คู่มือการดูแลตนเอง...

46

Transcript of คู่มือการดูแลตนเอง...

Page 1: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
Page 2: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
Page 3: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
Page 4: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

แผนงานวิจัยหลัก

การพัฒนารูปแบบการวางแผนการจำาหน่ายผู้สูงอายุ

โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ

ศูนย์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ

Research for developing of discharge planning model

for elderly patient by multidisciplinary team of

The Supreme Patriarch Center on Aging

งานวิจัยย่อย เรื่อง

รูปแบบการวางแผนจำาหน่ายผู้ป่วยสูงอายุโรคความดันโลหิตสูง

โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ

Discharge planning model for elderly patient

with hypertension disease by multidisciplinary team

Page 5: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

คำ�นำ�

คู่มือนี้ จัดทำาขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง ตลอดจนญาติ

ผูด้แูล และครอบครวัมคีวามรู ้ความเขา้ใจทีถ่กูตอ้ง ตลอดจนตระหนกัถงึอนัตราย

หรือความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อน รับรู้โอกาสเสี่ยงของตนเองในการ

เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง เพื่อให้มีการปฏิบัติตนในการดูแล

ตนเองอย่างถูกต้อง นอกจากนี้ยังเป็นการติดตาม และกระตุ้นเตือนให้ผู้สูงอายุ

โรคความดนัโลหติสงู มพีฤตกิรรมการดแูลตนเองเพือ่ปอ้งกนัภาวะแทรกซอ้นจาก

โรคความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงไม่เกิด

อันตรายจากภาวะแทรกซ้อน สามารถดำารงชีวิตได้อย่างปกติสุข

ศนูยส์มเดจ็พระสงัฆราชญาณสงัวรเพือ่ผูส้งูอาย ุกรมการแพทย ์จงึไดจ้ดั

ทำาคู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง “โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ” ขึ้น ซึ่งรวบรวม

ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ แนวทางการวินิจฉัย

และรักษา ตลอดจนการแนะนำาวิธีการปฏิบัติตนเพื่อให้ผู้สูงอายุ ใช้เป็นแนวทาง

ในการดูแลตนเอง และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ

ผู้สูงอายุต่อไป

ทีมวิจัย

กคู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

Page 6: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ส�รบัญ หน้า

ความรู้ และการปฏิบัติตัว 1

เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

สถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ 1

ระดับความดันโลหิต...เป็นอย่างไร 2

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับโรคความดันโลหิตสูง 4

อาการของโรคความดันโลหิตสูง 5

อันตราย!! และความรุนแรงจากภาวะแทรกซ้อน 6

“มหันตภัยเงียบที่คุณคาดไม่ถึง”

พฤติกรรมเสี่ยง ?? ทำาให้ผู้สูงอายุ 8

โรคความดันโลหิตสูงเกิดภาวะแทรกซ้อน

การควบคุมอาหารเพื่อลดภาวะความดันโลหิตสูง 10

การควบคุมนำ้าหนักตัวเพื่อลดภาวะความดันโลหิตสูง 14

ลดนำ้าหนักอย่างไร ให้ได้ผล 15

เคล็ดลับการเลือกซื้ออาหารเพื่อควบคุมความดันโลหิตสูง 15

ออกกำาลังกายอย่างไรเพื่อควบคุมความดันโลหิตสูง 17

วิธีการคลายเครียดเพื่อควบคุมความดัน สำาคัญไฉน 20

วิธีฝึกปฏิบัติการลดความเครียดด้วยตนเอง 21

สรุป 25

เอกสารอ้างอิง 26

ภาคผนวก 29

แบบบันทึกการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูง 30

ข คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

Page 7: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

1คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

คว�มรู้ และก�รปฏิบัติตัว เรื่อง โรคคว�มดันโลหิตสูงในผู้สูงอ�ยุ

ม�รู้จักโรคคว�มดันโลหิตสูงกันเถอะ

“คว�มดันโลหิต” คืออะไร

คว�มดันโลหิต เป็นแรงดันเลือดที่เกิดจากหัวใจสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่ว

ร่างกาย จะมี 2 ค่า คือ

ค่�คว�มดันตัวบน หมายถึง ค่าของแรงดันเลือดขณะหัวใจห้องซ้ายล่างบีบตัว

ค่�คว�มดันตัวล่�ง หมายถึง ค่าของแรงดันเลือดขณะหัวใจห้องซ้ายล่าง

คลายตัว

*** ค่าของความดันโลหิตมีหน่วยเป็นมิลลิเมตรปรอท ***

สถ�นก�รณ์โรคคว�มดันโลหิตสูงในผู้สูงอ�ยุ

โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคความดันเลือดสูง เป็นสาเหตุที่สำาคัญต่อการ

เกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง ส่งผลให้เกิดอันตรายจากภาวะแทรกซ้อน

ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง อัมพาต โรคไตวาย หรือ

ตาบอดได้

สำาหรับในประเทศไทย ปัญหาโรคความดันโลหิตสูง พบมากโดยเฉพาะ

อย่างยิ่งในผู้สูงอายุ และมีแนวโน้มสูงขึ้นตามอายุที่มากขึ้น

Page 8: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

2 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ระดับคว�มดันโลหิต...เป็นอย่�งไร

ต�ร�ง แสดงระดับความดันโลหิตสูง (มม.ปรอท) จำาแนกตามความรุนแรงใน

ผู้ใหญ่อายุ 18 ปีขึ้นไป

ระดับคว�มดันโลหิตคว�มดันโลหิตตัวบน

(มิลลิเมตรปรอท)

คว�มดันโลหิตตัวล่�ง

(มิลลิเมตรปรอท)ที่ต้องการ (ปกติ) ตำ่ากว่า 120 และ/หรือ ตำ่ากว่า 80ปกติ 120 - 129 และ/หรือ 80 - 84เริ่มความดันโลหิตสูง 130 - 139 และ/หรือ 85 - 89ความดันโลหิตสูง 140 90 ระดับ 1 (เล็กน้อย) 140 - 159 และ/หรือ 90 - 99ระดับ 2 (ปานกลาง) 160 - 179 และ/หรือ 100 - 109ระดับ 3 (รุนแรง) มากกว่าหรือเท่ากับ 180

และ/หรือ

มากกว่า 110

ความดันสูงเฉพาะ

ตัวบน

มากกว่าหรือเท่ากับ 140

และ/หรือ

น้อยกว่า 90

ที่ม� : แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป

พ.ศ. 2551 โดยสมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย

Page 9: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

3คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

เราจะรู้ได้อย่างไรว่า...ระดับของความดันโลหิตสูงมีความรุนแรงเพียงใด

ให้พิจารณาจากค่าความดันตัวบน และความดันตัวล่างทั้ง 2 ค่า โดยถือ

ระดับความดันโลหิตที่สูงกว่าเป็นเกณฑ์ เช่น ความดันโลหิต 150/110 มม.ปรอท

ความดันตัวบน 150 มม.ปรอท อยู่ในเกณฑ์ความดันโลหิตสูงระดับ 1

(ความดันโลหิตสูงเล็กน้อย)

