งบลงทุน - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014. 5. 16. · งบลงทุน...

Post on 29-Mar-2021

3 views 0 download

Transcript of งบลงทุน - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014. 5. 16. · งบลงทุน...

งบลงทุน

งบลงทุน (capital budgeting) หมายถึง กระบวนการที่ผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจเพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างรายจ่ายและผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการลงทุนในโครงการต่าง ๆ

1. เปน็การช่วยลดความเสี่ยงจากการลงทุนไม่คุ้มค่า 2. เปน็การจ่ายเงนิลงทนุที่มีภาระผูกพันในระยะเวลานาน 3. เปน็การช่วยตัดสินใจลงทุนในสินทรัพย์ประเภททนุตามระยะเวลาที่

ต้องการและมีคุณภาพดี 4. เปน็การวัดถึงประสิทธภิาพในการบรหิารงานของผู้บริหาร 5. เปน็การช่วยสรา้งเสถียรภาพและความเจริญก้าวหน้า 6. เปน็การประสานด้านความคิด และปัญหาต่าง ๆ เข้าด้วยกัน

1. โครงการลงทุนเพื่อทดแทน 2. โครงการลงทุนเกี่ยวกับผลิตภณัฑ์ใหม่หรือขยายผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แล้ว 3. โครงการลงทุนเพื่อการวิจัยค้นคว้าและการพัฒนา 4. โครงการลงทุนเพื่อการส ารวจ 5. โครงการลงทุนอ่ืน ๆ

1. การพิจารณาแบบของโครงการลงทนุหรือการศึกษาโครงการลงทุน 2. การประมาณการกระแสเงินสดสุทธิของโครงการลงทุน 3. น ากระแสเงินสดสุทธิมาท าการวิเคราะห์โครงการลงทนุโดยใช้เครื่องมือ

ทางการเงนิ 4. น าผลลัพท์มาท าการตดัสินใจเลือกโครงการลงทนุที่ดีที่สุด

1. การประมาณการกระแสเงินสด (cash flows) 2. กระแสเงินสดส่วนเพิ่มหลังภาษี (incremental after–tax cash flows) 3. กระแสเงินสดที่เกิดจากการลงทุนในโครงการใหม่ 4. การวิเคราะห์โครงการ 5. กระแสเงินสดจ่ายส่วนเพิ่มหลังภาษี

6. ต้นทนุจม (sunk cost) 7. ต้นทุนเสียโอกาส (opportunity cost) 8. ต้นทุนของส่วนกลาง 9. ต้นทุนในการจดัหาเงนิทุน 10. การเปลี่ยนแปลงของเงินทนุหมุนเวียน

1. กระแสเงินสดจ่ายลงทุน (cash outflow) หมายถึง จ านวนเงินสดที่ธรุกิจได้จ่ายออกไปเพื่อเปน็การลงทนุในสินทรัพย์ใหมท่ีใ่ช้ในการด าเนนิงานตามโครงการ

ต้นทุนรวมของการลงทนุใหม ่

กระแสเงินสดจ่ายลงทุน = ราคาทุนของสินทรัพย ์+ ค่าขนส่ง + ค่าติดตั้ง + ค่าใช้จ่ายอื่นที่เก่ียวข้อง

1. การประเมินค่าของโครงการแบบไม่ค านึงถึงมูลค่าของเงินตามกาลเวลา

2. การประเมินค่าของโครงการแบบค านึงถึงค่าของเงินตามกาลเวลา

อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย (ARR) = (%)

สูตรที่ 1

ก าไรสุทธิหลังหักภาษีถัวเฉลี่ยต่อปี เงินจ่ายลงทุนสุทธิถัวเฉลี่ย

X 100

ก าไรสุทธิหลังหักภาษีถัวเฉลี่ยต่อปี เงินจ่ายลงทุนสุทธิ

X 100 อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย (ARR) = (%)

สูตรที่ 2

(1) การยอมรบัโครงการ (2) การปฏิเสธโครงการ (3) กรณีมีโครงการใหเ้ลือกมากกว่า 1 โครงการ

ข้อดี 1. วิธีการค านวณง่าย 2. สามารถน าค่าของผลตอบแทนถัวเฉลี่ยมาเปรียบเทียบกับอัตราผลตอบแทนที่ธุรกิจต้องการได้ทันที

ข้อเสีย 1. เป็นการค านวณอัตราผลตอบแทนจากก าไรสุทธิ 2. ก าไรสุทธิเป็นตัวเลขที่จัดท าขึ้นตามหลักการบัญชีที่รบัรองโดยทั่วไป โดยไม่ได้ค านึงถึงค่าของเงินตามกาลเวลา

