผู้พัฒนากําหนดให้ DOM ดึงข้อมูลจาก tag ที1มี id ว่า customer_name� ตวัอยา่ง code html ด้านบน จะได้ Messi มา� ตัวอย่าง code html ด้านล่างจะได้ Messi ซึ1งไม่ใช่ข้อมลูที1ต้องการ

    � ข้อกําหนด DOM สามารถศึกษาได้จาก� http://www.w3.org/TR/2004/REC-DOM-Level-3-Core-20040407/core.html

  • 10/24/2013

    7

    ข้อดีจากการสร้างเว็บตาม Web Standard� ช่วยลดจํานวนโค้ดและขนาดไฟล์

    � สามารถทํางานบนระบบปฏิบตัิการและเว็บบราวเซอร์ได้ทกุรุ่น

    � ลดต้นทนุและเวลาในการสร้างเว็บไซต์

    � รองรับการแสดงผลข้อมลูบนเครือข่ายไร้สาย

    � ปรับเปลี1ยนและโอนถ่ายงานได้สะดวกขึ pน

    � ครอบคลมุการแสดงผลบนอปุกรณ์และซอฟต์แวร์ต่างๆ

    กฤตวยาน์ ทองคู่

    Web Design

    Introduction to Web Design � ปัจจบุนันี pมีเว็บไซต์เกิดขึ pนมากมาย ทั pงที1มีคณุภาพและไม่มีคณุภาพ ตามความรู้ความสามารถของผู้ออกแบบ

    � การที1จะสร้างเว็บไซต์ขึ pนมาสกัแหง่หนึ1งนั pนจะต้องมีเป้าหมายที1แน่นอนไม่ใช่เพราะคนอื1นมีกนัเลยอยากมีเว็บกบัเค้าบ้าง หรือจําเป็นต้องสร้างเว็บไซต์ตามคําสั1งผู้บงัคบับญัชาโดยไม่มีเป้าหมายที1ชดัเจน

    � ซึ1งทําให้เว็บไซต์นั pนไม่มีประโยชน์อะไรสําหรับผู้ ใช้และไม่มีใครเข้ามาใช้บริการ

    � เนื1องจากผู้ใช้จึงมีทางเลือกมากขึ pนที1จะเข้าไปยงัเว็บไซต์ต่าง ๆ ที1ให้บริการและจะไม่ทนอยู่กบัเว็บที1สบัสน

    ความสําคญัของการออกแบบเว็บไซต์ � การออกแบบเว็บไซต์มีส่วนสําคญัในการสร้างความประทบัใจให้กับผู้ ใช้บริการ และทําให้อยากกลบัเข้ามาใช้อีกในอนาคต หรือดึงดดูผู้ ใช้ให้อยูก่บัเว็บตลอดไปการออกแบบเว็บไซต์นั pนไม่ได้หมายถึงลกัษณะหน้าตาของเว็บไซต์เพียงอยา่งเดียว แต่ยงัรวมถึง

    � การกําหนดเป้าหมายของเว็บไซต์

    � ระบกุลุม่ผู้ใช้

    � การจดัระบบข้อมลู

    � การใช้กราฟิก

    � การเลอืกใช้ส ีและการจดัรูปแบบตวัอกัษร

    � ชนิดและรุ่นของบราวเซอร์

    � การคํานงึถงึความแตกต่างของสื1อกลาง

    ในการแสดงผล

    � ขนาดของหน้าจอมอมิเตอร์ และความละเอียด

    ของสี

  • 10/24/2013

    8

    ความสําคญัของการออกแบบเว็บไซต์ การใช้กราฟิก � การออกแบบของแต่ละเว็บไซต์นั pนแตกต่างกนัไป ตามเป้าหมายและลกัษณะของเว็บไซต์นั pน เว็บไซต์บางแหง่อาจต้องการความสนกุสนาน บนัเทงิ ขณะที1เว็บอื1นกลบัต้องการความถกูต้อง นา่เชื1อถือเป็นหลกั

    แนวทางในการการออกแบบเพื1อความสาํเร็จของเว็บไซต์

    � พื pนฐานในการออกแบบเว็บไซต์ที1ดี ต้องคํานงึความต้องการที1ผู้ ใช้ทกุคนต้องการจากเว็บไซต์