ความดันตัวล่าง 110 มม.ปรอท อยู่ในเกณฑ์ความดันโลหิตสูงระดับ 3

(ความดันโลหิตสูงรุนแรง)

ดังนั้น ผู้ป่วยร�ยนี้ก็ต้องจัดอยู่ในกลุ่มคว�มดันโลหิตสูงระดับรุนแรง

เป้�หม�ยก�รรักษ�โรคคว�มดันโลหิตสูง

ประเภทผู้ป่วยคว�มดันตัวบน

(มม.ปรอท)

คว�มดันตัวล่�ง

(มม.ปรอท)ผู้ป่วยทั่วไป (อายุตำ่ากว่า 60 ปี) 120-130 80-85ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคไต < 130 < 80ผู้ป่วยสูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) < 140 < 90

Page 10: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

4 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ปัจจัยที่มีคว�มสัมพันธ์กับโรคคว�มดันโลหิตสูง

ส�เหตุเกิดจ�ก 2 ปัจจัยใหญ่ ดังนี้

1. ปัจจัยที่แก้ไขไม่ได้ ได้แก่

พันธุกรรม

อายุ

เพศ

เชื้อชาติ

2. ปัจจัยที่แก้ไขได้ ได้แก่

ภาวะอ้วน หรือนำ้าหนักเกิน

ภาวะเครียด

ขาดการออกกำาลังกาย

รับประทานอาหารเค็ม (เกลือโซเดียมมากเกินไป) เช่น

กะปิ นำ้าปลา ของหมักดอง กุ้งแห้ง

สูบบุหรี่จัด

การดื่มสุราเป็นประจำา

รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง เช่น เนื้อติดมันหนังสัตว์

ไข่แดง หอยนางรม นำ้ามันหมู อาหารประเภทผัด หรือทอด

รับประทานอาหารหวานจัด เช่น ทองหยิบ ฝอยทอง

หม้อแกง นำ้าหวาน

Page 11: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

5คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

อ�ก�รของโรคคว�มดันโลหิตสูง

ภาวะความดนัโลหติสงู จงึมกัไดร้บัการขนานนามวา่เปน็ “ฆ�ตรกรเงยีบ”

หรือ “เพชฌฆ�ตเงียบ”

ความดันโลหิตสูงระดับอ่อน หรือปานกลาง มักจะไม่มีอาการอะไร

แต่มีการทำาลายอวัยวะต่างๆ ไปทีละน้อย อย่างช้าๆ จนผู้ป่วยเกิดอันตรายจาก

ภาวะแทรกซ้อนในที่สุด เช่น

หัวใจล้มเหลว หัวใจขาดเลือด

ไตเสื่อมสมรรถภาพ

อัมพาต อัมพฤกษ์

ระวัง! อย่าชะล่าใจ....

เมื่อเกิดอาการผิดปกติ

เพราะอาจสายเกินไป

ที่จะแก้ไขภัยจาก.......ภาวะแทรกซ้อน

ผลแทรกซ้อนของโรคคว�มดันโลหิตสูง

ภาวะความดนัเลอืดสงู (มากกวา่ 140/90 มม.ปรอท) ทีเ่ปน็อยูน่าน และ

ไม่ได้รับการรักษา จะทำาให้เกิดการทำาลายอวัยวะสำาคัญต่างๆ ในร่างกายได้ เช่น

หัวใจ สมอง ไต ตา และหลอดเลือด

Page 12: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

6 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

อันตร�ย!! และคว�มรุนแรงจ�กภ�วะแทรกซ้อน“มหันตภัยเงียบที่คุณค�ดไม่ถึง”

หากผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้จะทำาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อวัยวะที่สำาคัญ ได้แก่ สมอง หัวใจ ไต ตา และหลอดเลือด ดังนี้

สมอง ความดันโลหิตสูง เป็นสาเหตุทำาให้เกิดหลอดเลือดตีบอุดตันหรือหลอดเลือดในสมองแตกมีเลือดออกในเนื้อสมองส่งผลให้เกิดอัมพาต อัมพฤกษ์ อ�ก�รที่ต้องรีบม�โรงพย�บ�ลภ�ยใน1 ชั่วโมง คือ ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด แขนขาอ่อนแรง มเิชน่นัน้ อาจทำาใหเ้สยีชวีติฉบัพลนั หรอื ทำาใหเ้ลอืดออกในสมองรนุแรง

หัวใจ ความดันโลหิตสูง จะมีผลต่อหัวใจ 2 ทาง คือ ทำาให้หัวใจโต หลอดเลือดหัวใจหนาตัวและแข็งตัวขึ้น สาเหตุเกิดหลอดเลือดหัวใจตีบ หรืออุดตัน ทำาให้เกิดอาการ การเจ็บหน้าอกจากหัวใจขาดเลือดหรือหัวใจล้มเหลว มีอาการเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ หัวใจเต้นผิดปกติ ทำาให้มีอาการ ใจสั่น เสียชีวิตฉับพลัน

!!!ห�กมีอ�ก�รดังกล่�วแล้วนั่งพัก3-5 น�ที อ�ก�รยังไม่ดีขึ้นต้องรีบม�โรงพย�บ�ลโดยด่วน

Page 13: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

7คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

หลอดเลือด ความดันโลหิตสูง จะทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด

ทั่วร่างกาย ทำาให้หลอดเลือดแดงตีบแคบ หรือหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง อาจ

เกดิการฉกีขาด เจบ็หนา้อกอยา่งรนุแรง หรอืเสยีชวีติเฉยีบพลนัได ้หรอืทำาใหเ้ลอืด

ไปเลี้ยงบริเวณแขนขาและอวัยวะภายในลดลง ผู้ป่วยเดินไม่ได้ไกล เพราะปวดขา

จากการขาดเลือด ต้องนั่งพักจึงจะหาย และเดินต่อไปได้

ต� ความดันโลหิตสูง มีผลต่อหลอดเลือดที่ตา เช่น

เลือดออกที่จอประสาทตา

หลอดเลือดเล็กๆ ที่จอประสาทตาอุดตัน

จอประสาทตาหลดุลอกออกได ้ทัง้นี ้ผูป้ว่ยอาจไมม่อีาการใดๆ หรอื

อาจมีอาการตามัว จนถึงตาบอดได้

ไต ความดนัโลหติสงู มผีลตอ่หลอดเลอืดทีไ่ต ทำาใหเ้ลอืดไปเลีย้งไตไมเ่พยีงพอ

ทำาให้ไตเสื่อมสมรรถภาพ อาจทำาให้เกิดไตวายเรื้อรัง ผู้ป่วยจะมีอาการเริ่มแรก

ของภาวะไตวายเรื้อรัง คือ

ปัสสาวะบ่อย ตอนกลางคืน มากกว่า 3 ครั้งต่อคืน

ขาบวมตอนเช้าหลังตื่นนอน

มอีาการออ่นเพลยี ไมค่อ่ยมแีรงจากภาวะซดี มกัพบในผูป้ว่ยไตวาย

เรื้อรัง หรือมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ซึมลงในผู้ป่วยไตวายระยะท้ายๆ ปัสสาวะมี