กรณีกระแสเงนิสดรับสทุธิในอนาคตเท่ากันทกุป ี

ระยะเวลาคืนทุน (PB) = (ปี)

เงินจ่ายลงทุนสุทธิเริ่มแรก

กระแสเงินสดรับสุทธิในอนาคตที่เท่ากันต่อป ี

เกณฑ์ในการตัดสินใจ

(1) การยอมรับโครงการเมื่อค่า PB

น้อยกว่าอายุโครงการ

(2) การปฏิเสธโครงการ เมื่อค่า PB

มากกว่าอายุโครงการ

ข้อดี 1. การค านวณง่าย ไม่ซ้ าซ้อน และรวดเร็ว 2. การค านวณใช้กระแสเงินสด โดยการเปรยีบเทียบผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับกับเงินจ่ายลงทนุของโครงการ

3. ใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์โครงการในเบื้องตน้ได้ ข้อเสีย 1. ไม่ได้ค านึงถึงค่าของเงินตามกาลเวลา 2. ไม่ได้ค านึงถึงกระแสเงนิสดรับหลังจากระยะเวลาคืนทุนไปแล้ว

2.1 วิธีมูลคา่ปัจจุบันสุทธิ (net present value หรือยอ่ว่า NPV) หมายถึง ผลต่างระหว่างมูลค่าปัจจบุันของกระแส

เงินสดรับสุทธิที่คาดว่าจะได้รับตลอดอายุโครงการกับ เงินจ่ายลงทุนสทุธิเริ่มแรกในปัจจุบันของโครงการ

ข้อดี 1. วิธี NPV ให้ความส าคัญจากการใช้กระแสเงินสด 2. วิธี NPV ปรับมูลค่าของกระแสเงินรับในอนาคตให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน

3. เกณฑ์การตัดสินใจของวิธี NPV จะพิจารณาเลือกโครงการที่มีค่า NPV เป็นบวก (+) หรือเท่ากับศูนย์ (0) เท่านั้น

ข้อเสีย 1. วิธีการค านวณยุ่งยาก 2. หากการประมาณกระแสเงินสดรับไม่ใกล้เคียงความจริง อาจจะท าให้ค่า NPV คลาดเคลื่อน

เกณฑ์การตัดสนิใจ (1) การยอมรับโครงการ ธุรกิจควรจะยอมโครงการลงทนุเมื่อผลการค านวณมีค่า PI มากกว่า 1 ( NPV เปน็บวก )หรือเท่ากบั 1 ( NPV เท่ากบั 0)

(2) การปฏเิสธโครงการ ธุรกิจควรจะปฏิเสธโครงการลงทนุเม่ือผลการค านวณมีค่า PI น้อยกว่า 1

(4) กรณีที่มีหลายโครงการ ธุรกิจจะยอมรบัโครงการลงทนุที่มคี่า PI มากที่สุด

PI (เท่า) = PV รวมของกระแสเงินสดรับสุทธิ เงินจ่ายลงทุนเริ่มแรก

เมื่อ C = เงินสดจ่ายลงทุนเริ่มแรก CF = กระแสเงินสดรบัสุทธิตลอดอายุโครงการ n = อายุของโครงการลงทุน IRR = อัตราผลตอบแทนภายในจากโครงการลงทุน

2.3.1 กรณีกระแสเงินสดรับสุทธิรายปีเท่ากันทุกปี

C =

n tt 1 t

CF1 IRR

(1) การยอมรับโครงการ ธุรกิจควรจะยอมรับโครงการลงทุนเมื่อผล

การค านวณมีค่า IRR มากกว่าอัตราผลตอบที่ต้องการหรือค่าของเงินทุน

(2) การปฏิเสธโครงการ ธุรกิจควรจะปฏิเสธโครงการลงทุนเมื่อผล

การค านวณมีค่า IRR น้อยกว่าอัตราผลตอบแทนที่ต้องการหรือค่าของ

เงินทุน

(3) กรณีมีหลายโครงการธุรกิจจะยอมรับโครงการลงทุนที่มีค่า IRR

สูงสุด

1. โครงการลงทุนที่ต้องเลือกเพยีงทางเลือกเดียว (mutually exclusive) 2. โครงการลงทุนที่อิสระต่อกัน (independent project) 3. โครงการลงทุนที่เกี่ยวข้องกัน (dependent project)

งบลงทุน เป็นกระบวนการที่ผู้บรหิารของธุรกิจใช้ในการตัดสินใจเพ่ือประเมินผลตอบแทนทีค่าดว่าจะได้รับในอนาคตตลอดอายโุครงการกับรายจ่ายลงทุนเริ่มแรกของโครงการ เพื่อให้ธุรกิจเกิดผลประโยชน์สูงสุดจากการใช้ทรัพยากรในการลงทุนระยะยาว