    - มีเนื pอหาที1เป็นประโยชน์ ตรงกบัที1ผู้ ใช้ต้องการ

    - มีการปรับปรุงเนื pอหา และพฒันาเว็บไซต์อยูเ่สมอ

    - ใช้เวลาในการดาวน์โหลดน้อย แสดงผลเร็ว

    - การใช้งานที1สะดวก เข้าใจง่าย

    � ค้นหาเป้าหมายในการสร้างเว็บไซต์

    - สร้างเว็บทําไม และเพื1ออะไร

    - สร้างเว็บไซต์ให้ใคร และใครคือกลุ่มเป้าหมาย

    - หาจดุเด่นและจดุด้อยของเว็บไซต์อื1นๆ ที1มีเนื pอหาใกล้เคียง

    - กําหนดจดุเด่นและจดุด้อยของเว็บตวัเอง

    หลกัการออกแบบในเว็บไซต์� แบบเรียงลําดบั (Sequence) เว็บไซต์ที1มีจํานวนเว็บเพจไม่มากนกั หรือที1มีการนําเสนอข้อมลูแบบทีละขั pนตอน

    � แบบระดบัชั pน (Hierarchy) เว็บไซต์ที1มีจํานวนเว็บเพจมากขึ pน พบได้ทั1วไป

    � แบบผสม (Combination) เว็บไซต์ที1ซบัซ้อนเป็นการนําข้อดีของ 2 รูปแบบมาผสมกนั

  • 10/24/2013

    9

    ขั pนตอนการพฒันาเว็บไซต์

    ออกแบบโครงสรา้งของเวบ็ไซต์

    หาขอ้มลูที�ใชป้ระกอบในการทาํเวบ็ไซต์

    ตั pงชื1อ Domain Name

    ออกแบบและตกแต่งเวบ็เพจแต่ละหนา้

    สรา้งเวบ็ไซตต์ามที�ไดอ้อกแบบมา

    อพัโหลดขึ(นอนิเทอรเ์น็ต

    โปรโมทเวบ็ไซตใ์หเ้ป็นที�รูจ้กั

    การออกแบบเว็บไซต์ให้ดดูี� 1. สีสนั (Color) จะทําให้ผู้ชมเว็บรับรู้อารมณ์ของเว็บ และเรื1องราวที1นําเสนอได้ ควรเลือกสีให้เหมาะสมกบัเนื pอหา แต่ละสีให้ความรู้สึกที1แตกต่างกนั เช่น

    � สีฟ้า สีเหลือง ให้ความรู้สึกสดใส และอบอุ่น

    � สีแดงให้ความรู้สึกสนกุสนาน ร้อนแรง

    � สีนํ pาเงิน มั1นคง เข้มแข็ง

    � 2. มีความเป็นเอกลกัษณ์ จะทําให้ผู้ชมเว็บไซต์จดจําเว็บได้ง่ายขึ pน โดยอาจใช้โทนสี รูปประกอบ Theme ที1คล้ายๆ กนัทกุหน้า

    การออกแบบเว็บไซต์ให้ดดูี� 3. ผู้ชมเว็บไซต์ต้องสามารถเข้าถึงเนื pอหาที1เราตั pงใจนําเสนอ หรือสามารถใช้งานเว็บ ค้นหาข้อมลูที1ต้องการได้อยา่งสะดวกและรวดเร็วตรงตามความต้องการ

    � 4. แสดงผลได้อยา่งรวดเร็วระยะเวลาในการแสดงผลต้องไม่นานจนเกินไป ไม่ทําให้ผู้ เข้าชมเว็บรอเลือกใช้ภาพกราฟิกและภาพ Animation ได้อยา่งเหมาะสม

    การออกแบบโครงร่างเว็บเพจ� การกําหนดโครงร่างของหน้าเว็บเพจ ขั pนตอนนี pจะเป็นขั pนตอนแรกของการเริ1มออกแบบเว็บเพจ เนื1องจากว่า ทกุเว็บเพจที1ดีต้องมีโครงร่างหรือโครงสร้าง เปรียบเสมือนบ้านหรืออาคารที1ดีต้องมีโครงสร้างที1ดีและมั1นคง เว็บเพจก็เช่นกนั เว็บเพจที1ดีก็ต้องมีการกําหนดโครงสร้างลงไปให้แนน่อนเช่นเดียวกนั

    � เริ1มโดยการกําหนดโครงสร้างของเว็บเพจออกเป็น 4 ส่วน คือ� Header คือ สว่นที1อาจจะเป็น Title หรือ Logo ของเว็บไซต์ ก็ได้� Menu คือ สว่นที1จะเป็นจุด Link เพื1อเชื1อมไปหาเพจในเนื pอหาอื1น ๆ ที1แบง่ออกไว้เป็น Category (หมวดหมู)่