สีขุ่นและเป็นฟองมาก

Page 14: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

8 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

พฤติกรรมเสี่ยง ??ทำ�ให้ผู้สูงอ�ยุโรคคว�มดันโลหิตสูงเกิดภ�วะแทรกซ้อน

ก�รไม่ตรวจต�มนัด หรือไม่ได้ตรวจ

วัดระดับคว�มดันโลหิตอย่�งสมำ่�เสมอ

รับประท�นอ�ห�รที่มีไขมันสูง

เช่น เนื้อสัตว์ติดมัน หอยนางรม

ไข่แดง เครื่องในสัตว์ ตับ เนย

รับประท�นอ�ห�ร และเครื่องดื่ม

ทีม่รีสหว�นจดั เชน่ นำา้หวาน ชาเยน็

เค้ก ขนมหวาน ผลไม้เชื่อม

ผลไม้กวน ผลไม้กระป๋อง

มีอ�รมณ์เครียด

ก�รสูบบุหรี่จัด

ดื่มเหล้�จัดเป็นประจำ�

กินเกลือแกง หรือเกลือโซเดียม

มากกวา่ 1 ชอ้นชาตอ่วนั รบัประทาน

อาหารเค็มจัด เช่น กะปิ นำ้าปลา

ซอส ผงชูรส รสดี ปลาเค็ม ปลาร้า

ของหมักดองต่างๆ

ภ�วะแทรกซ้อน

ก�รรับประท�นย�

ไม่สมำ่�เสมอ

นำ้�หนักตัวม�กเกินไป

ข�ดก�รออกกำ�ลังก�ย

Page 15: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

9คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

อ�ห�รลดคว�มดันโลหิตคืออะไร

อาหารลดความดันโลหิต คือ การรับประทานอาหารที่มีไขมันตำ่า และ

มีผักผลไม้มาก โดยเน้นอาหารพวกธัญพืช ปลา นมไขมันตำ่า ถั่ว และหลีกเลี่ยง

เนื้อแดง นำ้าตาล เครื่องดื่มที่มีรสหวาน

ต�ร�ง ส่วนประกอบของอาหารลดความดันโลหิต

ชนิดของอ�ห�ร ปริม�ณ

ข้�ว (หรือบะหมี่ ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน ที่เทียบเท่าปริมาณ

1 ส่วน)

ไม่เกิน 2 ทัพพีต่อมื้อ

วันละ 3 มื้อ

ผัก (อาจจะเป็นผักกาดขาว ผักบุ้ง ผักคะน้า มะเขือเทศ

แตงกวา เป็นต้น)

มื้อละจาน

(มากกว่า 2 ทัพพีต่อม้ือ)

ผลไม้ขน�ดกล�ง (เช่น ส้ม 1 ลูก หรือฝรั่ง 1 ลูก หรือมะม่วง

ดบิครึง่ซกี หรอืสบัปะรด 6 ชิน้คำา หรอืมะละกอ 8 ชิน้คำา หรอื

แตงโม 12 ชิน้คำา หรอืกลว้ยหอมครึง่ลกูหรอืกลว้ยนำา้วา้ 1 ผล

หรือชมพู่ 2 - 3 ผล เป็นต้น)

มื้อละผล

เนือ้สตัว ์(ควรเปน็พวกปลามากกวา่สตัวอ์ืน่ หากเปน็ไกห่รอื

เป็ดต้องลอกหนังออก หมูต้องเป็นหมูเนื้อแดงไม่ติดมัน)

4 - 5 ชิ้นคำาต่อมื้อ

นม (ต้องเป็นนมชนิดพร่องมันเนย

หรือโยเกิร์ตไม่หวานจัด นมถั่วเหลือง นำ้าเต้าหู้)

วันละ 2 กล่อง

ถ่ัว (ได้แก่ ถ่ัวลิสง มะม่วงหิมพานต์ แอลมอนด์ เมล็ดทานตะวัน

เมล็ดแตงโม ถั่วลันเตา ถั่วแระ ถั่วเขียว ไม่ควรทอด)

วันละ 1 ส่วน

นำ้�มัน (ให้ใช้นำ้ามันมะกอก นำ้ามันถั่วเหลือง

นำ้ามันทานตะวัน นำ้ามันข้าวโพด แทนนำ้ามันปาล์ม)

หลีกเลี่ยงอาหารทอด

ให้ใช้วิธีการอบ นึ่ง ต้ม

นำ้�ต�ล หลีกเลี่ยงของหวาน

ทุกชนิด

Page 16: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

10 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ก�รควบคุมอ�ห�รเพื่อลดภ�วะคว�มดันโลหิตสูง

อ�ห�รที่พึงหลีกเลี่ยง อ�ห�รที่ควรรับประท�น

อ�ห�รที่ควรหลีกเลี่ยง คือ อาหารที่มีโซเดียมสูง

1. อ�ห�รที่ใช้เกลือปรุงรส ได้แก่

ซอสรสเค็ม เช่น นำ้าปลา ซีอิ้ว ซอสหอยนางรม เต้าเจี้ยว

ซอสหล�ยรส เช่น ซอสมะเขือเทศ ซอสพริก ซีอิ้วหวาน

Page 17: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

11คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

2. อ�ห�รที่ใช้เกลือถนอมอ�ห�ร ได้แก่

อ�ห�รต�กแห้ง เช่น กะปิ เต้าหู้ยี้ แหนม

อ�ห�รปรุงรสต่�งๆ เช่น ไส้กรอก หมูยอ กุนเชียง

ผลไม้ดอง ผักดอง

อ�ห�รกระป๋อง อ�ห�รสำ�เร็จรูป และขนมขบเคี้ยวที่มีเกลือม�ก เช่น บะหมี่กึ่ง

สำาเร็จรูป ข้าวเกรียบกุ้ง มันฝรั่งทอด ถั่วทอด เป็นต้น

Page 18: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

12 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

3. อ�ห�รที่ปรุงรส ได้แก่ ผงชูรส สารกันบูด ผงฟู เช่น ขนมเค้ก คุกกี้

4. อ�ห�รที่มีเกลือโซเดียมอยู่ต�มธรรมช�ติ ได้แก่ เนื้อสัตว์ต่างๆ

โดยเฉพาะอาหารทะเล เช่น กุ้ง ปู หอย ปลาทะเล

Page 19: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

13คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

โซเดียมในอ�ห�รปรุงรส

อ�ห�ร ปริม�ณ โซเดียม (มิลลิกรัม)

นำ้าปลา 1 ช้อนชา 465-600

ซีอิ้วขาว 1 ช้อนโต๊ะ 960-1420

ซอสปรุงรส 1 ช้อนโต๊ะ 1150

ซอสหอยนางรม 1 ช้อนโต๊ะ 420-490

นำ้าจิ้มไก่ 1 ช้อนโต๊ะ 202-227

ซอสพริก 1 ช้อนโต๊ะ 220

ผงชูรส 1 ช้อนชา 492

ผงฟู 1 ช้อนชา 339

ที่ม� : สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

ปรมิาณโซเดยีมทีแ่นะนำารบัประทานในแตล่ะวนัไมค่วรเกนิ 2,000 มลิลกิรมั

Page 20: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

14 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ก�รควบคุมนำ้�หนักตัว เพื่อลดภ�วะคว�มดันโลหิตสูง

ควรรกัษานำา้หนกัตวัใหค้งที ่โดยคดิจากสตูร คา่ดชันมีวลกาย (BMI หรอื

Body Mass Index)

ค่�ดัชนีมวลก�ย = นำ้�หนัก (กิโลกรัม)

ส่วนสูง (เมตร)2

ตัวอย่�ง ก�รคำ�นวณค่�ดัชนีมวลก�ย เช่น นายแดง มีนำ้าหนักตัว

68 กิโลกรัม และมีส่วนสูง 155 เซนติเมตร (เท่ากับ 1.55 เมตร)

ดังนั้น ค่�ดัชนีมวลก�ย = 68 (กโิลกรมั) = 28.30 กโิลกรมัตอ่ตารางเมตร

1.55 (เมตร)2

แสดงว่� นายแดงมีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์ อ้วนระดับ 1

ต�ร�ง ดัชนีมวลกาย และเกณฑ์การตัดสินในการประเมินภาวะโภชนาการ

ภ�วะโภชน�ก�รดัชนีมวลก�ย

(กิโลกรัมต่อต�ร�งเมตร)นำ้าหนักน้อย น้อยกว่า 18.5

ปกติ 18.5 - 22.9เสี่ยงต่ออ้วน 23 - 24.9อ้วนระดับ 1 25 - 29.9อ้วนระดับ 2 มากกว่าหรือเท่ากับ 30

ที่ม� : Weisell, R.C. (2000). Body mass index as an indicator of obesity

Page 21: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

15คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ลดนำ้�หนักอย่�งไร ให้ได้ผล.........

คนที่นำ้าหนักเกินควรลดนำ้าหนัก โดยควบคุมค่าดัชนีมวลกายอยู่ใน

เกณฑ์ 18.5-22.9 กิโลกรัมต่อตารางเมตร หรืออย่างน้อยควรลดให้ได้ ร้อยละ

5-10 ของนำ้าหนักตัวที่เป็นอยู่

การลดนำ้าหนักที่ถูกวิธี ควรให้นำ้าหนักค่อยๆ ลดลง สัปดาห์ละ 0.5

กิโลกรัม หรือครึ่งกิโลกรัม

เคล็ดลับก�รเลือกซื้ออ�ห�ร เพื่อควบคุมคว�มดัน.....

1. อย่าซื้ออาหารเมื่อรู้สึกหิว

2. ทำารายการทีจ่ะซือ้วตัถดุบิในการปรงุอาหารทีม่ไีขมนัตำา่ และซือ้ตาม

รายการที่กำาหนดไว้

3. เรียนรู้การจัดวางของในตลาด และหลีกเลี่ยงที่จะเดินไปบริเวณที่มี

อาหารประเภทไขมันสูง

4. เปรียบเทียบปริมาณไขมันในผลิตภัณฑ์ และเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มี

ไขมันตำ่ากว่า

5. ดฉูลากอาหารทีร่ะบขุา้งกระปอ๋ง ถงุ กลอ่ง ขวด และผลติภณัฑอ์ืน่ๆ

ที่บอกว่า

“ไม่มีเกลือโซเดียม, เกลือโซเดียมตำ่�ม�ก, เกลือโซเดียมตำ่�, โซเดียม

น้อย, ไม่มีเกลือ หรือไม่เติมเกลือ” หรือ “Sodium free, Very low sodium,

Low sodium, Unsalted or no salt added”

Page 22: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

16 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ตัวอย่�งฉล�กโภชน�ก�ร

ข้อมูลโภชน�ก�ร

หนึ่งหน่วยบริโภค : 1 ซอง (55 กรัม)

จำานวนหน่วยบริโภคต่อซอง : 1

คณุค�่ท�งโภชน�ก�รตอ่หนึง่หนว่ยบรโิภค

พลังง�นทั้งหมด 240 กิโลแคลอรี

(พลังง�นจ�กไขมัน 80 กิโลแคลอรี)

รอ้ยละของปรมิ�ณ

ที่แนะนำ�ต่อวัน*

ไขมันทั้งหมด 9 ก. 14%

ไขมันอิ่มตัว 4 ก. 20%

โคเลสเตอรอล 0 มก. 0%

โปรตีน 7 ก.

ค�ร์โบไฮเดรตทั้งหมด 34 ก. 11%

ใยอาหาร 2 ก. 8%

นำ้าตาล 2 ก.

โซเดียม 1120 มก. 47%

ไม่ควรเลือก ควรเลือก

ข้อมูลโภชน�ก�ร

หนึ่งหน่วยบริโภค : 1 ซอง (40 กรัม)

จำานวนหน่วยบริโภคต่อซอง : 1

คณุค�่ท�งโภชน�ก�รตอ่หนึง่หนว่ยบรโิภค

พลังง�นทั้งหมด 130 กิโลแคลอรี

(พลังง�นจ�กไขมัน 20 กิโลแคลอรี)

รอ้ยละของปรมิ�ณ

ที่แนะนำ�ต่อวัน*

ไขมันทั้งหมด 2.5 ก. 4%

ไขมันอิ่มตัว 1 ก. 5%

โคเลสเตอรอล 0 มก. 0%

โปรตีน น้อยกว่� 1 ก.

ค�ร์โบไฮเดรตทั้งหมด 27 ก. 9%

ใยอาหาร น้อยกว่า 1 ก. 4%

นำ้าตาล 11 ก.

โซเดียม 1600 มก. 67%

Page 23: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

17คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ออกกำ�ลังก�ยอย่�งไร...เพื่อควบคุมคว�มดันโลหิตสูง