    � Content คือ สว่นที1สําคญัที1สดุ เป็นสว่นที1จะทําการนําเสนอข้อมลู หรืออื1น ๆ ให้แก่ผู้ เยี1ยมชมเว็บไซต์

    � Footer คือ สว่นสรุปจบท้ายของเว็บเพจ ในสว่นนี pอาจจะเป็น E-mail ของ website หรือ การอ้างอิงสิทธิ หรืออื1นๆ

    Header

    ContentMenu

    Footer

  • 10/24/2013

    10

    องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์อยา่งมีประสทิธิภาพ

    � ความเรียบง่าย (Simplicity)

    � เว็บจะมีรูปแบบที1เรียบงา่ย ไมซ่บัซ้อน และใช้งานได้อยา่งสะดวก แม้ว่าจะมีข้อมลูอยูใ่นเว็บไซต์อยูม่ากมาย

    � ไมม่ีกราฟิกหรือตวัอกัษรที1เคลื1อนไหวอยูต่ลอดเวลา ซึ1งจะรบกวนสายตาและสร้างความรําคาญตอ่ผู้ใช้

    � ใช้ชนิดและสีของตวัอกัษรไมม่ากจนเกินไปให้วุ่นวาย

    � ในสว่นเนื pอหา ใช้ตวัอกัษรสีดําบนพื pนหลงัสีขาวตามปกติ � ไมม่ีการเปลี1ยนแปลงของลิงค์ให้สบัสนแตอ่ยา่งใด

    องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์อยา่งมีประสทิธิภาพ

    � ความสมํ�าเสมอ (Consistency)

    � ใช้รูปแบบเดียวกนัตลอดเว็บไซต์ ถ้าลกัษณะของแตล่ะหน้าในเว็บเดียวกนันั pนแตกตา่งกนัมาก ผู้ใช้อาจ เกิดความสบัสนและไมแ่น่ใจว่ากําลงัอยูใ่นเว็บเดิมหรือไม ่

    � รูปแบบของหน้า , สไตล์ของกราฟิก , ระบบเนวิเกชั1น และโทนสีที1ใช้ควรจะมีความคล้ายคลงึกนัตลอดเว็บไซต์

    � ความเป็นเอกลักษณ์ (Identity)

    � การออกแบบต้องคํานึงถึงลกัษณะขององค์กร เนื1องจากรูปแบบของเว็บไซต์สามารถสะท้อนถึงเอกลกัษณ์และลกัษณะขององค์กรนั pนได้

    � เว็บไซต์ของธนาคารจึงไมค่วรจะดเูหมือนสวนสนุก � การใช้ชุดสี, ชนิดตวัอกัษร, รูปภาพและกราฟิกจะมีผลตอ่รูปแบบของเว็บไซต์อยา่งมาก จึงต้องเลือกใช้องค์ประกอบเหลา่นี pอยา่งเหมาะสม

    องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์อยา่งมีประสทิธิภาพ

    � เนื Vอหาที�มีประโยชน์ (Useful Content)

    � เว็บไซต์ควรจดัเตรียมเนื pอหาและข้อมลูที1ผู้ใช้ต้องการให้ถกูต้องและสมบูรณ์ โดยมีการปรับปรุงและเพิ1มเติมให้ทนัตอ่เหตกุารณ์อยูเ่สมอ

    � เนื pอหาที1สําคญัที1สดุคือ เนื pอหาที1สร้างขึ pนมาเองโดยทีมงานและไมซ่ํ pากบัเว็บอื1น เพราะจะเป็นสิ1งที1ดงึดดูผู้ใช้ให้เข้ามาในเว็บไซต์อยูเ่สมอ

    � ระบบเนวเิกชั�นที�ใช้งานง่าย (User – Friendly Navigation)

    � ระบบเนวิเกชั1นควรถกูออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจได้งา่ยและใช้งานสะดวก

    � ใช้กราฟิกที1สื1อความหมายร่วมกบัคําอธิบายที1ชดัเจน � มีรูปแบบและลําดบัของรายการที1สมํ1าเสมอ เช่นวางไว้ในตําแหน่งเดียวกนัของทุกๆ หน้า

    � ถ้าใช้เนวิเกชั1นแบบกราฟิกในสว่นบนของหน้าแล้ว อาจเพิ1มเนวิเกชั1นที1เป็นตวัอกัษรไว้ที1ตอนท้ายของหน้า เพื1อช่วยอํานวยความสะดวกให้กบัผู้ ที1สั1งให้บราวเซอร์ไมแ่สดงรูปกราฟิก

    องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์อยา่งมีประสทิธิภาพ

    � มีลักษณะที�น่าสนใจ (Visual Appeal)

    � หน้าตาของเว็บไซต์จะมีความสมัพนัธ์กบัคณุภาพขององค์ประกอบตา่งๆ เช่น คณุภาพของกราฟิกที1จะต้องสมบูรณ์ ไมม่ีร่องรอยของความเสียหายเป็นจุดดา่งหรือมีขอบเป็นขั pนบนัไดให้เห็น การใช้ชนิดตวัอกัษรที1อ่านงา่ย สบายตา และการใช้โทนสีที1เข้ากนัอยา่งสวยงาม เป็นต้น

    � การใช้งานอย่างไม่จํากัด (Compatibility)

    � ควรออกแบบเว็บไซต์ให้ผู้ใช้สว่นใหญ่เข้าถึงได้มากที1สดุ โดยไมม่ีการบงัคบัให้ผู้ใช้ต้องติดตั pงโปรแกรมใดๆ เพิ1มเติม หรือต้องเลือกใช้บราวเซอร์ชนิดใดชนิดหนึ1งจึงจะสามารถเข้าถึงเนื pอหาได้

    � สามารถแสดงผลได้ในทุกระบบปฏิบตัิการและที1ความละเอียดหน้าจอตา่งๆ กนัอยา่งไมม่ีปัญหา สิ1งเหลา่นี pจะยิ1งมีความสําคญัมากขึ pน สําหรับเว็บที1มีผู้ใช้บริการจํานวนมาก หรือมีกลุม่เป้าหมายที1หลากหลาย

  • 10/24/2013

    11

    องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์อยา่งมีประสทิธิภาพ

    � คุณภาพในการออกแบบ (Design Stability)

    � ถ้าอยากให้ผู้ใช้รู้สกึว่าเว็บมีคณุภาพถกูต้อง และเชื1อถือได้ ควรให้ความสําคญักบัการออกแบบเว็บไซต์อยา่งมาก

    � เช่นเดียวกบัสื1อประเภทอื1นที1ต้องออกแบบและเรียบเรียงเนื pอหาอยา่งรอบคอบ เว็บที1ทําขึ pนอยา่งลวกๆ ไมม่ีมาตรฐานการออกแบบและการจดัระบบข้อมลูนั pน เมื1อมีข้อมลูเพิ1มขึ pนเรื1อยๆ ก็จะเกิดปัญหาและไมส่ามารถสร้างความน่าเชื1อถือจากผู้ใช้ได้

    � ระบบการใช้งานที�ถูกต้อง (Functional Stability)

    � ระบบการทํางานตา่งๆ ในเว็บไซต์จะต้องมีความแน่นอนและทําหน้าที1ได้อยา่งถกูต้องเสมอ

    � ตวัอยา่งเช่น ลิงค์ตา่งๆ ที1มีอยูน่ั pนจะต้องเชื1อมโยงไปยงัหน้าที1มีปรากฏอยูจ่ริงและถกูต้อง� การทําให้ระบบเหลา่นั pนใช้งานได้ตั pงแตแ่รกและยงัต้องคอยตรวจเช็คอยูเ่สมอเพื1อให้แน่ใจว่าสิ1งเหลา่นั pนยงัทํางานได้ดี โดยเฉพาะลิงค์ที1เชื1อมโยงไปยงัเว็บอื1นซึ1งอาจมีการเปลี1ยนแปลงได้ตลอดเวลา

    การใช้งาน Firework� กําหนดขนาดความกว้าง ความสงูของพื pนที1ทํางาน� กําหนดความละเอียดในการแสดงผลของภาพ (Resolution)

    � เลือกสีพื pนที1ทํางาน� White = ขาว

    � Transparent = โปร่ง

    � Custom = กําหนดเอง

    1. ปรับความกว้าง ความสงู ความละเอยีด

    2. เลอืกสพีื pนที1ทาํงาน3. กด OK

    พื pนที1การทํางานของ Fireworks และเมนตูา่ง ๆ

    กลอ่งเครื1องมือ

    เมนบูาร์

    คณุสมบตัิ

    พาเลต็บาร์

    พื pนที1ทาํงาน

    เมนบาร์

    การทําตวัอกัษรเป็นคลื1น