ก�รออกกำ�ลังก�ยที่เหม�ะสมกับผู้สูงอ�ยุที่เป็นโรคคว�มดันโลหิตสูง

ควรเป็นการออกกำาลังกายที่มีการเคลื่อนที่ และกระทำาอย่างต่อเนื่องสมำ่าเสมอ

20 - 60 นาทีในแต่ละครั้ง สัปดาห์ละ 3 - 5 ครั้ง

รปูแบบก�รออกกำ�ลงัก�ย ไดแ้ก ่การเดนิ กายบรหิาร ถบีจกัรยาน วา่ยนำา้

ร่ายรำาประเภทต่างๆ เช่น รำาดาบ รำาวงมาตรฐาน รำามวยจีน รำาไม้พลอง รำาพัด

เป็นต้น

ข้อพึงระวังในก�รออกกำ�ลังก�ย คือ

1. ห้ามหยุดออกกำาลังกายทันที เพราะอาจจะทำาให้เป็นลม หรือเป็น

ตะคริว

2. หากไม่สามารถออกกำาลังกายติดต่อกัน ให้ทำาเป็นช่วงๆ ช่วงละ

5 - 10 นาที สลับกับการพัก 2 นาที

3. ต้องสังเกตร่างกายว่ารับไหวหรือไม่ หากมีอาการเหนื่อยจนพูด

ไม่เป็นคำา เจ็บหน้าอกหรือเป็นลม ให้หยุดการออกกำาลังกาย

4. ควรหลีกเลี่ยงการออกกำาลังกายที่เกร็ง และใช้แรงมาก เช่น

การยกนำ้าหนัก การดึง การกระโดดเชือก

5. ผู้ที่มีปัญหาข้อเข่า ข้อเท้า ควรหลีกเลี่ยงการวิ่ง เดินเร็ว ควร

ออกกำาลังกายโดยการว่ายนำ้า รำามวยจีน หรือกายบริหารในท่านั่ง หรือยืน

6. ไมค่วรออกกำาลงักายหลงัอาหารมือ้หนกั หรอือากาศอบอา้วรอ้นจดั

เกินไป

Page 24: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

18 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ตัวอย่�ง ก�รออกกำ�ลังก�ยในระดับป�นกล�ง ใช้พลังง�น

150 แคลอรี่ต่อครั้ง

ง�นทั่วไป กิจกรรมกีฬ� คว�มแรงระดับ ล้างและเช็ดขัดรถ

นาน 45 - 60 นาที

เช็ดถูบ้าน หน้าต่าง

นาน 45 - 60 นาที

ล้างหน้าต่าง พื้นบ้าน

นาน 45 - 60 นาที

ทำาสวน ขุดดิน

นาน 30 - 45 นาที

เดินเข็นรถ

2.4 กิโลเมตร

นาน 30 นาที

กวาดใบไม้

นาน 30 นาที

ตักนำ้า นาน 15 นาที

เดินขึ้นบันได

นาน 15 นาที

เดิน 2.8 กิโลเมตร

35 นาที

ขี่จักรยาน 8 กิโลเมตร

30 นาที

เต้นรำาในจังหวะเร็ว

30 นาที

ออกกำาลังกายแบบ

แอโรบิคในนำ้า 30 นาที

ว่ายนำ้า 20 นาที

ขี่จักรยาน 3.4 กิโลเมตร

15 - 20 นาที

กระโดดเชือก 15 นาที

วิ่ง 2.4 กิโลเมตร

นาน 15 นาที

เดิน 3.2 กิโลเมตร

นาน 30 นาที

เบา ใช้เวลานาน

หนักใช้เวลาน้อย

ที่ม� : กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ. 2543. คูม่อืสง่เสรมิการออกกำาลงักาย

สำาหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข.

Page 25: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

19คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ก�รเดิน

เป็นการออกกำาลังกายอย่างหนึ่ง ที่คนส่วนใหญ่สามารถทำาได้

ไม่ก่อให้เกิดปัญหาการบาดเจ็บ

สามารถทำาให้หัวใจเต้นได้ตามเป้าหมายที่ต้องการ

เป็นทางเลือกของการออกกำาลังกายที่ง่ายที่สุด

สามารถทำาได้ทุกที่ ทุกเวลา

ก�รเดินเพื่อควบคุมนำ้�หนักให้คงที่ ควรเดินวันละประมาณ 45 นาที

สัปดาห์ละ 3 - 4 วัน หรืออาจแบ่งเป็นการเดินครั้งละ 15 นาที วันละ 3 ครั้ง

ก�รเดินเพื่อก�รลดนำ้�หนัก ต้องเดินออกกำาลังกายทุกวัน และถ้าเดิน

ร่วมกับการกินอาหารไขมันตำ่า จะสามารถลดนำ้าหนักตัวได้ประมาณ 1 กิโลกรัม

ต่อเดือน

Page 26: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

20 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

วิธีก�รคล�ยเครียด....เพื่อควบคุมคว�มดันสำ�คัญไฉน

ทำ�ง�นอดิเรก เช่น อ่านหนังสือ ปลูกต้นไม้ ฟังเพลง ดูโทรทัศน์

เลี้ยงสัตว์ ฟังธรรมมะ

นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ อย่างน้อย 6 - 8 ชั่วโมงต่อวัน

ทำ�จิตใจให้สงบโดยการทำาสมาธิ

ออกกำ�ลังก�ย หรือเล่นกีฬ�

ก�รพักผ่อนหย่อนใจ เช่น สังสรรค์ในครอบครัว การไปท่องเที่ยว

การไปทำาบุญ

คิดและมองโลกในแง่ดี

ไม่คิดหมกมุ่นกับปัญหาต่างๆ มากเกินไป

Page 27: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

21คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

วิธีฝึกปฏิบัติก�รลดคว�มเครียดด้วยตนเอง

1. ก�รคล�ยกล้�มเนื้อ

โดยการนั่งหรือนอนราบเกร็งกล้ามเนื้อแต่ละส่วนโดยเริ่มจากกล้ามเนื้อ

หน้า ไหล่ แขน หน้าอก หลัง ท้อง ต้นขา ขา และเท้า โดยการเกร็ง 3 - 4 วินาที

สลบักบัการคลายกลา้มเนือ้ ทำาทลีะมดั สงัเกตการเปลีย่นแปลงระวงัการเกรง็ และ

การคลายกล้ามเนื้อ จะพบว่าเมื่อคลายกล้ามเนื้อจะมีอาการร้อนบริเวณดังกล่าว

เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงเพิ่มขึ้น ฝึกบ่อยๆ จะช่วยคลายความเครียดได้ดี

2. ก�รห�ยใจลึกๆ (Deep breathing)

เปน็วธิทีีค่ลายความเครยีดอยา่งไดผ้ลโดยการนัง่ขดัสมาธหิรอืนัง่บนเกา้อี ้

มือวางบนตัก หายใจเข้าทางจมูกช้าๆให้เต็มปอดนับ 1 - 10 กลั้นหายใจ

2 - 3 วนิาทแีลว้จงึหายใจออกทางปากชา้ๆ โดยระยะเวลาหายใจออกเปน็สองเทา่

ของหายใจเข้าทำาสลับกัน 5 - 10 ครั้ง

Page 28: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

22 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

3. ก�รทำ�สม�ธิ Meditation

เป็นวิธีการที่ชาวเอเชียชอบใช้ เป็นการลดความเครียด และทำาให้

อารมณ์ดีขึ้น การทำาสมาธิจะสามารถลดระดับความดันโลหิต ชีพขจรช้าลง

บางคนแนะนำาให้ทำาสมาธิทุกวันก่อนเข้านอนเตรียมตัวให้พร้อม โดย

3.1 เลอืกเวลาและสถานทีท่ีเ่ราสามารถทำาสมาธไิดโ้ดยไมม่สีิง่ใดรบกวน

พยายามค้นหาสถานที่เงียบสงบแต่ก็ไม่ต้องกังวลหากมีเสียงรบกวนบ้าง เช่น

เสียงรถแล่นผ่าน ให้คิดเสียว่าเสียงรบกวนเป็นส่วนหนึ่งของปัจจุบัน ณ เวลานั้น

3.2 เมื่อเริ่มต้น พยายามทำาสมาธิแค่ 10 นาทีในแต่ละครั้งเท่านั้น

หลังจากนั้นจึงค่อยๆ เพิ่มเวลาทีละน้อย ค่อยเป็นค่อยไป

3.3 ก่อนที่จะนั่งลง ระลึกไว้ว่าเราอยู่ตรงนี้ และกำาลังเพ่งสมาธิอยู่ที่จุด

เวลา ณ ปัจจุบัน วิธีนี้ช่วยให้จิตของเราไม่ฟุ้งซ่านไปที่อื่น ถ้ามีกิจวัตรประจำาวัน

ที่ต้องทำาหรือมีอะไรเข้ามาทำาให้วอกแวกให้รอไว้ก่อนจนกว่าจะทำาสมาธิเสร็จ

เรียบร้อย

Page 29: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

23คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

วิธีปฏิบัติ

นั่งลงในท่าที่สบายบนเก้าอี้หรือบนพื้นก็ได้ หรืออาจจะนอนลงถ้า

รู้สึกสบายมากกว่า อาจจะหลับตาหรือมองลงไปที่พื้นบริเวณที่อยู่ด้านหน้าเราไป

ประมาณ 2 - 3 นิ้ว

เมื่อนั่งลงแล้ว ให้พิจารณาการหายใจของเรา โดยเพ่งสมาธิไปยังสิ่ง

ที่เกิดขึ้น ณ เวลานั้น อย่าพยายามเปลี่ยนจังหวะการหายใจ เพียงแค่สังเกตว่าเรา

อยู่สึกอย่างไรที่ปอดและทรวงอกของเราขณะนั้นก็พอ

ถ้าจิตของเรายังฟุ้งซ่านอยู่ อย่ากังวลหรือท้อใจว่าทำาไมจึงทำาไม่ได้

ลองสังเกตความคิดของตนเองดู เช่น “เราฟุ้งซ่านเพราะต้องไปประชุมตอน

สิบโมงเช้า” เมื่อรับรู้ความคิดแล้วก็ให้ปล่อยมันไป แล้วดึงสมาธิกลับมาสู่ปัจจุบัน

กลบัมาสูก่ารหายใจของเราเชน่เดมิ เราอาจลองทำาเชน่นีห้ลายๆ ครัง้ระหวา่งทีท่ำา

สมาธิอยู่ก็ได้ ไม่ต้องฝืนพยายามหยุดคิดทุกครั้ง

ระหวา่งทำาสมาธ ิเราอาจรูส้กึถงึอารมณบ์างอยา่ง เชน่ โกรธ, ทนไมไ่หว,

เศร้า, หรือสุข อย่าพยายามยึดหรือทิ้งความรู้สึกเหล่านี้ไปเพราะสิ่งเหล่านี้คือ

ประสบการณ์หนึ่งในปัจจุบัน ณ เวลานั้นด้วยเช่นกัน พยายามตั้งสมาธิอยู่กับ

การหายใจจะช่วยให้เรายังคงมีสมาธิอยู่ได้ และไม่หลงอยู่ในกระแสความคิด ซึ่ง

อารมณ์ที่เกิดขึ้นเป็นตัวจุดประกายให้เกิดขึ้นมา ตัวอย่างเช่น ถ้าเรารู้สึกว่าทน

ทำาสมาธิจนจบไม่ได้แน่ๆ เราต้องรีบไปซักผ้าแล้ว ลองพิจารณาว่าเราสามารถตั้ง

สมาธิอยู่ที่ความรู้สึกทนไม่ได้นี้นานกว่าความคิดที่อยากไปซักผ้าหรือไม่ ความ

รูส้กึทนไมไ่ดน้ีส้ง่ผลตอ่รา่งกายสว่นใดบา้ง เรารูส้กึตงึปวดไหม การหายใจของเรา

เปลี่ยนแปลงไหม เป็นเวลา 20 นาที วิธีการทำาสมาธิ โดยการนั่งขัดสมาธิกำาหนด

ลมหายใจเข้าและออก

Page 30: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

24 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

4. ก�รใช้จินตน�ก�ร

โดยการหลับตาคิดถึงเรื่องที่มีความสุข หรือสถานที่ที่ชอบจินตนาการ

เรื่องดีๆ หรืออาจจะใช้การมองภาพสถานที่ที่ชอบหรือภาพที่มีความสุขแล้ว

จินตนาการ ซึ่งจะทำาให้เกิดการผ่อนคลาย

5. ก�รนวด

การนวดจะชว่ยผอ่นคลายความเครยีด ลดระดบัชพีจร และทำาใหแ้จม่ใส

6. ยอมรับคว�มจริง

ยอมรับความจริงว่าท่านสามารถเปลี่ยนแปลงตัวเองได้ แต่ท่านไม่

สามารถเปลี่ยนแปลงคนอื่น เพราะหากท่านคิดเปลี่ยนแปลงคนอื่นแล้วไม่สำาเร็จ

ท่านก็จะเกิดความเครียด

ยอมรับความจริงว่าคนทุกคนไม่มี ใครที่สมบูรณ์แบบต้องมี

ข้อบกพร่องยอมรับกับข้อบกพร่องความเครียดจะน้อยลง หลายคนคาดหวังว่า

คนใชจ้ะสามารถทำางานไดด้เีทา่กบัทีต่วัเองทำา เมือ่คนใชท้ำาไมไ่ดก้เ็กดิความเครยีด

สร้างอารมณ์ขันให้กับตัวเองโดยเฉพาะเมื่อเวลาเกิดความเครียด

ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับความเครียดแนะนำาให้หัวเราะเมื่อมีความเครียด โดยจัดเวลา

สำาหรับงานบันเทิง คุยเรื่องตลกกับเพื่อนหรือดูตลก การหัวเราะจะช่วยลดความ

ตึงเครียดได้เป็นอย่างดี อย่าปล่อยให้ตัวท่านตึงเครียดมืดมน มองโลกในแง่ดี

ให้นึกว่าท่านสามารถเรียนรู้บางสิ่งจากเหตุการณ์ทุกอย่าง

Page 31: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

25คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

***** ในผู้สูงอ�ยุ เป้�หม�ยก�รรักษ� คือ คว�มดันตัวบน ไม่เกิน

140 มิลลิเมตรปรอท และคว�มดันตัวล่�งไม่เกิน 90 มิลลิเมตรปรอท

ตลอดเวลาอยา่งตอ่เนือ่ง สามารถลดอตัราการเสยีชวีติ และอตัราการเกดิอนัตราย

จากภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงได้

สรุป

โรคคว�มดนัโลหติสงูเปน็โรคทีม่อีนัตร�ย และอ�จนำ�ไปสูค่ว�มพกิ�ร

ถ�วร หรือเสียชีวิตก่อนวัยอันควรจ�กโรคแทรกซ้อน โรคนี้อ�จไม่มีอ�ก�ร

ชัดเจนในระยะเริ่มแรก ทำ�ให้ผู้ที่เป็นโรคละเลยต่อก�รรักษ� ควบคุม และดูแล

ตนเองใหถ้กูตอ้งเหม�ะสม ดงันัน้จงึควรเอ�ใจใสด่แูลตนเองอย�่งสมำ�่เสมอเพือ่

รักษ�และควบคุมระดับคว�มดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ

Page 32: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

26 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

เอกส�รอ้�งอิง

1. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2543). คู่มือส่งเสริมก�รออกกำ�ลังก�ย

สำ�หรับเจ้�หน้�ที่ส�ธ�รณสุข.

2. พรีะ บรูณะกจิเจรญิ. (2549). ม�รูจ้กัโรคคว�มดนัโลหติสงูกนัเถอะ. เอกสาร

วชิาการ จดัทำาโดยสมาคมโรคความดนัโลหติสงูแหง่ประเทศไทย จดัพมิพ ์โดย

บริษัทแอสตร้า เซนนิก้า (ประเทศไทย) จำากัด.

3. วณิชา กิจวรพัฒน์. (2550). โรคอ้วนลงพุง. เอกสารเผยแพร่กองโภชนาการ

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. นนทบุรี: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์

การเกษตรแห่งประเทศไทย.

4. วรีนชุ รอบสนัตสิขุ. (2549). ก�รลดก�รกนิเคม็ในผูป้ว่ยโรคคว�มดนัโลหติสงู

นั้นสำ�คัญไฉน. จัดทำาโดยสมาคมโรคความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย.

5. สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2547).

โรคคว�มดนัเลอืดสงูในผูส้งูอ�ย.ุ นนทบรุ:ี โรงพมิพช์มุนมุสหกรณก์ารเกษตร

แห่งประเทศไทย.

6. สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2549).

แนวท�งเวชปฏิบัติก�รดูแลโภชนบำ�บัดในโรคเบ�หว�น โรคคว�มดัน

เลือดสูง และภ�วะไขมันในเลือดผิดปกติ สำ�หรับผู้สูงอ�ยุ. นนทบุรี:

โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

7. สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2549). อ้างถึงในสถาบัน

เวชศาสตรผ์ูส้งูอาย ุกรมการแพทย ์กระทรวงสาธารณสขุ. แนวท�งเวชปฏบิตัิ

ก�รดแูลโภชนบำ�บดัในโรคเบ�หว�น โรคคว�มดนัเลอืดสงู และภ�วะไขมนั

ในเลอืดผดิปกตสิำ�หรบัผูส้งูอ�ย.ุ นนทบรุ:ี โรงพมิพช์มุนมุสหกรณก์ารเกษตร

แห่งประเทศไทย.

Page 33: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

27คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

8. สมาคมความดนัโลหติสงูแหง่ประเทศไทย. (2551). แนวท�งก�รรกัษ�คว�ม

ดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2551.

9. สมภพ เรืองตระกูล. (พ.ศ.2545). ตำาราจิตเวชสำาหรับแพทย์เวชปฏิบัติ

ครอบครัว : ตำาราจิตเวชศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. โรงพิมพ์ เรือนแก้วการพิมพ์

: กทม.

10. อทิธพร คณะเจรญิ. (2549). คว�มดนัโลหติสงู เพชฌฆ�ตเงยีบ ทีต่อ้งควบคมุ

ให้ถึงเป้�หม�ย. เอกสารวิชาการ จัดทำาโดยสมาคมโรคความดันโลหิตสูง

แห่งประเทศไทย.

11. Weisell, R.C. (2000). Body mass index as an indicator of obesity.

Asia Pacific Journal Clinical Nutrition 11(8): 681-684.

Page 34: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

28 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

Page 35: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

29คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ภาคผนวก

Page 36: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

30 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

แบบบันทึกก�รดูแลตนเองของผู้สูงอ�ยุโรคคว�มดันโลหิตสูง

ชือ่.................................................น�มสกลุ....................................................

อ�ยุ ........................................................ปี

ที่อยู่...............................................................................................................

.…………..................……………………………………………………………………………....

หม�ยเลขโทรศพัท.์...........................................................................................

เลขประจำ�ตัวผู้ป่วยนอก ศูนย์สมเด็จพระสังฆร�ชญ�ณสังวรเพื่อผู้สูงอ�ยุ

HN.…………..................………………………………………………………………………

*** โปรดอย่�ทำ�ห�ย และนำ�ติดตัวม�ด้วยทุกครั้งที่ม�รับบริก�ร ***

Page 37: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

31คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

บันทึกผลก�รตรวจรักษ�

(สำ�หรับบุคล�กร และอ�ส�สมัครท�งด้�นสุขภ�พ)

คำ�ชี้แจง ก�รบันทึกผลก�รชั่งนำ้�หนัก วัดคว�มดันโลหิต ชีพจรและเส้นรอบ

เอว โดยทำาการลงบันทึกผลการชั่งนำ้าหนักตัว ชีพจร และลงบันทึก

ค่าการตรวจวัดระดับความดันโลหิต อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

วัดเส้นรอบวงเอว อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

วัน เดือน ปีนำ้�หนัก

(กก.)

คว�มดัน

โลหิต

(มม.ปรอท)

ชีพจร

(ครั้งต่อ

น�ที)

ค่�ดัชนี

มวลก�ย

(กก.ต่อ

ต�ร�งเมตร)

เส้นรอบเอว

(ซม.)

Page 38: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

32 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

บันทึกผลก�รตรวจเลือด

(สำ�หรับบุคล�กร และอ�ส�สมัครท�งด้�นสุขภ�พ)

คำ�ชี้แจง ก�รบนัทกึผลก�รตรวจเลอืด โดยทำาการลงบนัทกึผลการตรวจทกุครัง้

ที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจเลือด

วัน

เดือน ปี

นำ้�ต�ล

(FBS)

สมรรถภ�พไต ไขมันในเลือด เก๊�ท์

(Uric

acid)

อื่นๆBUN Cr Chol TG HDL LDL

Page 39: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

33คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ต�ร�งบันทึกก�รดูแลตนเองในก�รควบคุมคว�มดันโลหิต

ประจำ�เดือน .......................... พ.ศ. ...........

เกณฑ์ก�รประเมินสัปด�ห์ที่ 1 (วันที่ ... - ..... .....)

… …. …. …. …. …. ....

1. ใชเ้ครือ่งปรงุ เชน่ นำา้ปลา ซอีิว๊ เตา้เจีย้ว

ซอสต่างๆ ในปริมาณน้อยที่สุด

2. ไม่รับประทานอาหารหมักดอง เช่น

ไข่เค็ม ปลาเค็ม ผักดอง

3. ไม่รับประทานอาหารกระป๋อง

อาหารสำาเร็จรูป เบเกอรี่

4. ท่านรับประทานอาหารครบ 3 มื้อ

5. เคี้ยวอาหารช้าๆ รับประทานอาหาร

ไม่น้อยกว่า 15 นาที

6. ไม่รับประทานอาหารรสหวานจัด

อาหารมันจัดและเค็มจัด

7. รับประทานผักและผลไม้รสไม่หวาน

เป็นประจำา

8. ออกกำาลังกายติดต่อกัน ครั้งละ 20

นาทีขึ้นไป

9. งดบุหรี่และแอลกอฮอล์

10. รับประทานยาสมำ่าเสมอ

หม�ยเหตุ โปรดกาเครื่องหมาย หากท่านมีการปฏิบัติในกิจกรรมนั้นและ

กาเครื่องหมาย หากท่านไม่ได้ปฏิบัติในกิจกรรมนั้น

Page 40: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

34 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ต�ร�งบันทึกก�รดูแลตนเองในก�รควบคุมคว�มดันโลหิต

ประจำ�เดือน .......................... พ.ศ. ...........

เกณฑ์ก�รประเมินสัปด�ห์ที่ 2 (วันที่ ... - ..... .....)

… …. …. …. …. …. ....

1. ใชเ้ครือ่งปรงุ เชน่ นำา้ปลา ซอีิว๊ เตา้เจีย้ว

ซอสต่างๆ ในปริมาณน้อยที่สุด

2. ไม่รับประทานอาหารหมักดอง เช่น

ไข่เค็ม ปลาเค็ม ผักดอง

3. ไม่รับประทานอาหารกระป๋อง

อาหารสำาเร็จรูป เบเกอรี่

4. ท่านรับประทานอาหารครบ 3 มื้อ

5. เคี้ยวอาหารช้าๆ รับประทานอาหาร

ไม่น้อยกว่า 15 นาที

6. ไม่รับประทานอาหารรสหวานจัด

อาหารมันจัดและเค็มจัด

7. รับประทานผักและผลไม้รสไม่หวาน

เป็นประจำา

8. ออกกำาลังกายติดต่อกัน ครั้งละ 20

นาทีขึ้นไป

9. งดบุหรี่และแอลกอฮอล์

10. รับประทานยาสมำ่าเสมอ

หม�ยเหตุ โปรดกาเครื่องหมาย หากท่านมีการปฏิบัติในกิจกรรมนั้นและ

กาเครื่องหมาย หากท่านไม่ได้ปฏิบัติในกิจกรรมนั้น

Page 41: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

35คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ต�ร�งบันทึกก�รดูแลตนเองในก�รควบคุมคว�มดันโลหิต

ประจำ�เดือน .......................... พ.ศ. ...........

เกณฑ์ก�รประเมินสัปด�ห์ที่ 3 (วันที่ ... - ..... .....)

… …. …. …. …. …. ....

1. ใชเ้ครือ่งปรงุ เชน่ นำา้ปลา ซอีิว๊ เตา้เจีย้ว

ซอสต่างๆ ในปริมาณน้อยที่สุด

2. ไม่รับประทานอาหารหมักดอง เช่น

ไข่เค็ม ปลาเค็ม ผักดอง

3. ไม่รับประทานอาหารกระป๋อง

อาหารสำาเร็จรูป เบเกอรี่

4. ท่านรับประทานอาหารครบ 3 มื้อ

5. เคี้ยวอาหารช้าๆ รับประทานอาหาร

ไม่น้อยกว่า 15 นาที

6. ไม่รับประทานอาหารรสหวานจัด

อาหารมันจัดและเค็มจัด

7. รับประทานผักและผลไม้รสไม่หวาน

เป็นประจำา

8. ออกกำาลังกายติดต่อกัน

ครั้งละ 20 นาทีขึ้นไป

9. งดบุหรี่และแอลกอฮอล์

10. รับประทานยาสมำ่าเสมอ

หม�ยเหตุ โปรดกาเครื่องหมาย หากท่านมีการปฏิบัติในกิจกรรมนั้นและ

กาเครื่องหมาย หากท่านไม่ได้ปฏิบัติในกิจกรรมนั้น

Page 42: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

36 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

ต�ร�งบันทึกก�รดูแลตนเองในก�รควบคุมคว�มดันโลหิต

ประจำ�เดือน .......................... พ.ศ. ...........

เกณฑ์ก�รประเมินสัปด�ห์ที่ 4 (วันที่ ... - ..... .....)

… …. …. …. …. …. ....

1. ใชเ้ครือ่งปรงุ เชน่ นำา้ปลา ซอีิว๊ เตา้เจีย้ว

ซอสต่างๆ ในปริมาณน้อยที่สุด

2. ไม่รับประทานอาหารหมักดอง เช่น

ไข่เค็ม ปลาเค็ม ผักดอง

3. ไม่รับประทานอาหารกระป๋อง

อาหารสำาเร็จรูป เบเกอรี่

4. ท่านรับประทานอาหารครบ 3 มื้อ

5. เคี้ยวอาหารช้าๆ รับประทานอาหาร

ไม่น้อยกว่า 15 นาที

6. ไม่รับประทานอาหารรสหวานจัด

อาหารมันจัดและเค็มจัด

7. รับประทานผักและผลไม้รสไม่หวาน

เป็นประจำา

8. ออกกำาลังกายติดต่อกัน

ครั้งละ 20 นาทีขึ้นไป

9. งดบุหรี่และแอลกอฮอล์

10. รับประทานยาสมำ่าเสมอ

หม�ยเหตุ โปรดกาเครื่องหมาย หากท่านมีการปฏิบัติในกิจกรรมนั้นและ

กาเครื่องหมาย หากท่านไม่ได้ปฏิบัติในกิจกรรมนั้น

Page 43: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

37คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

คณะผู้จัดทำ�

1. วาสนา มากผาสุข

2. กัลยา ปรีดีคณิต

3. อภิวรรณ ณัฐมนวรกุล

4. ศศิภา จินาจิ้น

5. จิรนันท์ ทองสัมฤทธิ์

6. กัลยพร นันทชัย

ผู้เชี่ยวช�ญทบทวน

1. นพ.ชาวิท ตันวีรชัยสกุล

2. นพ.นันทศักดิ์ ธรรมานวัตร

3. ผศ.ดร.วารี วิดจายา

4. นพ.คมวุฒิ คนฉลาด

ที่ปรึกษ�

1. นพ.สฐาปกร ศิริพงศ์

2. นพ.สมรักษ์ สันติเบ็ญจกุล

3. พญ.อรพิชญา ไกรฤทธิ์

4. ผศ.ดร.วารี กังใจ

5. ดร.ชนิดา ปโชติการ

พิมพ์ครั้งที่ 1 : กุมภาพันธ์ 2554

จำ�นวนพิมพ์ : 500 เล่ม

พิมพ์ที่ : บริษัท บียอนด์ พับลิสชิ่ง จำากัด

Page 44: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

38 คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

บันทึก

Page 45: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

39คู่มือการดูแลตนเอง เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ

บันทึก

Page 46: คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